SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
ระบบสุริยะ
     ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์
  (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำานวย ต่อการ
 ดำารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาว
   เคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดา
ดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมีระบบสุริยะ
 ที่เอื้ออำานวยชีวิตอย่างระบบสุริยะที่โลกของเรา เป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน
 เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทำาได้ถึง




                             ระบบสุริยะ
   ระบบสุริยะที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun)
เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ (
  นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลำาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
 ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต
 และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (sattelites) ยกเว้นเพียง
 สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร นอกจากนี้ยังมี ดาวเคราะห์
น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่น
ตลอดจนกลุ่ ม ฝุ่ น และก๊ า ซ ซึ่ ง เคลื่ อ นที่ อ ยู่ ใ นวงโคจร ภายใต้ อิ ท ธิ พ ล
แรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อ
เทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 149 ล้าน
กิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์ (astronomy unit - au) กล่าวคือ ระบบสุริยะ
มีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโตดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด
ในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกลเป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และ
ยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort's Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง
500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย




 ดวงอาทิตย์มีมวลมากกว่าร้อยละ 99 ของมวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือ
นอกนั้ น จะเป็ น มวลของ เทหวั ต ถุ ต่ า งๆ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยดาวเคราะห์ ดาว
เคราะห์ น้ อ ย ดาวหาง และอุ ก กาบาต รวมไปถึ ง ฝุ่ น และก๊ า ซ ที่ ล่ อ งลอย
ระหว่ า ง ดาวเคราะห์ แต่ ล ะดวง โดยมี แ รงดึ ง ดู ด (Gravity) เป็ น แรงควบคุ ม
ระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็น ไปตามกฏแรง แรงโน้ม
ถ่ ว งของนิ ว ตั น ดวงอาทิ ต ย์ แ พร่ พ ลั ง งาน ออกมา ด้ ว ยอั ต ราประมาณ
90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิ
กริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่ง
ความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์จะเสียไฮโดรเจน
ไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวง
อาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกมาในอัตราที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพัน
ล้าน

                                               ทฤษฎีการกำาเนิดของระบบ
                                           สุริยะ
                                               หลักฐานที่สำาคัญของการ
                                           กำาเนิดของระบบสุริยะก็คือ การ
                                           เรียงตัว และการเคลื่อนที่อย่าง
                                           เป็นระบบระเบียบของดาวเคราะห์
                                           ดวงจันทร์บริวาร ของดาวเคราะห์
                                           และดาวเคราะห์น้อย ที่แสดงให้
                                           เห็นว่าเทหวัตถุทั้งมวลบนฟ้า นัน้
                                           เป็นของระบบสุริยะ ซึ่งจะเป็นเรื่อง
                                           ที่เป็นไปไม่ได้เลยที่เทหวัตถุ
                                           ท้องฟ้า หลายพันดวง จะมีระบบ
                                           โดยบังเอิญโดยมิได้มีจุดกำาเนิด
ร่วมกัน
    Piere Simon Laplace ได้
เสนอทฤษฎีจุดกำาเนิดของระบบ
สุริยะไว้เมื่อปี ค.ศ.1796 กล่าวว่า
ในระบบสุริยะจะมีมวลของก๊าซรูป
ร่างเป็นจานแบนๆ ขนาดมหึมาที่
เรียกว่า protoplanetary disks
หมุนรอบ ตัวเองอยู่ ในขณะที่หมุน
รอบตัวเองนั้นจะเกิดการหดตัวลง
เพราะแรงดึงดูดของมวลก๊าซ ซึ่ง
จะทำาให้ อัตราการหมุนรอบตัวเอง
นั้นมีความเร็วสูงขึ้น เพื่อรักษา
โมเมนตัมเชิงมุม (Angular
Momentum) ในที่สุด เมื่อ
ความเร็ว มีอัตราสูงขึ้น จนกระทั่ง
แรงหนีศนย์กลางที่ขอบของกลุ่ม
           ู
ก๊าซมีมากกว่าแรงดึงดูด ก็จะ
ทำาให้เกิดมีวงแหวน ของกลุ่มก๊าซ
แยกตัวออกไปจากศุนย์กลางของ
กลุ่มก๊าซเดิม และเมื่อเกิดการหด
ตัวอีกก็จะมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซ
เพิ่มขึ้นๆต่อไปเรื่อยๆ วงแหวนที่
แยกตัวไปจากศูนย์กลางของ
วงแหวนแต่ละวงจะมีความกว้าง
ไม่เท่ากัน ตรงบริเวณที่มีความ
หนาแน่นมากที่สุดของวง จะคอย
ดึงวัตถุทั้งหมดในวงแหวน มารวม
กันแล้วกลั่นตัว เป็นดาวเคราะห์
ส่วนดวงจันทร์ของดาวเคราะห์ จะ
เกิดขึ้นจากการหดตัวของดาว
เคราะห์ สำาหรับดาวหาง และ
สะเก็ดดาวนั้น เกิดขึ้นจากเศษ
หลงเหลือระหว่าง การเกิดของ
ดาวเคราะห์ดวงต่างๆ ดังนัน ดวง ้
อาทิตย์ในปัจจุบันก็คือ มวลก๊าซ
ดั้งเดิมที่ทำาให้เกิดระบบสุริยะขึ้น
มานันเอง
     ่
     นอกจากนี้ยังมีอีกหลาย
ทฤษฎีที่มีความเชื่อในการเกิด
ระบบสุริยะ แต่ในที่สุดก็มีความ
เห็นคล้ายๆ กับแนวทฤษฎีของ
Laplace ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีของ
Coral Von Weizsacker นัก
ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ชาวเยอรมัน
ซึ่งกล่าวว่า มีวงกลมของกลุ่มก๊าซ
และฝุ่นละอองหรือเนบิวลา ต้น
กำาเนิดดวงอาทิตย์ (Solar
Nebular) ห้อมล้อมอยู่รอบดวง
อาทิตย์ ขณะที่ดวงอาทิตย์เกิด
ใหม่ๆ และ ละอองสสารในกลุ่ม
ก๊าซ เกิดการกระแทกซึ่งกันและ
กัน แล้วกลายเป็นกลุ่มก้อนสสาร
ขนาดใหญ่ จนกลายเป็น เทหวัตถุ
แข็ง เกิดขั้นในวงโคจรของดวง
อาทิตย์ ซึ่งเราเรียกว่า ดาว
เคราะห์ และดวงจันทร์ของ ดาว
เคราะห์นั่นเอง




 M42 ในกลุ่มดาวนายพราน
(Orion) เป็นตัวอย่างหนึ่งของ
Solar Nebular ที่กำาลังก่อตัวเป็น
ระบบสุริยะอีกระบบหนึ่งในอนาคต
อีกหลายล้านปีข้างหน้า
ระบบสุริยะของเรามีขนาดใหญ่โตมากเมื่อเทียบกับโลกที่เราอาศัยอยู่ แต่
มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับกาแล็กซีของเราหรือกาแล็กซีทางช้างเผือก ระบบ
สุริยะตั้งอยู่ในบริเวณ วงแขนของกาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way) ที่ชื่อ
แขนโอไลออน ซึ่ งเปรี ยบเสมื อนวงล้อ ยั ก ษ์ ที่ ห มุ น อยู่ ใ นอวกาศ โดยระบบ
สุ ริ ย ะจะอยู่ ห่ า งจาก จุ ด ศู น ย์ ก ลางของกาแล็ ก ซี ท างช้ า งเผื อ กประมาณ
30,000 ปี แ สง ระนาบของระบบสุ ริ ย ะเอี ย งทำา มุ ม กั บ ระนาบของกาแลกซี่
ประมาณ 60 องศา ดวงอาทิ ต ย์ จะใช้ เ วลาประมาณ 225 ล้ า นปี ในการ
เคลื่ อ นครบรอบจุ ด ศู น ย์ ก ลางของกาแล็ ก ซี ท างช้ า งเผื อ กครบ 1 รอบ นั ก
ดาราศาสตร์จึงมีความเห็นร่วมกันว่า เทหวัตถุทั้งมวลในระบบสุริยะ ไม่ว่าจะ
เป็นดาวเคราะห์ทุกดวง ดวงจันทร์ของ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง
และอุกกาบาต เกิดขึ้นมาพร้อมๆกัน มีอายุเท่ากันตามทฤษฎีจุดกำา เนิดของ
ระบบสุริยะ และจากการนำา เอาหินจากดวงจันทร์มาวิเคราะห์การสลายตัวของ
สารกัมมันตภาพรังสี ทำา ให้ทราบว่าดวงจันทร์มี อายุประมาณ 4,600 ล้านปี
ในขณะเดียวกันนักธรณีวิทยาก็ได้คำานวณ หาอายุของหินบนผิวโลก จากการ
สลายตัวของอะตอมธาตุยูเรเนียม และสารไอโซโทปของธาตุตะกั่ว ทำาให้นัก
วิทยาศาสตร์เชื่อว่า โลก ดวงจันทร์ อุกกาบาต มีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี
และอายุ ข อง ระบบสุ ริ ย ะนั บ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม เกิ ด จากฝุ่ น ละอองก๊ า ซในอวกาศจึ ง
มีอายุไม่เกิน 5,000 ล้านปี              ในบรรดาสมาชิกของระบบสุริยะซึ่งประกอบ
ด้วย ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดวงจัน ทร์ ของดาวเคราะห์
ดาวหาง อุ ก กาบาต สะเก็ ด ดาว รวมทั้ ง ฝุ่ น ละองก๊ า ซ อี ก มากมาย นั้ น ดวง
อาทิ ต ย์ แ ละดาวเคราะห์ 9 ดวง จะได้ รั บ ความสนใจมากที่ สุ ด จากนั ก
ดาราศาสตร์
ระบบสุริยะ

More Related Content

What's hot

ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5maitree khanrattaban
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์Arisara Sutachai
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงmayuree_jino
 

What's hot (13)

ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
 

Viewers also liked

Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
6 ดาวฤกษ์
6 ดาวฤกษ์6 ดาวฤกษ์
6 ดาวฤกษ์Khaidaw Pha
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลChompunut Puifacy
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05Chay Kung
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติพัน พัน
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04Chay Kung
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศnarongsakday
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพsarawut chaiyong
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55yadanoknun
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 

Viewers also liked (20)

Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
6 ดาวฤกษ์
6 ดาวฤกษ์6 ดาวฤกษ์
6 ดาวฤกษ์
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 

Similar to ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.pangpon
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงseesai
 

Similar to ระบบสุริยะ (20)

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลง
 

ระบบสุริยะ

  • 1. ระบบสุริยะ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำานวย ต่อการ ดำารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาว เคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดา ดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมีระบบสุริยะ ที่เอื้ออำานวยชีวิตอย่างระบบสุริยะที่โลกของเรา เป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทำาได้ถึง ระบบสุริยะ ระบบสุริยะที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลำาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร นอกจากนี้ยังมี ดาวเคราะห์ น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่น
  • 2. ตลอดจนกลุ่ ม ฝุ่ น และก๊ า ซ ซึ่ ง เคลื่ อ นที่ อ ยู่ ใ นวงโคจร ภายใต้ อิ ท ธิ พ ล แรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อ เทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 149 ล้าน กิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์ (astronomy unit - au) กล่าวคือ ระบบสุริยะ มีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโตดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกลเป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และ ยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort's Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวลมากกว่าร้อยละ 99 ของมวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือ นอกนั้ น จะเป็ น มวลของ เทหวั ต ถุ ต่ า งๆ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยดาวเคราะห์ ดาว เคราะห์ น้ อ ย ดาวหาง และอุ ก กาบาต รวมไปถึ ง ฝุ่ น และก๊ า ซ ที่ ล่ อ งลอย ระหว่ า ง ดาวเคราะห์ แต่ ล ะดวง โดยมี แ รงดึ ง ดู ด (Gravity) เป็ น แรงควบคุ ม ระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็น ไปตามกฏแรง แรงโน้ม ถ่ ว งของนิ ว ตั น ดวงอาทิ ต ย์ แ พร่ พ ลั ง งาน ออกมา ด้ ว ยอั ต ราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิ กริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่ง ความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์จะเสียไฮโดรเจน ไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวง อาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกมาในอัตราที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพัน ล้าน ทฤษฎีการกำาเนิดของระบบ สุริยะ หลักฐานที่สำาคัญของการ กำาเนิดของระบบสุริยะก็คือ การ เรียงตัว และการเคลื่อนที่อย่าง เป็นระบบระเบียบของดาวเคราะห์ ดวงจันทร์บริวาร ของดาวเคราะห์ และดาวเคราะห์น้อย ที่แสดงให้ เห็นว่าเทหวัตถุทั้งมวลบนฟ้า นัน้ เป็นของระบบสุริยะ ซึ่งจะเป็นเรื่อง ที่เป็นไปไม่ได้เลยที่เทหวัตถุ ท้องฟ้า หลายพันดวง จะมีระบบ โดยบังเอิญโดยมิได้มีจุดกำาเนิด
  • 3. ร่วมกัน Piere Simon Laplace ได้ เสนอทฤษฎีจุดกำาเนิดของระบบ สุริยะไว้เมื่อปี ค.ศ.1796 กล่าวว่า ในระบบสุริยะจะมีมวลของก๊าซรูป ร่างเป็นจานแบนๆ ขนาดมหึมาที่ เรียกว่า protoplanetary disks หมุนรอบ ตัวเองอยู่ ในขณะที่หมุน รอบตัวเองนั้นจะเกิดการหดตัวลง เพราะแรงดึงดูดของมวลก๊าซ ซึ่ง จะทำาให้ อัตราการหมุนรอบตัวเอง นั้นมีความเร็วสูงขึ้น เพื่อรักษา โมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) ในที่สุด เมื่อ ความเร็ว มีอัตราสูงขึ้น จนกระทั่ง แรงหนีศนย์กลางที่ขอบของกลุ่ม ู ก๊าซมีมากกว่าแรงดึงดูด ก็จะ ทำาให้เกิดมีวงแหวน ของกลุ่มก๊าซ แยกตัวออกไปจากศุนย์กลางของ กลุ่มก๊าซเดิม และเมื่อเกิดการหด ตัวอีกก็จะมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซ เพิ่มขึ้นๆต่อไปเรื่อยๆ วงแหวนที่ แยกตัวไปจากศูนย์กลางของ วงแหวนแต่ละวงจะมีความกว้าง ไม่เท่ากัน ตรงบริเวณที่มีความ หนาแน่นมากที่สุดของวง จะคอย ดึงวัตถุทั้งหมดในวงแหวน มารวม กันแล้วกลั่นตัว เป็นดาวเคราะห์ ส่วนดวงจันทร์ของดาวเคราะห์ จะ เกิดขึ้นจากการหดตัวของดาว เคราะห์ สำาหรับดาวหาง และ สะเก็ดดาวนั้น เกิดขึ้นจากเศษ หลงเหลือระหว่าง การเกิดของ ดาวเคราะห์ดวงต่างๆ ดังนัน ดวง ้ อาทิตย์ในปัจจุบันก็คือ มวลก๊าซ ดั้งเดิมที่ทำาให้เกิดระบบสุริยะขึ้น มานันเอง ่ นอกจากนี้ยังมีอีกหลาย ทฤษฎีที่มีความเชื่อในการเกิด ระบบสุริยะ แต่ในที่สุดก็มีความ เห็นคล้ายๆ กับแนวทฤษฎีของ
  • 4. Laplace ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีของ Coral Von Weizsacker นัก ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ซึ่งกล่าวว่า มีวงกลมของกลุ่มก๊าซ และฝุ่นละอองหรือเนบิวลา ต้น กำาเนิดดวงอาทิตย์ (Solar Nebular) ห้อมล้อมอยู่รอบดวง อาทิตย์ ขณะที่ดวงอาทิตย์เกิด ใหม่ๆ และ ละอองสสารในกลุ่ม ก๊าซ เกิดการกระแทกซึ่งกันและ กัน แล้วกลายเป็นกลุ่มก้อนสสาร ขนาดใหญ่ จนกลายเป็น เทหวัตถุ แข็ง เกิดขั้นในวงโคจรของดวง อาทิตย์ ซึ่งเราเรียกว่า ดาว เคราะห์ และดวงจันทร์ของ ดาว เคราะห์นั่นเอง M42 ในกลุ่มดาวนายพราน (Orion) เป็นตัวอย่างหนึ่งของ Solar Nebular ที่กำาลังก่อตัวเป็น ระบบสุริยะอีกระบบหนึ่งในอนาคต อีกหลายล้านปีข้างหน้า
  • 5. ระบบสุริยะของเรามีขนาดใหญ่โตมากเมื่อเทียบกับโลกที่เราอาศัยอยู่ แต่ มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับกาแล็กซีของเราหรือกาแล็กซีทางช้างเผือก ระบบ สุริยะตั้งอยู่ในบริเวณ วงแขนของกาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way) ที่ชื่อ แขนโอไลออน ซึ่ งเปรี ยบเสมื อนวงล้อ ยั ก ษ์ ที่ ห มุ น อยู่ ใ นอวกาศ โดยระบบ สุ ริ ย ะจะอยู่ ห่ า งจาก จุ ด ศู น ย์ ก ลางของกาแล็ ก ซี ท างช้ า งเผื อ กประมาณ 30,000 ปี แ สง ระนาบของระบบสุ ริ ย ะเอี ย งทำา มุ ม กั บ ระนาบของกาแลกซี่ ประมาณ 60 องศา ดวงอาทิ ต ย์ จะใช้ เ วลาประมาณ 225 ล้ า นปี ในการ เคลื่ อ นครบรอบจุ ด ศู น ย์ ก ลางของกาแล็ ก ซี ท างช้ า งเผื อ กครบ 1 รอบ นั ก ดาราศาสตร์จึงมีความเห็นร่วมกันว่า เทหวัตถุทั้งมวลในระบบสุริยะ ไม่ว่าจะ เป็นดาวเคราะห์ทุกดวง ดวงจันทร์ของ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต เกิดขึ้นมาพร้อมๆกัน มีอายุเท่ากันตามทฤษฎีจุดกำา เนิดของ ระบบสุริยะ และจากการนำา เอาหินจากดวงจันทร์มาวิเคราะห์การสลายตัวของ สารกัมมันตภาพรังสี ทำา ให้ทราบว่าดวงจันทร์มี อายุประมาณ 4,600 ล้านปี ในขณะเดียวกันนักธรณีวิทยาก็ได้คำานวณ หาอายุของหินบนผิวโลก จากการ สลายตัวของอะตอมธาตุยูเรเนียม และสารไอโซโทปของธาตุตะกั่ว ทำาให้นัก วิทยาศาสตร์เชื่อว่า โลก ดวงจันทร์ อุกกาบาต มีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี และอายุ ข อง ระบบสุ ริ ย ะนั บ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม เกิ ด จากฝุ่ น ละอองก๊ า ซในอวกาศจึ ง มีอายุไม่เกิน 5,000 ล้านปี ในบรรดาสมาชิกของระบบสุริยะซึ่งประกอบ ด้วย ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดวงจัน ทร์ ของดาวเคราะห์ ดาวหาง อุ ก กาบาต สะเก็ ด ดาว รวมทั้ ง ฝุ่ น ละองก๊ า ซ อี ก มากมาย นั้ น ดวง อาทิ ต ย์ แ ละดาวเคราะห์ 9 ดวง จะได้ รั บ ความสนใจมากที่ สุ ด จากนั ก ดาราศาสตร์