SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
ชื่อโครงงาน
Solar System ระบบสุริยะ
โดย
นายนนทวัฒน์ วงค์คม เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 11
นางสาวพิมพ์นารา อินตารักษา เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 11
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
โครงงานเรื่ องนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิ ชาการงานอาชี พและ
เทคโนโลยี เนื่องจากโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและการ
ดาเนินการสร้างโครงงานระบบสุริยะเพื่อรู้และเข้าใจในระบบสุริยะของเราเพื่อศึกษา
การเกิดของโลกที่มาจากการเกิดระบบสุริยะ เพื่ออธิบายในชั้นเรียนได้การจัดทาเรื่อง
นี้เพราะว่าได้ศึกษาค้นคว้า และรวบรวมเนื้อหาจัดทาเป็ นสื่อการเรียนการสอนขึ้นมา
โดยทาเนื้อหาให้น่าสนใจมากขึ้น เพราะสมัยนี้เด็กไทยมักจะเคร่งเครียดในวิชา
วิทยาศาสตร์นี้มาก โดยเป็ นปัญหาในวิชาวิทยาศาสตร์นั้นไม่น่าเรียน หรือไม่คิด
อยากจะเรียนอีกเลยในความคิดของเด็กไทยในปัจจุบันแต่อย่างไรก็ตามกลุ่มข้าพเจ้า
ก็ได้จัดทาโครงงานนี้เพื่ออยากให้เด็กสนใจวิชานี้มากขึ้น ทาให้สื่อการเรียนการสอน
น่าสนใจ มากกว่าในตาราเรียน
คานา
Solar System ระบบสุริยะ
เกี่ยวกับโครงงาน
ขอบเขตโครงงาน
หลักการและทฤษฏี
วัตถุประสงค์
ที่มาและความสาคัญของ
โครงงาน
วิธีการดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ แหล่งอ้างอิง
เกี่ยวกับโครงงาน
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ระบบสุริยะ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Solar System
ประเภทโครงงาน : พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน :1. นายนนทวัฒน์ วงค์คม เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2. นางสาวพิมพ์นารา อินตารักษา เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่อที่ปรึกษา : คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
เกี่ยวกับโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็ นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็ นบริวาร
โคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบน
ดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดารา
ศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมี
ระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็ นบริวารอยู่อย่างแน่นอน
เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของ เราอยู่
เป็ นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็ นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9
ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาว
พุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต (
ตอนนี้ไม่มีพลูโตแล้ว เหลือแค่ 8 ดวง
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(ต่อ)
ในปัจจุบันระบบสุริยะมีแหล่งศึกษาความรู้มากมายที่สามารถที่จะศึกษาค้นคว้าได้ คณะ
ผู้จัดทาจึงมีความคิดที่จะสร้างแหล่งความรู้เพิ่มเติมให้เป็ นประโยชน์แก่บุคคลทั่วไปให้ได้
ศึกษาระบบสุริยะได้มากขึ้น เพื่อเป็ นแนวทางในการศึกษาและสามารถนาวิชาดารา
ศาสตร์มาประยุกต์เข้ากันได้ จากข้อความที่กล่าวข้างต้นคณะผู้จัดทาคิดว่า ระบบสุริยะมี
ความสาคัญและเป็ นความรู้ใกล้ตัวที่ควรควรจะศึกษา จึงมีความสนใจในเนื้ อหา
รายละเอียดของระบบสุริยะ คณะผู้จัดทาได้จัดทาโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะน่า
มหัศจรรย์ เพื่อมุ่งเน้นในการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุริยะ
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการกาเนิดของระบบสุริยะ
2. เพื่อเปิ ดโลกทรรศน์ใหม่ ๆ ในการเรียนรู้โดยมีสื่อต่าง ๆ นอกเหนือจาก
ใน ห้องเรียน
3. เห็นคุณค่าของระบบสุริยะ ที่มีผลต่อการดารงชีวิตของพืชและสัตว์
4. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทาโครงงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ขอบเขตโครงงาน
ขอบเขตโครงงาน
ในการจัดทาโครงงานระบบสุริยะนี้ได้ศึกษาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และหนังสือ
เรียน ประกอบการทาโครงงานในครั้งนี้
หลักการและทฤษฏี
หลักการและทฤษฏี
กาเนิดระบบสุริยะ
โลก
ดาวศุกร์
ดาวเสาร์ดาวอังคาร
แถบไคเปอร์
ดาวพฤหัสบดี
ดวงอาทิตย์
ดาวเนปจูนดาวยูเรนัส ดาวเคราะห์แคระ
ดาวพุธ
วิดีโอระบบสุริยะดาวหาง
ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มฝุ่นและแก๊สในอวกาศซึ่งเรียกว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar
Nebula) รวมตัวกันเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว (นักวิทยาศาสตร์คานวณจากอัตราการ
หลอมรวมไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมภายในดวงอาทิตย์) เมื่อสสารมากขึ้นแรงโน้มถ่วงระหว่าง
สารมากขึ้นตามไปด้วย กลุ่มฝุ่ นและแก๊สยุบตัวหมุนเป็นรูปจานตามหลักอนุรักษ์โมเมนตัม
แรงโน้มถ่วงที่เพิ่มขึ้นสร้างแรงกดดันที่ใจกลางจนอุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จุดปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมอะตอมของไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดวงอาทิตย์กาเนิดเป็นดาว
วัสดุรอบๆ ดวงอาทิตย์ (Planetisimal) ยังคงหมุนวนและโคจรรอบดวงอาทิตย์
ด้วยโมเมนตัมที่มีอยู่เดิม มวลสารในวงโคจรแต่ละชั้นรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ อิทธิพล
แรงโน้มถ่วงทาให้วัสดุที่อยู่รอบๆ พุ่งเข้าหาดาวเคราะห์จากทุกทิศทาง ถ้าทิศทางของการ
เคลื่อนที่มีมุมลึกก็จะพุ่งชนดาวเคราะห์ ทาให้ดาวเคราะห์นั้นมีขนาดใหญ่และมีมวล
ถ้ามุมของการพุ่งชนตื้นเกินไปก็อาจจะทาให้แฉลบเข้าสู่วงโคจร และเกิดการรวมตัว
ดวงจันทร์บริวาร ดังจะเห็นว่า ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์มี
จันทร์บริวารหลายดวง เนื่องจากเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่มีมวลมากจึงมีแรงโน้มถ่วง
ต่างกับดาวพุธซึ่งเป็ นดาวเคราะห์ขนาดเล็กมีมวลน้อยจึงมีแรงโน้มถ่วงน้อยจึงไม่มีดวง
บริวารเลย ส่วนดาวเคราะห์น้อยและดาวหางนั้นมีรูปทรงเหมือนอุกกาบาต เพราะเป็นดาว
เล็กมีมวลน้อย แรงโน้มถ่วงจึงไม่สามารถเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสสารให้ยุบรวม
กลมได้
ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ที่อยู่ตรงใจกลางของระบบสุริยะ ดวง
อาทิตย์ให้แสงสว่าง ความร้อน และพลังงานรูปแบบอื่นแก่โลก ดวง
อาทิตย์อยู่ในสถานะที่เรียกว่า พลาสมา พลาสมาคือ สถานะ
ที่ 4 ของสสาร คือ แก๊สที่อิเล็กตรอนไม่ได้ยึดติดกับนิวเคลียส
ดังนั้น พลาสมาจึงมีความเป็ นกลางทางประจุไฟฟ้ า รอบ ๆ ดวงอา
อาทิตย์ประกอบด้วยดาวเคราะห์ต่าง ๆ กับดาวบริวารของมัน ดาว
เคราะห์น้อยอีกนับแสน และดาวหางอีกเป็ นล้านล้าน ทั้งหมดนี้
รวมเรียกว่า ระบบสุริยะ
.. ดวงอาทิตย์ (sun)..
ดาวพุธเป็ นดาวเคราะห์อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดดังนั้นดาวพุธจึง
ร้อนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลากลางคืนดาวพุธเป็ น
ดาวเคราะห์ดวงเล็กโตกว่าดวงจันทร์ของเราเพียงเล็กน้อย
ภาพถ่ายทั้งหลายที่เกี่ยวกับดาวพุธได้จากยานอวกาศที่ส่งขึ้นไป
ขณะเข้าไปใกล้ดาวพุธที่สุดก็จะถ่ายภาพส่งมายังโลก ทาให้รู้ว่า
พื้นผิวดาวพุธคล้ายกับผิวดวงจันทร์ ผิวดาวพุธส่วนใหญ่เป็ นฝุ่ น
และหิน มีหลุมลึกมากมาย ไม่มีอากาศ ไม่มีน้า ดาวพุธจึงเป็ นดาว
แห้งแล้ง ดาวแห่งความตายเป็ นโลกแห่งทะเลทราย
ปัจจุบันนักดาราศาสตร์พบร่องรอยของบรรยากาศ และพบน้าแข็งบริเวณขั้ว ซึ่งอาจ
เกิดจากการชนของดาวหางบนดาวพุธ และอาจเป็ นผู้ก่อกาเนิด ออกซิเจน และ
ไฮโดรเจนบนดาวพุธ ปรากฏการณ์บนฟ้ าเกี่ยวกับดาวพุธ เห็นอยู่ใกล้ขอบฟ้ าเสมอ
สาเหตุเป็ นเพราะวงโคจรของดาวพุธเล็กกว่า วงโคจรของโลก ดาวพุธจึงปรากฏห่างจาก
ดวงอาทิตย์ได้อย่างมากไม่เกิน 28 องศา
ดาวศุกร์เป็ นดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุดในระบบสุริยะ บนดาวศุกร์ร้อน
ถึง 480 องศาเซลเซียส ความร้อนขนาดนี้มากจนทาให้ของทุกอย่าง
ลุกแดงดาวศุกร์มีไอหมอกของกรดกามะถันปกคลุมอย่างหนาแน่น ไอ
หมอกนี้ไม่มีวันจางหายแม้ว่าแสงอาทิตย์จะจัดจ้าเพียงไร จึงเป็ นไป
ไม่ได้ที่มนุษย์จะไปเยี่ยมดาวศุกร์ เพราะพอไปถึงเขาจะถูกย่างจนสุก
ด้วยความร้อนและถูกผลักดันด้วยแรงลม เขาจะหายใจไม่ออกเพราะ
อากาศหนาหนักที่กดทับตัวนั้นเป็ นอากาศพิษจากหมอกควันของกรด
อากาศบนดาวศุกร์ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีมากกว่า
คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศโลกกว่า60เท่าผิวดาวศุกร์แห้งแล้ง เป็ น
หินและร้อนจัดนอกจากนี้ก็มีรอยแยกลึกและภูเขาไฟดับ
ดาวศุกร์เป็ นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างดวงอาทิตย์เป็ นลาดับที่ 2 มีขนาดเล็กกว่าโลก
เล็กน้อย จึงได้ชื่อว่าเป็ นดาวฝาแฝดกับโลก เป็ นดาวเคราะห์ที่ปรากฏสว่างที่สุด สว่าง
รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ถ้าเห็นทางทิศตะวันตกในเวลาค่าเรียกว่า ดาว
ประจาเมือง และถ้าเห็นทางทิศตะวันออกในเวลาก่อนรุ่งอรุณ เรียกว่า ดาว
ประกายพรึก ดาวศุกร์เป็ นดาวเคราะห์ที่เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกอย่างรุนแรง
เพราะมีบรรยากาศหนาทึบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ นั้นเป็ นอากาศพิษจากหมอกควัน
ของกรดอากาศบนดาวศุกร์ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีมากกว่า
คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศโลกกว่า60เท่าผิวดาวศุกร์แห้งแล้ง เป็ นหินและร้อนจัด
นอกจากนี้ก็มีรอยแยกลึกและภูเขาไฟดับ
โ ล ก ห มุ น ร อ บ ด ว ง อ า ทิ ต ย์เ ป็ น ว ง โ ค จ ร ซึ่ ง ใ ช้
เวลา 365.25 วัน เพื่อให้ครบ 1 รอบ โลกมีอายุ
ประมาณ 4,700 ปี โลกไม่ได้มีรูปร่างกลมโดยสิ้นเชิง เส้น
ร อ บ ว ง ที่ เ ส้น ศู น ย์สู ต ร ย า ว 40,077 กิ โ ล เ ม ต ร
(24,903 ไมล์)และที่ ขั่วโลกยาว40,009 กิโลเมตร
(24,861 ไมล์)
ดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ จะมีฤดูกาลเป็ นของตนเองและ
ระยะของการโคจร ความยาวของปี ดาวเคราะห์เป็ นเวลาที่
มันหมุนรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ ถ้าคุณอยู่บนดาวพุธ ปี
ของคุณจะมีเพียง 88 วันของโลก บนดาวพูลโต ซึ่งเป็ นดาว
เคราะห์ที่อยู่นอกสุดหนึ่งปี จะเท่ากับ 248 วันบนโลก
ดาวอังคารบางทีก็เรียกกันว่าดาวแดงเพราะผิวพื้นเป็ นหินสีแดง หิน
บนดาวอังคารที่มีสีแดงก็เพราะเกิดสนิมท้องฟ้ าของดาวอังคารเป็ น
สีชมพูเพราะฝุ่นจากหินแดงที่ว่านี้ ผิวของดาวอังคารเหมือนกับ
ทะเลหินแดง มีก้องหินใหญ่และหลุมลึก ภูเขาสูง หุบ เหว และเนิน
มากมาย หนึ่งปี บนดาวอังคารเกือบเทาสองปี โลก แต่หนึ่งวันบน
ดาวอังคารจะนานกว่าครึ่งชั่งโมงโลกเพียงเล็กน้อยดาวอังคารมี
อากาศห่อหุ้มอยู่ไม่มากและเป็ นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดาว
อังคารมีขนาดโตประมาณครึ่งหนึ่งของโลก ดาวอังคารอยู่ไกลดวง
อาทิตย์มากกว่าโลกจึงทาให้มีบรรยากาศหนาวเย็น อุณหภูมิบน
ดาวดวงนี้จะต่ากว่าจุดเยือกแข็ง
ยานอวกาศลาแรกที่ประสบความสาเร็จในการผ่านใกล้ดาวอังคาร คือ ยานมารีเนอร์
4 ของสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2508 ยานที่สารวจดาวอังคารต่อจาก
ยานมารีเนอร์ คือ ยานไวกิง 2 ลา ต่อจากยานไวกิง คือ ยานมาร์สพาธไฟเดอร์ ที่นารถ
โซเจนเนอร์ไปด้วย ล่าสุดยานมาร์สโกลบอลเซอร์เวเยอร์ ซึ่งกาลังเคลื่อนรอบดาวอังคาร
ได้ส่งภาพหุบเหวที่เป็ นร่องลึกหรือที่เรียกว่า แคนยอน
ดาวพฤหัสบดีเป็ นดาวเคราะห์ยักษ์ เพราะมีขนาดใหญ่ที่สุดใน
ระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า นอกจากนี้ยัง
ได้ชื่อว่าเป็ นดาวเคราะห์ก๊าซ เพราะมีองค์ประกอบเป็ นก๊าซไฮโดรเจน
และฮีเลียมคล้ายในดวงอาทิตย์ ความหนาแน่นของดาวพฤหัสบดีจึง
ต่า ความเป็ นที่สุดของดาวพฤหัสบดี ใหญ่ที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์
ทั้งหลาย โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ น 11.2 เท่าของโลก
การสารวจดาวพฤหัสบดีโดยยานอวกาศ มียานอวกาศหลายลา
ที่ได้สารวจดาวพฤหัสบดี ทาให้ได้ภาพถ่าย ดาวพฤหัสบดีในระยะใกล้
และค้นพบบริวารเพิ่มเติมหลายดวง ยานอวกาศลาแรกที่ไปเฉียดดาว
พฤหัสบดีคือ ยานอวกาศไพโอเนียร์10 ของสหรัฐอเมริกา
ดาวเสาร์เป็ นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงาม จากวงแหวนที่
ล้อมรอบ เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวน ซึ่งทาให้
ดาวเสาร์มีลักษณะแปลกกว่าดาวดวงอื่นๆ ดาวเสาร์มี
องค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดี เป็ นดาวเคราะห์ก๊าซที่มี
ลมพายุพัดแรงความเร็วถึง 1,125ไมล์ต่อชั่วโมง มีขนาด
ใหญ่รองจากดาวพฤหัสบดี ถ้านับวงแหวนเข้าไปด้วย จะมี
ขนาดเท่าดาวพฤหัสบดี วงแหวนของดาวเสาร์เป็ นก้อนหิน
และน้าแข็งสกปรก
ดาวยูเรนัสเป็ นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็ นที่สามในระบบสุริยะ
มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์
เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามันเป็ นดาวฤกษ์ วง
แหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก ผิดกับวงแหวนที่สว่าง
ของดาวเสาร์ ถ้าไม่มองด้วยกล้องโทรทัศน์ก็จะมองไม่เห็น
วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกพบโดยหอดูดาวแอร์บอร์นใน
ปี 1977
ดาวเนปจูนโตเกือบเท่าดาวยูเรนัส มันเป็ นดาวเคราะห์ที่
ใหญ่เป็ นอันดับสี่ในระบบสุริยะ มันอยู่ห่างไกลจากโลกมาก จึง
ทาให้มองเห็นสลัวมาก ดาวเนปจูนสามารถมองเห็นได้ด้วย
กล้องสองตา มันดูคล้ายกับดาวฤกษ์ ยังไม่มียานอวกาศที่เคย
ไปยังดาวเนปจูน สิ่งที่เรารู้ทั้งหมดก็คือ ดาวเคราะห์ดวงนี้
มองเห็นจากโลกก็เหมือนกับดาวยูเรนัส มีมหาสมุทร น้าที่ลึก
ล้อมรอบแกนหินซึ่งอยู่ใจกลางของดาวเนปจูน บรรยากาศของ
ดาวเนปจูนไม่เต็มไปด้วยหมอกเหมือนกับดาวยูเรนัส
เป็ นนิยามใหม่ของสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) ที่
กล่าวถึง วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม แต่มีวงโคจรเป็ นรูปซ้อนทับกับดาว
เคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยะวิถี ซึ่งได้แก่ ซีรีสพัลลาส พลูโต และดาว
ที่เพิ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริสเซ็ดนา วารูนา เป็ นต้น
..ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planets)..
แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) หมายถึง บริเวณที่อยู่
เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ที่ด้านนอก
ระบบสุริยะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้าน
ไมล์ มีก้อนวัตถุแข็ง เป็ นน้าแข็งขนาดเล็กจานวน
มากโคจรรอบดวงอาทิตย์ ลักษณะคล้ายกับแถบ
ดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาว
อังคารกับดาว
.. แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt)..
วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object - KBO)
หรืออีกชื่อหนึ่งว่า วัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) ซึ่งมี
องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็ นน้าแข็ง เชื่อกันว่าก้อนน้าแข็งเหล่านี้ เป็ นแหล่งกาเนิดของดาว
หางคาบสั้น โดยชื่อแถบไคเปอร์นี้ ได้ตั้งเพื่อเป็ นเกียรติแก่ เจอราร์ด ไคเปอร์ ผู้ค้นพบ
เป็ นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์
น้อย แต่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็ นวงยาวรี
มาก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็ นก๊าซใน
สถานะของแข็ง เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาด
วงอาทิตย์ ความร้อนจะให้มวลของมันระเหิด
กลายเป็ นก๊าซ ลมสุริยะเป่ าให้ก๊าซเล่านั้นพุ่ง
ออกไปในทิศทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์
กลายเป็ นหาง
..ดาวหาง (Comet)..
วีดีโอระบบสุริยะ
Cr: https://www.youtube.com/watch?v=iq6Sg0GKjOU
วิธีการดาเนินการ
ขั้นตอนการปฏิบัติ ระยะเวลา(วัน) งบประมาณ(บาท) ผู้รับผิดชอบ
1. คิดหัวข้อโครงงาน 1 - สมาชิกในกลุ่ม
2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 - สมาชิกในกลุ่ม
3. จัดทาโครงร่างงาน 2 - สมาชิกในกลุ่ม
4.ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 - สมาชิกในกลุ่ม
5. ปรับปรุงทดสอบ 2 สมาชิกในกลุ่ม
6. การทาเอกสารรายงาน
1 50 สมาชิกในกลุ่ม
7. ประเมินผลงาน 2 - สมาชิกในกลุ่ม
8. นาเสนอโครงงาน 1 - สมาชิกในกลุ่ม
วัสดุอุปกรณ์ที่ ใช้ (Material)
1.เครื่องเขียนต่างๆ 2.กระดาษA4
3. Computer 4. Printer
งบประมาณ(Budget)
จานวนเงิน 50 บาท แหล่งที่มา สมาชิกกลุ่ม
ระยะเวลา(Time)
เริ่มดาเนินงาน 1 ธันวาคม 2558 -10 กุมภาพันธ์ 2559
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้เรียนรู้สาเหตุการเกิดของระบบสุริยะ
2. ทาให้ทราบได้จากการเรียนรู้บางสิ่งบางอย่างที่เราไม่เคยทราบ
3. ทาให้มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบสุริยะเพิ่มมากขึ้น
4. ทาให้รู้เกี่ยวกับการทาโครงงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
• กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
• กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ดาราศาสตร์)
แหล่งอ้างอิง
• องค์ประกอบสุริยะ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/commettour/xngkh- prakxb-suriya/-dwarf-planets.(วันที่
ค้นข้อมูล : 10 กุมภาพันธ์ 2559).
• กาเนิดระบบสุริยะ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :http://www.lesa.biz/astronomy/solar-
system/origin.(วันที่ค้นข้อมูล : 10 กุมภาพันธ์ 2559).
• กาเนิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://solarsystemedu.wikispaces.com.(วันที่ค้นข้อมูล : 10 กุมภาพันธ์ 2559).

More Related Content

What's hot (20)

ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
3 photosyn 1
3 photosyn 13 photosyn 1
3 photosyn 1
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
Astroplan17
Astroplan17Astroplan17
Astroplan17
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
Stars
StarsStars
Stars
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 

Similar to โครงงานคอม(งานคู่)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศChapa Paha
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...mayureesongnoo
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.pangpon
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงtaioddntw
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงmayuree_jino
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะNaroto Mikado
 

Similar to โครงงานคอม(งานคู่) (16)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
Solarstystempp
SolarstystemppSolarstystempp
Solarstystempp
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
My project1
My project1My project1
My project1
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

More from jinoom

คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวjinoom
 
การปลูกดอกทานตะวั4
การปลูกดอกทานตะวั4การปลูกดอกทานตะวั4
การปลูกดอกทานตะวั4jinoom
 
การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3jinoom
 
การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2jinoom
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองjinoom
 

More from jinoom (8)

คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยว
 
การปลูกดอกทานตะวั4
การปลูกดอกทานตะวั4การปลูกดอกทานตะวั4
การปลูกดอกทานตะวั4
 
Ssas
SsasSsas
Ssas
 
การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3
 
การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2
 
P
PP
P
 
0phk
0phk0phk
0phk
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
 

โครงงานคอม(งานคู่)