SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
๑
พุทธบริษัท
ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
พระอัญญาโกณฑัญญะ พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระเจ้าปเสนทิโกศล นางอุตตรา
พระอานนท์ พระเขมาเถรี
ศาสตราจารย์สัญญา
ธรรมศักดิ์
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย
พระโมคคัลลานะ พระปฏาจาราเถรี พระเจ้าสุทโธทนะ นางวิสาขา
พระสารีบุตร พระอุบลวรรณาเถรี พระเจ้าพิมพิสาร นางสิริมา
พระมหากัสสปะ พระรูปนันทาเถรี พระเจ้าอชาตศัตรู นางขุชชุตตรา
พระมหานามะ พระกีสาโคตมีเถรี อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางสามาวดี
พระอุบาลี พระกุณฑลเกสีเถรี หมอชีวกโกมารภัจจ์
พระเทวทัต พระธรรมทินนาเถรี กุมภโฆสกเศรษฐี
พระปุณณมันตานีบุตร
พระมหากัจจายน
พระองคุลิมาล
ภิกษุ
พระอัญญาโกณฑัญญะ
พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนาเป็นคนแรกที่รับรู้ ยอมรับการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าเดิม
ชื่อ โกณฑัญญะคาว่าอัญญาได้เพิ่มขึ้นมาในภายหลังที่ได้ฟังธรรมกับพระพุทธเจ้าซึ่งประวัติกล่าวว่า
โกณฑัญญะเป็นบุตรของท่านโทณวัตถุซึ่งเป็นพราหมณ์ ฐานะเศรษฐีอยู่ไม่ไกลจากกรุงกบิลพัสดุ์
วัยเรียนบิดาได้ส่งให้เรียนจบการศึกษาขั้นสูงคือไตรเพทได้แก่ ฤคเวทยชุรเวทสามเวท
และยังมีความเชี่ยวชาญพิเศษในการทายลักษณะบุคคลดังนั้นเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ ๕วัน
โกณฑัญญะเป็นพราหมณ์ที่ทานายเจ้าชายสิทธัตถะเพียงแนวเดียวว่าพระราชกุมารจะเสด็จออกผนวช
และสาเร็จเป็นศาสดาเอกของโลกอย่างแน่นอนซึ่งทานายแตกต่างจากพราหมณ์คนอื่นๆ
เมื่อสิทธัตถะเสด็จออกผนวชโกณฑัญญะได้ทราบข่าวจึงชวนวัปปะภัททิยะมหานามะ อัสสชิ
จึงเรียกว่าปัญจวัคคีย์โดยหวังว่าถ้าเจ้าชายสิทธัตธะได้บรรลุธรรมใดจะสอนให้พวกตนบ้าง
เจ้าชายสิทธัตถะกระทาทุกกรกิริยาอยู่นานทรงพิจารณาว่าไม่ถูกต้อง
จึงหันมาบาเพ็ญเพียรทางจิตโดยยึดหลักมัชฌิมาเดินสายกลางปัญจวัคคีย์ก็คิดว่าสิทธัตถะหมดความเพียรแล้ว
จึงชวนกันปลีกตัวออกห่างไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณแล้วปัญจวัคคีย์พอเห็นพระพุทธเจ้าเสด็จมาแต่ไกลจึงตกลงกันว่า
พระสมณโคดมคลายความเพียรเสียแล้วคราวนี้จะไม่ไหว้ จะจัดที่นั่งไว้ให้ ถ้าประสงค์นั่งก็จงนั่ง
แต่ถ้าไม่ประสงค์นั่งก็แล้วแต่พระองค์เมื่อเสด็จมาถึงพฤติกรรมที่เคยแสดงก็แสดงความเคารพต่อพระองค์
แต่มีกริยากระด้างกระเดื่องอยู่พระพุทธเจ้านั่งแล้วตรัสว่า“เราตรัสรู้อมตธรรม”ปัญจวัคคีย์ไม่เชื่อและค้านถึง๓ครั้ง
เมื่อมาทบทวนทีหลังก็ยอมรับฟังธรรมที่พระองค์จะแสดงพระองค์ได้แสดงพระธรรมเทศนา
๒
คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรและทรงแนะนาให้ดาเนินทางสายกลาง(มัชฌิมาปฏิปทา)และแสดงธรรมอริยสัจ
๔ท่านโกณฑัญญะพิจารณาธรรมอย่างลึกซึ้งแล้วได้บรรลุแจ่มแจ้งมีความเชื่อมั่นในพระศาสดาอย่างมั่นคง
จึงขอบวชเป็นพระภิกษุ และเป็นรูปแรกในพระพุทธศาสนาหรือเรียกว่าเป็นวันเกิดขึ้นของสังฆรัตนะ(พระรัตนตรัย)
บวชโดยวิธี“เอหิภิกขุปสัมปทา”ปัญจวัคคีย์๔ท่านที่เหลือก็ได้บรรลุตามมา
และอุปสมบทให้โดยวิธีเดียวกันเหมือนกับท่านโกณฑัญญะ
พระพุทธเจ้าแสดงธรรมต่อโดยตรัสถึงเบญจขันธ์ซึ่งมีชื่อในพระสูตรว่า“อนัตตลักขณสูตร”เมื่อทรงแสดงเสร็จปัญจวัคคีย์ทั้ง
๕ก็บรรลุเป็นพระอรหันต์
พระอัญญาโกณฑัญญะได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่า
เป็นผู้ยอดเยี่ยมกว่าภิกษุทั้งหลายว่าเป็นผู้มีประสบการณ์มากสามารถให้คาแนะนาแก่ภิกษุทั้งหลายในกิจการต่างๆ
ท่านได้เป็นรุ่นแรกที่พระพุทธเจ้าส่งไปประกาศพระพุทธศาสนา
พระอัญญาโกณฑัญญะได้ปรินิพพานณป่าฉัททันต์ก่อนพระพุทธเจ้า
พระอานนท์
พระอานนท์มีฐานะเป็นพระอนุชาของพระบรมศาสดานับเรียงลาดับพระญาติพระอานนท์ออกผนวชพร้อมกับเจ้าศากยวงศ์อีก
4 องค์ คือภัททิยะ อนุรุทธะ ภัคคุ กิมพิละและเจ้าชายโกลิยวงศ์อีก 1องค์ คือ
เทวทัตและราษฎรสามัญชนมีอาชีพเป็นกัลบก(ช่างตัดผม)อีก 1 คน อุบาลี รวมทั้งสิ้น7 คนทั้ง 7
คนได้เข้าไปขออุปสมบทกับพระพุทธเจ้าพระศาสดาก็ทรงอุปสมบทให้ หลังจากอุปสมบทแล้ว
พระอานนท์ได้รับฟังคาสั่งสอนจากพระปุณณมันตานีบุตรได้บรรลุเป็นพระโสดาบันและต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป้ นผู้รับใช้ใกล้
ชิดพระบรมศาสดาซึ่งเรียกว่า พุทธอุปัฏฐากการเข้าไปเป็นพุทธอุปัฏฐากก็มิใช่ว่าเกิดจากการแสวงหาของท่านเอง
แต่เป็นเพราะมติสงฆ์ที่เห็นพ้องต้องกันและมติคณะสงฆ์ถือเป็นอาณัติที่สาคัญใครจะปฏิเสธหรือละเมิดมิได้
พระอานนท์จึงจาต้องรับแต่ก่อนจะเข้าไปปฏิบัติหน้าที่อันสาคัญนี้ท่านได้ทูลขอพร 8ประการจากพระบรมศาสดา ดังนี้
1. โปรดอย่าประทานจีวรอันประณีต(ทาจากผ้าเนื้อดี)แก่ข้าพระองค์
2. โปรดอย่าปรัทานบิณฑบาตอันประณีต(อาหารอย่างดี)แก่ข้าพระองค์
3. โปรดอย่าให้ข้าพระองค์อยุ่ในที่ประทับของพระองค์
4. โปรดอย่าพาข้าพระองค์ไปที่นิมมต์
5. ขอพระองค์จงเสด็จไปสู่ที่นิมนต์ที่ข้าพระองค์ได้รับไว้
6. ขอได้ดปรดอนุญาตให้ข้าพระองค์พาพุทธบริษัทซึ่งเดินทางมาเข้าเฝ้ าจากที่ห่างไกลในขระที่เดินทางมาถึง
7. ถ้าข้าพระองค์มีความสงสัยเกิดขึ้นเมื่อใดขอได้ดปรดให้ข้าพระองคืทูลถามได้เมื่อนั้น
๓
8. ถ้าพระองค์ทรงแสดงธรรมเรื่องใดแก่ใครในที่ลับหลังของข้าพระองค์ขอพระองค์ได้โปรดแสดงธรรมนั้นแก่ข้าพระองค์ด้วย
พระบรมศาสดาตรัสถามว่า“อานนท์เธอมีเหตุผลอะไรหรือจึงขอพรเช่นนั้น”พระอานนท์กราบทูลว่า
“ถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับพร4ข้อแรกก็อาจถูกครหานินทาได้ว่าพระออนนท์ยอมรับเป้ นอุปัฏฐากก็เพื่อหวังได้รับของอันประณีต
มิใช่ต้องการจะเสียสละประโยชน์ตนแต่ประการใดส่วนอีก 3ข้อ
ถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับคนก็อาจพูดกันอีกว่ารับใช้พระพุทธเจ้าอย่างไรเรื่องเล็กๆน้อยๆแค่นี้ก็อนุเคราะห์ไม่ได้ และ
โดยเฉพาะข้อที่8ถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับพอข้าพระองค์ถูกถามว่าธรรมข้อนี้พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ใครที่ไหน
มีสารสาคัญอย่างไรหากข้าพระองค์ตอบไม่ได้ ก็จะถูกครหาอีกว่าอยู่ใกล้ชิดพระบรมศาสดาเสียเปล่า
พระพุทธองค์แสดงธรรมว่าอย่างไรก็ไม่รู้เรื่อง”
เมื่อพระพุทธเจ้าทรงทราบเหตุผลแล้วก็ทรงประทานพรให้ตามที่ขอพระอานนท์ก็ปฏิบัติหน้าที่รับใช้ด้วยความเอื้อเฟื้อ
จงรักภักดียอมเสียสละได้แม้กระทั่งชีวิตเพื่อป้ องกันพระพุทธเจ้า
เห็นได้จากเหตุการณ์ที่พระเทวทัตยุยงเสี้ยมสอนให้พระเจ้าอชาตศัตรู ปล่อย ช้างนาฬาคีรี หวังปลงพระชนม์พระพุทธเจ้า
นาทีวิกฤตเช่นนั้นพระอานนท์ออกมายืนขวางหน้าช้างนาฬาคีรีเพื่อมิให้ทาร้ายพระพุทธองค์
พระอานนท์มีคุณสมบัติเฉพาะตัวคือเป็นผู้มีความขยันอดทนมีความจาเป็นเลิศ
สามารถจดจาพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าแสดงในสถานที่ต่างๆได้ทั้งหมดจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นเลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย
5 สถานคือ
1. เป็นพหุสูต คือเป็นผู้ได้ฟังได้ศึกษามาก
2. มีสติ คือเป้ นอยู่ดดยไม่ประมาท
3. มีธิติ คือ มีปัญญาเฉียบแหลม
4. เป้ นผู้มีความเพียรอย่างสม่าเสมอ
5.เป็นพุทธอุปัฏฐากการได้รับการยกย่องว่าเป็นเลิศทางพหุสูตนี้
ในการทาสังคายนาครั้งแรกคณะสงฆ์อันมีพระมหากัสสปเถระเป็นประธาน
พระมหากัสปะเตือนให้พระอานนท์เร่งทาความเพียรให้หนักยิ่งขึ้นเพื่อจะได้สาเร็จพระอรหันตืทันวันทาสังคายนา
พระอานนท์ก็ได้กะทาตามคาแนะนาแต่ก็ไม่สาเร้จสักทีจนกระทั่งก่อนวันทาสังคายนาพระอานนท์ก็เอนตัวลง
เพื่อจะพักผ่อนในช่วงนี้เองท่านเองก็ได้สาเร็จพระอรหันต์อิริยาบทที่ท่านสาเร็จนั้นเรียกว่าอยู่ในระหว่างอิริยาบททั้ง 4
วันรุ่งขึ้นท่านพระอานนท์ฏ้เข้าปฏิบัติหน้าที่วิสัชนาพระสูตรในการทาสังคายนาในฐานะขีณาสพ(พระอรหันต์)องค์หนึ่ง
งานครั้งนั้นใช้เวลาทาอยู่7เดือนจึงสาเร็จถือเป็นงานชิ้นสาคัญ
และมีคุณค่าต่อพระศาสนา พอเวลาผ่านไปสังขารของท่านก็ร่วงโรยท่านพิจารณาว่าควรจะปรินิพพานได้แล้ว
ท่านจึงไปยังแม่น้าโรหิณี ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างศากยวงศ์กับโกลิยวงศ์แล้วตั้งจิตอธิฐานว่า
เมื่ออาตมาปรินิพพานขอให้ร่างนี้จงลอยขึ้นไปในอากาศแล้วแตกออกเป็น2ภาค ภาคหนึ่งให้ปลิวไปตกทางฝั่งโกลิยะ
อีกภาคให้ปลิงไปทางฝั่งศากยะเพื่อมิให้พระญาติทั้ง2ฝ่ ายต้องทะเลาะวิวาทกันเกี่ยวกับอัฐิของอาตมา
ครั้นอธิฐานเสร็จแล้วร่างกายของท่านก็ลอยขึ้นไปในอากาศนิพพานกลางอากาศสรีระร่างกายของท่านก็แตกออกเป็น2ภาค
ตามที่อธิฐานไว้ทุกประการ
พระโมคคัลลานะ
พระโมคคัลลานะเป็นบุตรพราหมณ์ผู้เป็นนายบ้าน
ชื่อว่า โมคคัลลานะมารดาชื่อว่านางโมคคัลลีเดิมท่านชื่อว่าโกลิตะท่านเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา
ท่านเป็นสหายของพระสารีบุตรจนเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาท่านได้อุปสมบทในพระธรรมวินัยได้ 7วัน
๔
ไปทาความเพียรอยู่ที่บ้านกัลลวาลมุตตคามแขวงมคธอ่อนใจนั่งโงกง่วงอยู่พระบรมศาสดาเสด็จไปที่นั้น
ทรงสั่งสอนและแสดงอุบายสาหรับระงับความง่วงมีประการต่างๆดังต่อไปนี้
1. โมคคัลลานะเมื่อท่านมีสัญญาอย่างไรความง่วงนั้นย่อมครอบงาได้ ท่านควรทาในใจถึงสัญญานั้นให้มากฯ
2. ท่านควรตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ได้ฟังแล้วและได้เรียนแล้วด้วยใจของท่านเอง
3. ท่านควรสาธยายธรรมตามที่ตัวได้ฟังแล้วและได้เรียนแล้วโดยพิสดารฯ
4. ท่านควรยอนหูทั้งสองข้างและลูบด้วยฝ่ามือฯ
5. ท่านควรลุกขึ้นยืนลูบนัยน์ตาด้วยน้าเหลียวดูทิศทั้งหลายแหงนดูดาวนักขัตรฤกษ์ฯ
6. ท่านควรทาในใจถึงอาโลกสัญญาคือความสาคัญในแสงสว่างตั้งความสาคัญว่ากลางวันไว้ในใจ
ให้เหมือนกันทั้งกลางวันและกลางคืนมีใจเปิดเผยฉะนี้ไม่มีอะไรหุ้มห่อทาจิตอันมีแสงสว่างให้เกิดฯ
7. ท่านควรอธิษฐานจงกรมกาหนดหมายว่าจักเดินกลับไปกลับมาสารวมอินทรีย์มีจิตไม่คิดไปภายนอกฯ
8. ท่านควรสาเร็จสีหไสยาสน์คือนอนตะแคงข้างเบื้องขวาซ้อนเท้าเหลื่อมกันมีสติสัมปชัญญะ
ทาความหมายในอันที่จะลุกขึ้นไว้ในใจพอท่านตื่นแล้วควรรีบลุกขึ้น
พระโมคคัลลานะปฏิบัติตามโอวาทที่พระบรมศาสดาตรัสสั่งสอนก็ได้สาเร็จเป็นพระอรหันต์ในวันนั้นฯ
ครั้นพระโมคคัลลานะได้สาเร็จพระอรหันต์แล้วท่านเป็นผู้มีฤทธานุภาพมากได้รับยกย่องจากสมเด็จพระบรมศาสดาว่า
เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในทางเป็นผู้มีฤทธิ์
และทรงยกย่องว่าเป็นคู่กับพระสารีบุตรจึงมีคายกย่องพระสารีบุตรเป็นอัครสาวกฝ่ ายขวาพระโมคคัลลานะเป็นอัครสาวกฝ่ า
ยซ้ายนอกจากนั้นท่านพระโมคคัลลานะนั้นยังเข้าใจในการนวกรรมด้วย(นวกรรม–การก่อสร้าง)เพราะเมื่อนางวิสาขา
มหาอุบาสิกาสร้างบุพพารามในกรุงสาวัตถีพระบรมศาสดารับสั่งให้ท่านเป็นนวกัมมาธิฏฐายีคือผู้ควบคุมการก่อสร้างฯ
นิพพานตานานกล่าวว่าเมื่อโจรมาพระโมคคัลลานะก็ทราบเหตุนั้นจึงหนีไปเสียสองครั้งครั้งที่สามท่านพิจารณาเห็นว่า
กรรมตามทันจึงไม่หนีพวกโจรผู้ร้ายทุบตีจนร่างกายท่านแหลกก็สาคัญว่าตายแล้ว
จึงนาร่างกายของท่านไปซ่อนไว้ในพุ่มไม้แห่งหนึ่งแล้วพากันหนีไปท่านพระโมคคัลลานะยังไม่มรณะ
เยียวยาอัตภาพให้หายด้วยกาลังญาณแล้วเข้าไปเฝ้ าสมเด็จพระบรมศาสดาทูลลากลับมาปรินิพพานณที่เดิมในวันดับเดือน
12 ภายหลังพระสารีบุตรปักษ์หนึ่ง(15วัน)พระศาสดาได้เสด็จไปทาฌาปนกิจแล้วรับสั่งให้นาอัฐิธาตุมาก่อพระเจดีย์บรรจุไว้
ณ ที่ใกล้ประตูแห่งเวฬุวนารามฯ
พระสารีบุตร
พระสารีบุตรถือกาเนิดในครรภ์ของนางสารีพราหมณีในบ้านอุปติสสคามณหมู่บ้านนาลกะ(นาลันทะ)ไม่ไกลกรุงราชคฤห์
เดิมชื่อ อุปติสสะบิดาคือวังคันตพราหมณ์ มารดาคือสารีพรามหณี มีน้องชาย 3คนชื่อ
อุปเสนะ (เอตทัคคมหาสาวกผู้นาความเลื่อมใสมาโดยรอบ),
จุนทะ (พระมหาสาวกจุนทะแต่พระส่วนใหญ่ชอบเรียกท่านว่าสามเณรจุนทะจนติดปาก),
เรวตะ(เอตทัคคมหาสาวกเลิศทางผู้อยู่ป่าเป็นวัตร),
มีน้องสาว3 คน นามว่าจาลา,อุปจาลา และสีสุปจาลาซึ่งต่อมาได้บวชเป็นภิกษุณีและสามารถบรรลุธรรมขั้นสูง
เป็นพระอรหันต์ทั้งหมดแม้สหายของท่านคือพระโมคคัลลานะก็ถือกาเนิดในครรภ์ของโมคคัลลีพราหมณีในวันเดียวกัน
บ้านโกลิตคามอันไม่ไกลกรุงราชคฤห์
วัยหนุ่มตอนเป็นคฤหัสถ์ ในกรุงราชคฤห์มีงานมหรสพประจาปี
บนยอดเขาซึ่งมาณพทั้งสองก็นั่งรวมกันดูมหรสพเป็นประจา
๕
จนกระทั่งถึงวันหนึ่งท่านทั้งสองเริ่มมีความเบื่อหน่ายในงานมหรสพด้วยต่างคิดว่าไม่มีประโยชน์อะไรที่ควรดูในมหรสพเหล่านี้
เพราะคนทั้งหมดต่างก็จะล้มหายตายจากกันไป
เราควรแสวงธรรมซึ่งเป็นเครื่องหลุดพ้น ขณะนั้นโกลิตะเห็นเพื่ออุปติสสะใจลอยจึงกล่าวถามอุปติสสะจึงบอกความในใจ
ที่เบื่อหน่ายต่อมหรสพและความต้องการแสวงหาธรรมอันเป็นเครื่องหลุดพ้นแล้วจึงถามกลับบ้างซึ่งโกลิตะ
ก็ตอบโดยมีเนื้อความเช่นเดียวกันเมื่อต่างคนต่างทราบความในใจแล้ว
จึงชวนกันไปบวชในสานักของสัญชัยปริพาชกพร้อมกับมาณพอีก500คน
เมื่อบวชแล้วท่านทั้งสองได้เรียนจบลัทธิของสัญชัยปริพาชกทั้งหมดโดยใช้เวลาเพียง 2-3วันเท่านั้น
เมื่อหมดความรู้ที่จะศึกษาแล้วและยังไม่เห็นถึงธรรมท่านจึงอาลาและแสวงหาอาจารย์ท่านอื่นๆต่อไป
ซึ่งท่านทั้งสองได้ตกลงกันว่าหากใครบรรลุอมตะก่อนผู้นั้นจงบอกแก่กัน
สมัยนั้น พระอัสสชิเถระหนึ่งในภิกษุปัญจวัคคีย์ได้ถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงราชคฤห์แต่เช้าตรู่
อุปติสสปริพาชกทาภัตกิจแต่เช้ามืดแล้วเดินไปอารามปริพาชกได้เห็นพระเถระจึงตั้งใจเข้าไปสอบถามคาถามต่างๆ
แต่เนื่องจากพระเถระกาลังบิณฑบาตอยู่จึงติดตามไปเรื่อยๆจนกระทั่งถึงสถานที่แห่งหนึ่งจึงเข้าไปอุปัฏฐากพระเถระ
เมื่อเสร็จจากภัตกิจแล้วจึงได้สนทนาธรรมกันโดยการสนทนาธรรมในครั้งนี้ทาให้ท่านได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบัน
เมื่อสอบถามถึงสถานที่ประทับของพระพุทธเจ้าแล้วท่านจึงกลับไปตามโกลิตปริพาชก
เมื่อท่านได้กล่าวคาถาที่พระเถระได้มอบให้ไว้ โกลิตปริพาชกก็บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบันเช่นเดียวกันท่านทั้งสองจึงนับถือ
พระอัสสชิเป็นอาจารย์และไปเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าที่พระเวฬุวันแต่ก่อนไปท่านทั้งสองได้ไปชักชวนอาจารย์เก่า
คือสัญชัยปริพาชกแต่อาจารย์ท่านปฏิเสธแต่มีอันเตวาสิก 250คนได้ติดตามไปด้วย
เมื่อพระศาสดากาลังทรงแสดงธรรมอยู่ท่ามกลางบริษัท๔เห็นชนเหล่านั้นแต่ไกลจึงตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ๒คนนั้น
คือโกลิตะและอุปติสสะกาลังเดินมาทั้งสองนี้แหละจักเป็นคู่สาวกที่เลิศที่เจริญครั้นแล้วทรงขยายพระธรรมเทศนา
เนื่องด้วยจริยาแห่งบริษัทของ2สหายนั้นในครั้งนั้นบรรดาผู้ติดตามทั้งหมดต่างได้บรรลุอรหันต์ผล
ยกเว้นพระอัครสาวกทั้งสองเมื่อนั้นพระศาสดาจึงประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาให้
การบรรลุธรรม
หลังจากพระสารีบุตรเถระบวชได้ครึ่งเดือนก็เข้าไปอาศัยอยู่ในถ้าสุกรขาตากับพระศาสดากรุงราชคฤห์
ขณะที่พระสารีบุตรถวายงานพัดอยู่นั้นเมื่อพระศาสดาทรงแสดงเวทนาปริคหสูตรแก่ทีฆนขปริพาชก
ผู้เป็นหลานของพระสารีบุตรท่านได้ส่งญาณไปตามกระแสพระสูตรก็ได้บรรลุถึงที่สุดสาวกบารมีญาณสาเร็จเป็นพระอรหันต์
ในวันขึ้น 15 เดือน 3 เวลาบ่ายในเวลาต่อมาพระศาสดาจึงทรงสถาปนาพระมหาสาวกทั้งสองไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะว่า
สารีบุตรเป็นยอดของภิกษุสาวกของเราผู้มีปัญญามากมหาโมคคัลลานะเป็นยอดของภิกษุสาวกของเราผู้มีฤทธิ์มากแม้ว่าพระ
สารีบุตรและพระโมคคัลลานะจะเกิดพร้อมกันแต่ด้วยพระสารีบุตรสาเร็จเป็นพระโสดาบันก่อน
พระผู้มีพระภาคจึงถือให้พระสารีบุตรเป็นผู้พี่ของพระโมคคัลลานะ
นิพพาน
เมื่อพระสารีบุตรอาพาธท่านจึงทูลลาพระพุทธเจ้ากลับไปนิพพานยังบ้านเกิด
ก่อนนิพพานท่านได้ทาให้โยมมารดาเปลี่ยนใจหันมายอมรับนับถือพระพุทธศาสนา
โดยแสดงธรรมแก่มารดาจนบรรลุธรรมขั้นโสดาบัน
หลังจากท่านนิพพานแล้วพระจุนทะจึงนาพระธาตุของพระสารีบุตรไปถวายพระพุทธเจ้า
พระสารีบุตรนิพพานก่อนพระพุทธเจ้าประมาณ 6เดือนคือ วันเพ็ญเดือน 12 เวลาใกล้รุ่งที่บ้านตนเองพระพุทธเจ้ายกย่อง
พระสารีบุตรเอตทัคคอัครมหาสาวกผู้เลิศทางปัญญา.
๖
พระมหากัสสปะ
หมู่บ้านมหาติฏฐะ แคว้นมคธมีพราหมณ์คนหนึ่งชื่อ“กปิละ”แห่งตระกูล “กัสสปะ”เป็นผู้มั่งคั่งร่ารวยในขั้นเศรษฐี
มีลูกชายเป็นลูกโทนชื่อว่า“ปิปผลิ”เมื่อปิปผลิอายุได้ 20ปี บิดามารดาปรึกษากันที่จะหาหญิงสาวที่เหมาะสมมาแต่งงาน
กับปิปผลิลูกชายของตนครั้นความเห็นตรงกันแล้วจึงได้เรียกคนรับใช้ที่ไว้เนื้อเชื่อใจมาพบและให้คนใช้นั้นทาตามจุดประสงค์
ให้เดินทางไปยังเมืองต่างๆแสวงหากุลสตรีที่มีความงามเหมาะสมกับลูกชายของตน
บุรุษที่ได้รับมอบหมายได้เดินทางไปถึงเมือง“สาคลนคร”ก็ได้พบพราหมณ์คนหนึ่งวัย16ปี
นางมีนามว่า“ภัททกาปิลานี”เป็นกุลสตรีที่พร้อมด้วยรูปสมบัติคือหน้าตาสวยงามและเรียบร้อยอีกทั้งสกุลสูง
เหมะสมที่จะเป็นคู่ครองของปิปผลิจึงเข้าไปเจรจาสู่ขอกับบิดามารดาของเธอแล้วส่งข่าวไปบอกให้กปิลพราหมณ์ทราบ
ฝ่ ายปิปผลิเมื่อรู้ว่าบิดามารดาจะให้แต่งงานกลับกลุ้มใจเพราะไม่ประสงค์ที่จะแต่งงาน
จึงเขียนจดหมายให้คนรับใช้ไปส่งให้ว่าที่เจ้าสาวว่า “น้องสาวพี่ขอให้น้องจงแต่งงานกับชายอื่นเถิด
อยู่ครองคู่ให้มีความสุขตัวพี่จะออกบวช”ฝ่ ายภัททกาปิลานเมื่อรู้ว่าบิดามารดาจะให้แต่งงานก็รู้สึกเสียใจ
เพราะยังไม่ประสงค์จะแต่งงานเช่นกัน จึงเขียนจดหมายให้คนใช้นาไปให้ปิปผลิกุมารมีใจความว่า
“ขอให้พี่เลือกหญิงอื่นเป็นคู่ครองเถิดน้องจะขอออกบวชบาเพ็ญพรต”
พอคนใช้ทั้งสองเดินฝ่ ายทางมาเจอกันกลางป่าก็ได้แอบเปิดจดหมายอ่านและฉีกทิ้ง
ในที่สุด นางภัททกาปิลานีได้เข้ามาอยู่ร่วมชายคากับปิปผลิทั้งคู่สักแต่ว่าอยู่ด้วยกันเท่านั้นแต่มิได้รักใคร่กัน
จึงเป็นเหตุให้ไม่มีบุตร
ต่อมาบิดาปิปพลิถึงแก่กรรมทรัพย์สมบัติพร้อมทั้งข้าทาสบริวารทั้งหมดตกเป็นของเขาสามีภรรยาคู่นี้หาได้ชื่นชมสมบัตินั้นไม่
กลับเห็นว่าผู้อยู่ครองเรือนนั้นเป็นบาปเกิดความเบื่อหน่ายจึงพร้อมใจกันออกบวชปิปผลิเดินหน้า ภัททกาปิลานีเดินตามหลัง
พอถึง 2 ทางแพร่งแห่งหนึ่งจึงแยกกันปิปผลิไปทางขวาภัททกาปิลานีไปทางซ้าย
ได้พบกับสานักของนางภิกษุณีแล้วเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์ขออุปสมบทเป็นภิกษุณี และสาเร็จอรหันต์ในโอกาสต่อมา
ปิปผลิเดินทางถึงป่าใหญ่ก็ได้พบกับพระพุทธเจ้าซึ่งประทับอยู่ใต้ต้นไทรต้นหนึ่งเกิดความศรัทธาเลื่อมใส
จึงเข้าไปหาและประกาศตัวเป็นสาวกขออุปสมบทพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้เป็นภิกษุ
เมื่อบวชแล้วเพื่อนภิกษุไม่เรียกท่านว่า ปิปผลิแต่เรียกท่านแทนว่า“กัสสปะ”
ประกอบกับท่านเป็นผู้ใหญ่มีอายุมากจึงมีคานาหน้าว่า “มหา”เป็น“มหากัสสปะ”
ท่านได้บาเพ็ญเพียรด้วยการปฏิบัติตามพุทธโอวาทที่ทรงสั่งสอนนับจากวันที่ท่านอุปสมบทได้ 8วันก็บรรลุเป็นพระอรหันต์
พระบรมศาสดาจึงยกย่องท่านว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุใดในด้านถือธุดงค์
พระมหากัสสปะถึงจะมาจากตระกูลที่ร่ารวยมหาศาลแต่พอเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาแล้วท่านก็ปฏิบัติตนเป็นคนมักน้อย
ไม่ใช้ของฟุ่ มเฟือย เพราะท่านเป็นผู้มักน้อยและชอบอยู่ป่าเป็นนิตย์ก่อนนิพพานพระองค์เคยตรัสสอนไว้ว่า
“พระธรรมวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติแล้วจะเป็นศาสดาของพวกเธอในอนาคต”ดังนั้นจาเป็นต้องรักษาคาสอนไว้ให้ดี
อย่าให้ใครมาดัดแปลงหรือลบล้างคาสอนเหล่านั้น
จึงจัดให้มีการสังคายนาขึ้นเป็นครั้งแรกเรียกว่าปฐมสังคายนามหากัสสปะเป็นประธานฝ่ ายสงฆ์
มี พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นเอกอัครศาสนูปถัมภ์มีพระภิกษุสงฆ์อรหันต์มาร่วมงานสังคายนาครั้งนี้จานวน 500องค์ กระทาอยู่7
เดือนจึงสาเร็จพระมหากัสสปะมีอายุยืนถึง120ปี จึงนิพพานณ กุกกุฏสัมปาตบรรพตและอยู่ระหว่างภูเขา3ลูก
พระมหานามะ
ในพุทธานุพุทธประวัติมีพุทธบริษัทชื่อมหานามะอยู่2 คน คนหนึ่งเป็นเจ้าชายแห่งศากยวงศ์ได้หญิงรับใช้เป็นภรรยา
มีบุตรีคนหนึ่งซึ่งนางได้แต่งงานกับพระเจ้าปเสนทิโกศลและมีพระโอรสด้วยกันชื่อว่า วิฑูฑภะต่อมาถูกพวกศากยวงศ์ดูถูกว่า
๗
มีเชื้อสายของคนใช้ ด้วยอารมณ์โกรธจึงฆ่าพวกศากยวงศ์ล้างเผ่าพันธุ์และทารัฐประหารพระเจ้าปเสนทิโกศลแล้วขึ้นครองราช
บันลังก์สืบต่อมามหานามะอีกคนมีบิดาซึ่งเป็นหนึ่งในพราหมณ์ทั้ง 8คนที่เป็นผู้ทานายว่าพระพุทธเจ้าเป็นผู้มีลักษณะ
ถูกต้องตามโหราศาสตร์ทาให้ตนเกิดความนับถือ เมื่อพระพุทธเจ้าออกบวชและบาเพ็ญทุกกรกริยา มหานามะพร้อมด้วยพรา
หมณ์อีก 4
คน
โดยมีโกณฑัญญะเป็นหัวหน้าได้ออกติดตามรับใช้พระพุทธเจ้าเพราะหวังว่าเมื่อพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้คงจะสอนธรรมแก่พวกต
นบ้าง ภายหลังพระพุทธเจ้าทรงเลิกบาเพ็ญทุกกรกริยาและหันมาบาเพ็ญเพียรทางจิตแทน พราหมณ์ทั้ง๕คน
คิดว่าพระพุทธเจ้าล้มเลิกความตั้งใจแล้วจึงเกิดความเหนื่อยหน่ายที่จะรับใช้พระพุทธเจ้าต่อจึงพากันแยกย้ายไปอยู่ที่ป่าอิสิปต
นมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณาสี การที่พราหมณ์ทั้งหมดหนีไปนั้นกลับเป็นประโยชน์แก่พระพุทธเจ้าทาให้จิตเกิดสมาธิได้ง่
าย เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วก็ทรงแสดงธรรมแก่พราหมณ์ทั้งห้าเริ่มจากโกณฑัญญะ วัปปะ
ภัททิยะ ท่านอัสสชิ และมหานามะตามลาดับ จนทั้งห้าได้ดวงตาเห็นธรรมและได้อุปสมบทเป็นภิกษุ
ต่อมาพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมพระเทศนา เพื่อให้พระสาวกทั้งห้าหลุดพ้นจากกิเลส
อาสวะทั้งปวง ทรงแสดงขันธ์5 ที่มีใจความดังนี้
รูป คือ ร่างกายที่สามารถมองเห็นสัมผัสได้
เวทนา คือ ความรู้สึกรู้ทุกข์หรือไม่สุขไม่ทุกข์
สัญญา คือ ความจาได้หมายรู้
สังขาร คือ สภาพที่ปรุงแต่งจิตให้เกิดความรู้สึกดีบ้างชั่วบ้าง
วิญญาณ คือ จิตที่รับรู้สิ่งต่างๆ
ขันธ์ทั้ง 5 นี้เป็น อนัตตา ไม่ใช่ตัวตน ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์พิจารณาแยกกายใจออกเป็นขันธ์5
ตามแนวทางวิปัสสนา แล้วทรงถามถึงขันธ์5ว่าเที่ยงหรือไม่เที่ยงและทุกข์หรือสุข
ภิกษุทั้งห้าต่างพร้อมใจกันตอบว่าไม่เที่ยงและทุกข์ จึงทรงแสดงธรรมต่อว่าในเมื่อขันธ์5
เป็นสิ่งไม่เที่ยงแล้วไม่ควรยึดมั่นว่าเป็นของเรา ระหว่างที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมนั้นภิกษุทั้งห้าก็ได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหั
นต์
พระมหานามะนั้นได้ไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันพรรษาหนึ่งจนมีพระสงฆ์เพิ่มขึ้นอีก60องค์
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงส่งพระสงฆ์ทั้งหมดไปเผยแผ่ศาสนารวมถึงตัวพระมหานามะเองด้วย ท่านดารงชีวิตอยู่พอสมควรก่อน
จะนิพพาน
พระอุบาลี
พระอุบาลีเป็นบุตรของช่างกัลบกในกรุงกบิลพัสดุ์มีการศึกษาไม่สูงเด่นนักเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มบิดาดานาเขาไปถวาย
ให้เป็นนายภูษามาลาในพระราชสานักของศากยราชจึงมีโอกาสได้สนิทสนมคุ้นเคยกับเจ้าชายแห่งราชวงศ์ศากยะ
แทบทุกพระองค์ดังนั้นเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่อนุปิยอัมพวัน ซึ่งอยู่ในแคว้นมัลละเจ้าชายแห่งศากยวงศ์5พระองค์คือ
ภัททิยะ อนุรุทธะ อานนท์ ภัคคุ และกิมพิละกับเจ้าชายแห่งโลกิยวงศ์อีกพระองค์หนึ่งคือพระเทวทัตตัดสินใจออกผนวช
อุบาลี ก็เลยขอติดตามออกบวชด้วยโดยเดินทางออกจากแคว้นสักกะด้วยขบวนจตุรงคเสนา
ประหนึ่งเสด็จไปประพาสพระราชอุทยานพอถึงชายแดนระหว่างแคว้นสักกะกับแคว้นมัลละได้ส่งให้กองดุริยางค์เหล่านั้นกลับ
แล้วค่อยเดินทางสู่ดินแดนของแคว้นอื่นอย่างสงบให้เกียรติแก่ กษัตริย์แห่งแคว้นนั้นเจ้าชายทั้ง 5พระองค์
ทรงเปลื้องอาภรณ์ของตนออกห่อให้เรียบร้อยแล้วมอบแก่ อุบาลี พร้อมทั้งกล่าวว่า “นี่นะอุบาลีขอให้เธอกลับบ้านไปเถอะ
ทรัพย์สินเหล่านี้คงจะพอเลี้ยงชีวิตของเธอได้อย่างสบาย”ฝ่ ายอุบาลีพอได้ยินเช่นนั้นก็เสียใจ
๘
ร้องไห้กราบพระบาทของเจ้าชายทั้ง5ขอออกบวชด้วยตอนแรกเจ้าชายทั้ง5ไม่ยอม นายอุบาลีไม่อาจจะขัดขืนคาสั่งได้
จึงลุกขึ้นเอาห่อของนั้นเดินทางกลับพอคนทั้ง7 เกิดแยกเป็น2 กลุ่ม
ปรากฏการณ์อันประหลาดก็เกิดขึ้นพายุพัดต้นไม้โอนไปเอนมาเสียงดังเหมือนป่ากาลังคาครวญร้องไห้เหมือนแผ่นดินสะเทือน
บ่งบอกว่าแม้ธรรมชาติก็เสียใจเมื่ออุบาลี เดินทางกลับไปได้หน่อยหนึ่งก็ฉุกคิดว่า
“ถ้าประชาชนชาวแคว้นสักกะเห็นเรานาสิ่งของอันมีค่าของเจ้าชายทั้ง5องค์นี้กลับมาอาจคิดและสงสัยว่าเจ้าชายทั้ง5คงถูก
อุบาลี ปลงพระชนม์เสียแล้วจึงปลดเปลื้องเอาแต่ของมีค่ามาเป็นของคนดังนี้แล้วเราจะตอบเขาว่าอย่างไร
ก็ในเมื่อเจ้าชายเหล่านี้ทรงสละสมบัติอันล้าค่าเหล่านี้เหมือนเสลดน้าลายแล้วเรายังจะรับเอาไว้ อยู่หรือ”ครั้งคิดได้ดังนั้นแล้ว
จึงแก้ห่อของนั้นออก เอาเครื่องทรงเหล่านั้นแขวนไว้บนต้นไม้ พร้อมทั้งเขียนบอกไว้ว่า “เมื่อใครมาพบอยากได้ก็จงเอาไปเถิด”
แล้วเดินทางย้อนกลับไปหาเจ้าชายเหล่านั้นอีกเมื่อถูกถามว่าทาไมเจ้าจึงกลับมา
ก็กราบทูลความคิดที่ทาให้ตัดสินใจกลับพร้อมทั้งพฤติกรรมที่ได้กระทานั้นให้ทรงทราบอย่างละเอียด ครั้นแล้วทั้ง7คน
ก็เดินทางร่วมกันต่อไปพอถึงสานักของพระบรมศาสดาพากันถวายบังคมพระบรมศาสดาแล้วกราบทูลว่า
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์ทั้งหลายประสงค์จะอุปสมบท
แต่ชื่อว่าเป็นเชื้อพระวงศ์แห่งศากยราชมีความถือตัวของข้าพระองค์จักลดลงไปด้วยอาการอย่างนี้”
อุบาลีจึงได้บวขเป็นคนแรกเมื่อพระอุบาลีบวชแล้วพระบรมศาสดาทรงสั่งสอนพระกัมมัฏฐาน
ให้เห็นแนวในการปฏิบัติสมณธรรมท่านตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาทตั้งใจบาเพ็ญเพียรไม่นานนักก็สาเร็จเป็นพระอรหันต์
และได้ศึกษาทรงจาพระวินัยปิฎกได้อย่างแม่นยาเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านพระวินัยจนหาใครเทียบได้
ในสมัยที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่พระองค์ทรงมอบหมายให้ท่านวินิจฉัยอธิกรณ์ 3เรื่องคือ
1. ภารตัจฉกวัตถุ
2. อัชชุกวัตถุ
3. กุมารกัสสปวัตถุ
พระอุบาลีก็วินิจฉัยได้อย่างถูกต้องเป็นที่ยอมรับของพระภิกษุสงฆ์ทั้งมวล
พระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในการทรงจาพระวินัยภายหลังเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วพระม
หากัสสปเถระกระทาปฐมสังคายนาจึงมอบหมายให้พระอุบาลีเถระเป็นผู้วิสัชนาในพระวินัยปิฎกทั้งหมด
คือพระมหากัสสปเถระในฐานะประธานในการทาสังคายนาจะเป็นผู้ถามไปทีละข้อๆเริ่มแต่บทบัญญัติที่มีโทษหนักที่สุก
คือ ปาราชิกเป็นต้นพระอุบาลีเถระตอบได้อย่างถูกต้องและเพื่อป้ องกันความผิดพลาดจึงให้พระสงฆ์นามาสวดให้กันฟังทุก
15 วันซึ่งเราเรียกว่า“สวดปาฏิโมกข์”ตราบเท่าทุกวันนี้
ท่านอุบาลีเถระถือได้ว่าเป็นพระเถระที่ทาคุณประโยชน์ให้แก่พระศาสนาอย่างมากองค์หนึ่ง
ท่านดารงสังขารอยู่ตามสมควรแก่กาลแล้วก็ดับขันธ์นิพพาน
พระเทวทัต
พระเทวทัตเป็นเจ้าชายแห่งโกลิยวงศ์ได้ออกบวชพร้อมกับเจ้าชายศากวงศ์อีก 5พระองค์คือภัททิยะ อนุรุทธะ อานนท์ ภัคคุ
กิมพิละและสามัญชนอีกคนหนึ่งคืออุบาลี
ในจานวนที่บวชพร้อมกันนี้ท่านภัททิยะได้สาเร็จเป็นพระอรหันต์ในพรรษานั้นเองและตามด้วยคนอื่นๆ
ส่วนพระเทวทัตได้สาเร็จแค่โลกิยญาณ (คือฤทธิ์ระดับปุถุชนย่อมเสื่อมได้)
ต่อมาพระพุทธเจ้าเสด็จไปประทับที่กรุงโกสัมพีชาวเมืองก็พากันนาวัตถุสิ่งของไปถวายเป็นจานวนมาก
เวลาเหล่าประชาชนเหล่านั้นนาสิ่งของไปถวายที่วัดมักจะถามหาพระสารีบุตรพระโมคคัลลานะพระมหากัสสปะ
หรือไม่ก็พวกที่ออกบวชพร้อมพระเทวทัตแต่ไม่มีใครถามถึงพระเทวทัตเลยจึงทาให้พระเทวทัตเกิดความน้อยเนื้อต่าใจ
๙
จึงคิดร้ายต่อพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกโดยจะไปขออาศัยอานาจทางการเมืองเข้ามาเสริมจึงเห็นพระเจ้าอชาตศัตรู
นี่แหละน่าจะเกลี้ยกล่อมได้ และพระเทวทัตก็ทาสาเร็จทาให้พระเจ้าอชาตศัตรูฆ่าพระบิดาแล้วขึ้นครองเป็นกษัตริย์แทน
ส่วนพระเทวทัตก็จะฆ่าพระพุทธเจ้าแล้วปกครองคณะสงฆ์เสียเอง
วันหนึ่งขณะที่พระบรมศาสดาทรงกาลังแสดงธรรมแก่พระพุทธบริษัทพร้อมด้วยพระราชาในเวฬุวันมหาวิหาร
พระเทวทัตก็ขึ้นประนมกราบทูลว่า “ข้าแต่พระภูมิภาคบัดนี้พระองค์ทรงชรามากแล้วขอพระองค์ทรงมักน้อยพักผ่อนให้สบาย
หม่อมฉันจักบริหารภิกษุสงฆ์แทนพระบรมศาสดาจึงตรัสตาหนิด้วยถ้อยคาที่รุนแรง
พร้อมทั้งทรงห้ามว่าอย่าคิดอย่างนี้อีกต่อไปเป็นเหตุให้พระเทวทัตไม่พอใจผูกอาฆาตแล้วหนีไป
พระภูมิภาครับสั่งให้ประกาศถึงพฤติกรรมและแนวคิดของพระเทวทัตจึงทาให้พระเทวทัตยิ่งโกรธมากขึ้น
เมื่อแผนการของพระเทวทัตในการปลงพระชนม์ของพระพุทธเจ้าขั้นแรก คือ จ้างนายขมัง
ธนูลอบสังหารได้ล้มเหลวลง พระเทวทัตจึงลงมือทาเอง คือ แอบขึ้นไปบนยอดเขาคิชฌกูฏ เพราะพระเทวทัตทราบได้แน่นอน
ว่า ขณะนั้นพระพุทธเจ้าเสด็จประทับอยู่เชิงเขาเบื้องล่าง พระเทวทัตจึงกลิ้งก้อนหินใหญ่ลงมา หมายให้ทับพระพุทธเจ้า
ก้อนหินเกิดกระทบกันแล้วแตกเป็นก้อนเล็กก้อนน้อย สะเก็ดหินก้อนหนึ่งกระเด็นปลิวมากระทบพระบาทพระพุทธเจ้า จนทาใ
ห้พระโลหิตห้อขึ้น
แผนการที่สองล้มเหลวลงอีกต่อมาพระเทวทัตได้แนะนาให้พระเจ้าอชาตศัตรูสั่งเจ้าพนักงาน
เลี้ยงช้างปล่อยช้างดุร้ายออกไล่เหยียบพระพุทธเจ้า ในขณะที่เสด็จบิณฑบาต แต่ก็ล้มเหลวลงอีก เพราะฝูงช้างไม่กล้าทาร้า
ยพระพุทธเจ้า
ตอนนี้เอง ความชั่วของพระเทวทัตเป็นข่าวแดงโร่ออกมา ประชาชนชาวเมืองต่างโจษจันกัน
เซ็งแซ่ว่า ผู้จ้างนายขมังธนูก็ดี ผู้กลิ้งก้อนหินกระทบพระบาทพระพุทธเจ้าก็ดี ผู้ปล่อยกระบวนช้างก็ดี แม้ที่สุดพระเจ้าพิมพิส
ารที่เสด็จสวรรคตก็ดี เป็นแผนการของพระเทวทัตทั้งสิ้น
หลังจากนั้นพระพุทธเจ้าจึงตรัสชาดกให้แก่พระสงฆ์สาวกฟังซึ่งล้วนแต่เป็นอักกตัญญู
พวกศิษย์จึงนาพระเทวทัตขึ้นนอนบนเตียงเล็กๆแล้วนาไปเฝ้ าพระภูมิภาค
เมื่อหามพระเทวทัตมาถึงริมฝั่งน้าแล้ววางลงเพื่อจะสรงน้าที่สระพระเทวทัตก็ลุกจากเตียงแล้วนั่งวางเท้าทั้งสองบนแผ่นดิน
ก็ถูกแผ่นดินสูบเท้าทั้งสองนั้นก็จมลงดินแล้วค่อยๆจมลงไปทีละน้อย ครั้นเมื่อพระเทวทัตถูกแผ่นดินสูบแล้ว
ประชาชนต่างพากันรื่นเริงยินดีมีการเฉลิมฉลองกันเป็นงานใหญ่ภิกษุจึงทูลถามพระพุทธเจ้าว่า“พระเทวทัตไปเกิดที่ไหน”
พระพุทธจึงตรัสว่า“ในอเวจีมหานรก"ภิกษุจึงทูลถามต่อไปว่า“พระเทวทัตประพฤติตนได้รับความเดือดร้อนในโลกนี้
แล้วยังไปเกิดในสถานที่เดือดร้อนอีกหรือ”จึงตรัสว่าอย่างนั้นแหละภิกษุทั้งหลายบรรพชิตก็ตามคฤหัสถ์ก็ตาม
อยู่ด้วยความประมาทย่อมเดือดร้อนทั้งสองโลกทีเดียว
พระปุณณมันตานีบุตรเถระ
พระปุณณมันตานีบุตรเป็นชาวแคว้นสักกะโดยกาเนิดเป็นบุตรของพราหมณ์ผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจดีคนหนึ่ง
ในตระกูลโทณวัตถุบ้านของท่านอยู่ไม่ไกลจากกรุงกบิลพัสดุ์เป็นญาติกับภิกษุบริษัทองค์แรกคือพระอัญญาโกณฑัญญะ
โดยพระปุณณมันตานีบุตรมีฐานะเป็นหลานลุงพระปุณณมันตานีบุตรชื่อเดิมว่า “ปุณณะ”มารดาชื่อมันตานีพราหมณี
เป็นน้องสาวของพระอัญญาโกณฑัญญะแต่เนื่องจากคนที่ชื่อ“ปุณณะ”มีมากกลัวเกิดความสับสนเวลาเอ่ยชื่อ
ดังนั้นพอท่านเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาแล้วภิกษุทั้งหลายจึงเรียนท่านว่า“พระปุณณมันตานีบุตร”แปลว่า
๑๐
ปุณณะผู้เป็นบุตรของนางมันตานีการที่พระปุณณมันตานีบุตรได้เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา
ก็ด้วยการชักนาของพระอัญญาโกณฑัญญะโดยขณะที่พระบรมศาสดาประทับอยู่ที่กรุงราชคฤห์
พระอัญญาโกณฑัญญะได้กราบทูลลาขอเดินทางกลับไปโปรดญาติโยมที่บ้านเดิมของท่านที่แคว้นสักกะ
เมืองกบิลพัสดุ์ได้ชี้แจงเหตุและผลให้หนุ่มปุณณะหลานชายฟังจนเกิดศรัทธาตัดสินใจบวชหลังจากบวชแล้วก็จาริกไปยัง
สถานที่ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติสมณธรรมไม่นานนักก็บรรลุเป็นพระอรหันต์และตั้งอยู่ในคุณธรรม 10ประการ
ท่านได้อบรมสั่งสอนศิษยานุศิษย์ของท่านให้ตั้งอยู่ในคุณธรรม10ประการอีกด้วย
ชื่อเสียงของท่านได้กระจายไปสู่หมู่ภิกษุพุทธบริษัทในเมืองต่างๆ
ครั้นต่อมาศิษย์ของท่านได้เดินทางไปเฝ้ าพระพุทธเจ้าและได้พรรณนาถึงการประพฤติปฎิบัติตนของ
พระปุณณมันตานีบุตรให้พระพุทธเจ้าฟังขณะนั้นพระสารีบุตรเถระนั่งอยู่ในที่นั้นด้วยพอได้ยินเช่นนั้น
ก็มีความประสงค์อยากพบปะสนทนากับพระปุณณมันตานีบุตรยิ่งนักเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จจากกรุงราชคฤห์ไปประทับ
ที่เมืองสาวัตถี ท่านปุณณมันตานีบุตรมาเฝ้ าแล้วพักอยู่ที่เมืองสาวัตถี พระสารีบุตรทราบข่าวจึงหาโอกาสเข้าไป
สนทนาด้วยไต่ถามถึงหลักธรรมที่ชื่อว่า “วิสุทธิ7”คือความหมดจดหรือความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปเป็นชั้นๆมี7 ชั้นด้วยกัน
เมื่อพระสารีบุตรถามท่านปุณณมันตานีบุตรว่า “ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่อศีลบริสุทธิ์หรือ” พระปุณณมันตานีบุตรตอบว่า
“ไม่ใช่” พระสารีบุตรก็ถามไปจนครบทั้ง7ข้อแต่พระปุณณมันตานีบุตรก็ตอบว่าไม่ใช่เหมือนกันทุกข้อ
และพระสารีบุตรก็กล่าวว่า
“ผมไม่เข้าใจจริงๆว่าท่านหมายความว่าอย่างไร”พระปุณณมันตานีบุตรจึงได้อธิบายเปรียบเทียบกับการเสด็จโดย
ราชรถจากเมืองหนึ่งไปยังอีกเมืองหนึ่งเช่นจากเมืองสาวัตถี ไปยังเมืองสาเกตจะต้องมีการเปลี่ยนราชรถถึง7ครั้ง
ตามสถานีจอดรถต่างๆเราจะพูดว่าพระราชาเสด็จโดยราชรถนี้จากเมืองสาวัตถีถึงเมืองสาเกตโดยตรงย่อมไม่ถูกต้อง
เราจะต้องพูดให้ละเอียดว่าทรงเปลี่ยนราชรถจุดใดบ้างเพราะรถคันแรกกับรถคันสุดท้าย
เป็นรถคนละคันกันพระสารีบุตรเข้าใจและอนุโมทนาในธรรมกถาและชมเชยว่าพระปุณณมันตานีบุตร
เป็นผู้เชี่ยวชาญในการอธิบายธรรมได้อย่างลึกซึ้งฝ่ ายปุณณมันตานีบุตรก็ชมเชยว่าพระสารีบุตรมีปัญญาเป็นเลิศ
ฟังธรรมอันลึกซึ้งเพียงครั้งเดียวก็สามารถเข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้งท่านพระปุณณมันตานีบุตรนั้นอาศัยความที่ตนตั้งอยู่
ในคุณธรรมเช่นไรแล้วก็สอนให้ผู้อื่นตั้งอยู่ในคุณธรรมเช่นนั้น พระบรมศาสดาจึงทรงยกย่องว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลา
ย
ในการเป็นนักเทศน์นักแสดงธรรม ท่านดารงชีวิตอยู่ตามสมควรแล้วก็ดับขันธนิพพาน
พระมหากัจจายนเถระ
พระมหากัจจายนะ เป็นบุตรของพราหมณ์ ตระกูลกัจจายนะ ผู้เป็นปุโรหิตของพระเจ้าจัณฑปัชโชตในกรุงอุชเชนี เดิมท่านชื่อ
ว่า “กัญจนะ” เพราะมีรูปร่างลักษณะงามสง่า มีเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น เมื่อเจริญวัยขึ้น ได้เรียนจบไตรเพท เมื่อบิดาถึงแก่กรรมแ
ล้วได้ดารงตาแหน่งปุโรหิตแทนบิดาเมื่อพระบรมศาสดาตรัสรู้แล้วเสด็จเที่ยวจาริก
ประกาศหลักธรรมคาสอน พระเจ้าจัณฑปัชโชตมีพระราชประสงค์จะกราบทูลอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จสู่กรุงอุชเชนี จึงรับ
สั่งให้ปุโรหิตกัจจายนะไปกราบทูลอาราธนากัจจายนะถือโอกาสกราบทูลลาเพื่ออุปสมบทด้วย
เมื่อทรงอนุญาตแล้วจึงพร้อมด้วยบริวารติดตามอีก 7คน เดินทางไปเฝ้ าพระบรมศาสดา เมื่อเดินทางไปถึงก็รับเข้าเฝ้ า
พระพุทธองค์ตรัสพระธรรมเทศนาให้ฟังทั้ง8 คนนั้น ก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์
แล้วกราบทูลขออุปสมบท พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้เป็นภิกษุด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปนา เมื่อได้อุปสมบท
ได้กราบทูลอาราธนาพระบรมศาสดาเสด็จสู่กรุงอุชเชนี แต่พระบรมศาสดารับสั่งให้ท่านไปเอง
๑๑
พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวเมืองก็จะเกิดศรัทธาเหมือนกัน
พระมหากัจจายนะ จึงกราบทูลลาพระบรมศาสดาพาภิกษุบริวารอีก 7 องค์นั้น เดินทางกลับสู่กรุงอุชเชนี
ประกาศหลักธรรมคาสอนในพุทธศาสนาให้พระเจ้าจัณฑปัชโชต และชาวเมืองได้สดับรับฟัง เกิดศรัทธาเลื่อมใสทาให้พระพุทธ
ศาสนาแพร่กระจายทั่วกรุงอุชเชนีแล้ว ท่านก็ได้เดินทางกลับมาเฝ้ าพระผู้มีพระภาคอีก
ท่านพระมหากัจจายนะพักอาศัยอยู่ที่ภูเขาปวัตตะแขวงเมืองกุรุรฆระในอวันตีทักขิณาปถชนบทขณะนั้น
มีอุบาสกคนหนึ่งชื่อว่าโสณกุฎิกัณณะมีศรัทธาจะอุปสมบท
แต่เนื่องจากในอวันตีชนบทนั้นมีพระภิกษุจานวนน้อย ไม่ครบเป็นคณปูรกะจานวน 10 รูป (ทสวรรค) ตามพระบรมพุทธานุ
ญาต ท่านจึงให้บรรพชาเป็นสามเณรอยู่นานถึง 3
ปีกว่าจะได้อุปสมบทและเมื่อท่านโสณกุฏิกัณณะได้อุปสมบทแล้ว ปรารถนาจะเข้าเฝ้ าพระบรมศาสดา ได้กราบลาพระมหากั
จจายนะ
พระมหากัจจายนเถระเป็นพระพุทธสาวกที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดสามารถอธิบายธรรมที่ย่อให้พิสดาร ให้ผู้ฟังเกิดศรัทธาเลื่อ
มใสได้โดยไม่ยาก ทั้งนี้เพราะส่วนหนึ่งท่านเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในปฏิสัมภิทา 4
ดังที่กล่าวมาในตอนต้นแล้วว่าพระมหากัจจายนเถระเป็นผู้มีรูปร่างสง่างามผิวเหลือง เป็นที่ต้องตาถูกใจแก่ผู้พบเห็นทั่วไ
ป บุตรเศรษฐีคนหนึ่งได้เห็นพระเถระกาลังยืนห่มจีวรเพื่อเข้าไปบิณฑบาตในเมืองแล้วเกิดความพอใจ
ในดวงจิตคิดอกุศล ด้วยอกุศลจิตคิดเพียงเท่านี้ทาให้เพศชายของเขาหายไปกลายเป็นเพศหญิงไปทั้งร่าง
แล้วพากันไปกราบขอขมาโทษต่อพระเถระเมื่อท่านทราบเรื่องโดยตลอดแล้วก็ยกโทษให้
และเพศหญิงก็หายไปเพศชายปรากฏขึ้นมาเหมือนเดิม
ครั้งหนึ่งพระผู้มีพระภาคทรงแสดงภัทเทกรัตตสูตรแต่โดยย่อแล้วเสด็จเข้าสู่พระวิหารที่ประทับ
พระภิกษุทั้งหลายไม่มีโอกาสเพื่อจะกราบทูลถามเนื้อความที่ตรัสไว้โดยย่อให้เข้าใจได้
จึงพากันเข้าไปหาพระมหากัจจายนะ กราบอาราธนาให้ท่านได้เมตตาอธิบายขยายความให้ฟัง
พระเถระได้อธิบายขยายความย่อให้ฟังอย่างพิสดาร ถ้าท่านทั้งหลายมีความต้องการจะทราบให้แน่ชัดก็จงไปกราบทูลถามพร
ะผู้มีพระภาค พระภิกษุเหล่านั้นพากันลาแล้วเข้าไปกราบทูลเนื้อความที่พระมหากัจจายนะอธิบายไว้ให้พระพุทธองค์ทรงสดับ
พระผู้มีพระภาคตรัสสรรเสริญพระเถระว่า“ภิกษุทั้งหลายพระมหากัจจายนะเป็นผู้มีปัญญา
เนื้อความนั้นถ้าพวกเธอถามตถาคตแม้ตถาคตก็จะอธิบายอย่างนั้นเช่นกัน
ขอพวกเธอจงจาเนื้อความนั้นไว้เถิด” เมื่อครั้งพระพุทธองค์ประทับอยู่ณ พระเชตะวันมหาวิหารทรงตั้งพระมหากัจจายนะ
ไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะ
เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในฝ่ ายผู้อธิบายเนื้อความย่อให้พิสดารท่านพระมหากัจจายนเถระดารงอายุสังขารโดยสมควรแก่กาลเว
ลาแล้วก็ดับขันธนิพพาน"พระมหากัจจายนเถระเอตทัคคะในทางผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร"
พระองคุลีมาลเถระ
องคุลิมาลเป็นบุตรพราหมณ์ในนครสาวัตถี บิดามีอาชีพรับราชการเป็นปุโรหิตในราชสานักพระเจ้าปเสนทิโกศล
มารดาชื่อนางมันตานีพรหมณี ท่านเกิดเวลากลางคืนเกิดประกฎการณ์มหัศจรรย์ขึ้นคือศาสตราวุธยุปโธปกรณ์ในบ้าน
และพระคลังแสงเกิดเปลวแสงสว่างแผ่รังสีบริเวณกว้างผู้เป็นพ่อได้ดูฤกษ์ยามและดูดาวบนท้องฟ้ าปรากฏว่าถึงเวลาตกฟาก
ของบุตรนั้นเป็นโจรฤกษ์ผู้เกิดในฤกษ์นี้ย่อมเป็นโจรจึงรีบเข้าเฝ้ าพระเจ้าปเสนทิโกศลกราบทูลถึงฤกษ์และปรากฎการณ์
ให้พระราชาฟังและทูลให้ท่านฆ่าบุตรของตนเพื่อไม่ให้ทาความเดือดร้อนแก่ประชาชนในอนาคต
แต่พระเจ้าปเสนทิโกศลไม่เชื่อและบอกให้ดูแลบุตรของของตนดี ท่านปุโรหิตจึงแก้เคล็ดให้ชื่ออะหิงสกหมายถึง
เด็กชายผู้ไม่เบียดเบียนใครโดยเลี้ยงไม่ให้เห็นเหตุจูงใจที่จะเป็นโจรอะหิงสกโตเป็นหนุ่มและไม่มีแววที่จะเป็นโจร
๑๒
และได้ไปเรียนมหาวิทยาลัยตักสิลานครตักศิลาได้เรียนกับอาจารย์ทิศาปาโมกข์ อะหิงสกตั้งใจเรียนและเข้าใจเนื้อหาที่เรียน
เร็วกว่าศิษย์รุ่นเดียวกันดังนั้นเวลาศิษย์คนอื่นถูกว่ากล่างตักเตือนอาจารย์มักจะยกย่องอะหิงสกเป็นตัวอย่าง
ทาให้ศิษย์คนอื่นอิจฉาทาอุบายแกล้งอะหิงสก อะหิงสกเวลาเรียนจากทฤษฎีแล้วชอบนามาปฎิบัติทดลอง
ศิษย์คนอื่นจึงฟ้ องอาจารย์ว่าอะหิงสกคิดว่าตนฉลาดและคิดจะกาจัดอาจารย์ออกไปครั้งแรกอาจารย์ไม่เชื่อ
พอศิษย์คนอื่นฟ้ องมากๆเข้าก็เชื่ออย่างสนิทใจอาจารย์เรียกอะหิงสกมาพบบอกให้อหิงสกไปฆ่าคน 1000
คนเพื่อนามาประกอบการสอนวิชาวิษณุศาสตร์ และบอกว่าถ้าม่มีนิ้วมืออาจารย์ก็ไม่อาจสอนได้
อะหิงสกไม่พอใจเหราะตนมาจากตระกูลหราหมณ์ไม่เคยฆ่าคนแต่เพราะอยากเรียนวิชานี้มากจึงออกไปฆ่าคน
อาจารย์ก็คิดว่ากว่าอะหิงสกจะฆ่าคนครบก็คงถูกฆ่าไปเสียก่อน วิชาวิษณุศาสตร์เป็นวิชาที่พูดถึงองค์ประกอบของสรรพสิ่ง
ว่าประกอบด้วยอณูทั้งหลาย
แยกแยะออกมาแล้วก็จะของสภาพสรรพสิ่งนั้นเป็นนสิ่งหนึ่งทาให้อะหิงสกอยากพิสูจน์ เขาเตรียมอาวุธที่จะฆ่าคน
ไปยังป่ารกและดักปลล้นฆ่าคนที่ผ่านมาฆ่าไปเรื่อยและไม่ได้จดบันทึกไว้และก็ลืมไม่รู้ว่าตนฆ่าคนได้เท่าใด
จึงตัดนิ้วคนที่ถูกฆ่ามาคล้องคอทาให้เป็นนที่หวาดกลัวของชาวบ้านและพวกพ่อค้าไม่มีใครกล้าเดินทางไปค้าขายชาวบ้านเรียก
อะหิงสกว่า องคุลิมาลแปลว่าผู้ที่มีนิ้วเป็นสร้อยคอองคุริมาลได้ฆ่าคนจนนับนิ้วมือที่คอได้ 999นิ้ว เหลืออีกนิ้วเดียวก็จะครบ
1000 คน พระเจ้าปเสนทิโกศลได้ระดมพลปราบองคุลิมาลปุโรหิตก็เกรงกลัวภัยแก่บุตรตนเอง
จึงปรึกษากับนางมันตาณีตกลงให้นางมันตาณีออกไปพบบุตร
บอกให้บุตรรู้ตัวและจะได้หนีเอาตัวรอด ความรักของบิดามารดาที่มีต่อบุตรนั้นช่างบริสุทธิ์นัก
ถึงลูกจะชั่วช้าสปานใดบิดามารดาก็ยังรักและห่วงไม่เสื่อมคลาย ก่อนที่มารดาจะออกไปพบกับองคุลิมาลพระพุทธเจ้าได้ตรวจ
ดูสัตว์โลกผู้ใดมีนิสัยแห่งการรู้ธรรมะบ้างก็ทรงพบองคุลิมาลมีอุปนิสัยแห่งอรหัน ถ้าพระองค์ไม่ทรงเป็นพระธุระ
องคุลิมาลก็จะมาตุฆาต(ฆ่าแม่ตนเอง)จึงเสด็จไปพบองคุลิมาลเมื่อพบองคุลิมาล
ก็ปรี่หวังจะพระองค์ไล่เท่าไรก็ไล่ไม่ทันจนเกิดความเหนื่อยล้าร้องตะโกน
ให้พระศาสดาหยุด พระองค็ตรัสว่า เราหยุดแล้ว แต่ท่านที่ยังไม่หยุด องคุลิมาลก็กล่าวว่า ท่านพูดเท็จ
ท่านยังไม่หยุดก็บอกว่าหยุด พระองค์ตรัสตอบว่า เราหยูดทาความชั่วอันเป็นผลให้เป็นทุกข์แต่ท่านที่ยังไม่หยุด
พระสุรเสียงพระศาสดาทาให้องคุลิมาลได้สตินึกโทษที่ตนทามา และเปลื้องศาสตราวุธพวงองคุรี ไว้ที่ซอกเขา
และเข้าเฝ้ าพระศาสดา ฟังพระธรรมเทศนาพอจบพระธรรมเทศนาก็ได้ดวงตาเห็นธรรมขออุปสมบทเป็นพระภิกษุด้วยวิธี
เอหิภิกขุอุปสัมปนาวัดเชตะวันวิหาร ท่านองคุลิมาลได้บิณฑบาตในนครสาวัตถี ประชาชนพบเห็นก็เกิดความหวาดกลัว
วิ่งหนีกันอลหม่านไม่มีใครถวายอาหารให้ท่านเลยแม้เต่ทัพพีเดียวพระองคุลิมาลเป็นผู้ที่ไม่ประมาท
ตั้งใจบาเพ็ญสมณธรรมเคร่งครัดแต่จิตของท่านไม่มีสมาธิเพราะเหตุการณ์ที่ท่านฆ่าคนมาปรากฏเฉพาะหน้าตลอดเวลา
พระบรมศาสดาได้สั่งสอนว่าไม่ควรระลึกถึงสิ่งที่ล่วงมาแล้วและสิ่งที่ยังมาไม่ถึงให้พิจารณากรรมที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า
ปัจจุบันพระองคุริมาลได้ปฎิบิติตามที่ทรงแนะนาไม่นานท่านก็เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสนทนากันว่า
ท่านองคุลิมาลท่านฆ่าคนมามากมายเห็นปานนั้นยังบรรลุพระอรหันต์ได้อยู่หรือพระพุทธเจ้าตรัสกับพระภิกษุเหล่านั้น ภิกษุทั้ง
หลายผ่านมาองคุลิมาลไม่ได้กัลยาณมิตรสักคนเดียวจึงได้ทาบาปขนาดนั้นภายหลังเธอได้กัลยาณมิตรเป็นปัจจัย
เป็นผู้ไม่ประมาทบาปกรรมเหล่านั้นบุตรของเราละแล้วด้วยกุศลกรรมแล้วตรัสคาถาบุคคลใดละบาปกรรมที่ตนทาไว้แล้ว
กุศลบุคคลนั้นย่อมทาให้โลกนี้สว่างเหมือนดวงจันทร์พ้นแล้วจากเมฆหมอก ท่านองคุลิมาลมีความเชี่นวชาญเรื่องน้ามนต์
ให้หญิงมีครรภ์คลอดบุตรง่าย
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา

More Related Content

Similar to ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา

ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร คน มีดี
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทย
หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทยหนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทย
หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทยTongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานTongsamut vorasan
 
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1pageสไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4pageสไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1pageสไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4pageสไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔weskaew yodmongkol
 
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 

Similar to ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา (20)

ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทย
หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทยหนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทย
หนังสือแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานงานมหารำลึก ปี 2557 ของสมัชชาสงฆ์ไทย
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
 
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1pageสไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-1page
 
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4pageสไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4page
สไลด์ ภาคใต้ ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f18-4page
 
1-tam-roi-tham.pdf
1-tam-roi-tham.pdf1-tam-roi-tham.pdf
1-tam-roi-tham.pdf
 
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1pageสไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-1page
 
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4pageสไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4page
สไลด์ ชาวพุทธตัวอย่าง ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f11-4page
 
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 
East-2554-101112
East-2554-101112East-2554-101112
East-2554-101112
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
Support gen2
Support gen2Support gen2
Support gen2
 
เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔
 
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
3 27+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปญจโม+ภาโค)
 
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา

  • 1. ๑ พุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระอัญญาโกณฑัญญะ พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระเจ้าปเสนทิโกศล นางอุตตรา พระอานนท์ พระเขมาเถรี ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย พระโมคคัลลานะ พระปฏาจาราเถรี พระเจ้าสุทโธทนะ นางวิสาขา พระสารีบุตร พระอุบลวรรณาเถรี พระเจ้าพิมพิสาร นางสิริมา พระมหากัสสปะ พระรูปนันทาเถรี พระเจ้าอชาตศัตรู นางขุชชุตตรา พระมหานามะ พระกีสาโคตมีเถรี อนาถบิณฑิกเศรษฐี นางสามาวดี พระอุบาลี พระกุณฑลเกสีเถรี หมอชีวกโกมารภัจจ์ พระเทวทัต พระธรรมทินนาเถรี กุมภโฆสกเศรษฐี พระปุณณมันตานีบุตร พระมหากัจจายน พระองคุลิมาล ภิกษุ พระอัญญาโกณฑัญญะ พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนาเป็นคนแรกที่รับรู้ ยอมรับการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าเดิม ชื่อ โกณฑัญญะคาว่าอัญญาได้เพิ่มขึ้นมาในภายหลังที่ได้ฟังธรรมกับพระพุทธเจ้าซึ่งประวัติกล่าวว่า โกณฑัญญะเป็นบุตรของท่านโทณวัตถุซึ่งเป็นพราหมณ์ ฐานะเศรษฐีอยู่ไม่ไกลจากกรุงกบิลพัสดุ์ วัยเรียนบิดาได้ส่งให้เรียนจบการศึกษาขั้นสูงคือไตรเพทได้แก่ ฤคเวทยชุรเวทสามเวท และยังมีความเชี่ยวชาญพิเศษในการทายลักษณะบุคคลดังนั้นเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ ๕วัน โกณฑัญญะเป็นพราหมณ์ที่ทานายเจ้าชายสิทธัตถะเพียงแนวเดียวว่าพระราชกุมารจะเสด็จออกผนวช และสาเร็จเป็นศาสดาเอกของโลกอย่างแน่นอนซึ่งทานายแตกต่างจากพราหมณ์คนอื่นๆ เมื่อสิทธัตถะเสด็จออกผนวชโกณฑัญญะได้ทราบข่าวจึงชวนวัปปะภัททิยะมหานามะ อัสสชิ จึงเรียกว่าปัญจวัคคีย์โดยหวังว่าถ้าเจ้าชายสิทธัตธะได้บรรลุธรรมใดจะสอนให้พวกตนบ้าง เจ้าชายสิทธัตถะกระทาทุกกรกิริยาอยู่นานทรงพิจารณาว่าไม่ถูกต้อง จึงหันมาบาเพ็ญเพียรทางจิตโดยยึดหลักมัชฌิมาเดินสายกลางปัญจวัคคีย์ก็คิดว่าสิทธัตถะหมดความเพียรแล้ว จึงชวนกันปลีกตัวออกห่างไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณแล้วปัญจวัคคีย์พอเห็นพระพุทธเจ้าเสด็จมาแต่ไกลจึงตกลงกันว่า พระสมณโคดมคลายความเพียรเสียแล้วคราวนี้จะไม่ไหว้ จะจัดที่นั่งไว้ให้ ถ้าประสงค์นั่งก็จงนั่ง แต่ถ้าไม่ประสงค์นั่งก็แล้วแต่พระองค์เมื่อเสด็จมาถึงพฤติกรรมที่เคยแสดงก็แสดงความเคารพต่อพระองค์ แต่มีกริยากระด้างกระเดื่องอยู่พระพุทธเจ้านั่งแล้วตรัสว่า“เราตรัสรู้อมตธรรม”ปัญจวัคคีย์ไม่เชื่อและค้านถึง๓ครั้ง เมื่อมาทบทวนทีหลังก็ยอมรับฟังธรรมที่พระองค์จะแสดงพระองค์ได้แสดงพระธรรมเทศนา
  • 2. ๒ คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรและทรงแนะนาให้ดาเนินทางสายกลาง(มัชฌิมาปฏิปทา)และแสดงธรรมอริยสัจ ๔ท่านโกณฑัญญะพิจารณาธรรมอย่างลึกซึ้งแล้วได้บรรลุแจ่มแจ้งมีความเชื่อมั่นในพระศาสดาอย่างมั่นคง จึงขอบวชเป็นพระภิกษุ และเป็นรูปแรกในพระพุทธศาสนาหรือเรียกว่าเป็นวันเกิดขึ้นของสังฆรัตนะ(พระรัตนตรัย) บวชโดยวิธี“เอหิภิกขุปสัมปทา”ปัญจวัคคีย์๔ท่านที่เหลือก็ได้บรรลุตามมา และอุปสมบทให้โดยวิธีเดียวกันเหมือนกับท่านโกณฑัญญะ พระพุทธเจ้าแสดงธรรมต่อโดยตรัสถึงเบญจขันธ์ซึ่งมีชื่อในพระสูตรว่า“อนัตตลักขณสูตร”เมื่อทรงแสดงเสร็จปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ พระอัญญาโกณฑัญญะได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่า เป็นผู้ยอดเยี่ยมกว่าภิกษุทั้งหลายว่าเป็นผู้มีประสบการณ์มากสามารถให้คาแนะนาแก่ภิกษุทั้งหลายในกิจการต่างๆ ท่านได้เป็นรุ่นแรกที่พระพุทธเจ้าส่งไปประกาศพระพุทธศาสนา พระอัญญาโกณฑัญญะได้ปรินิพพานณป่าฉัททันต์ก่อนพระพุทธเจ้า พระอานนท์ พระอานนท์มีฐานะเป็นพระอนุชาของพระบรมศาสดานับเรียงลาดับพระญาติพระอานนท์ออกผนวชพร้อมกับเจ้าศากยวงศ์อีก 4 องค์ คือภัททิยะ อนุรุทธะ ภัคคุ กิมพิละและเจ้าชายโกลิยวงศ์อีก 1องค์ คือ เทวทัตและราษฎรสามัญชนมีอาชีพเป็นกัลบก(ช่างตัดผม)อีก 1 คน อุบาลี รวมทั้งสิ้น7 คนทั้ง 7 คนได้เข้าไปขออุปสมบทกับพระพุทธเจ้าพระศาสดาก็ทรงอุปสมบทให้ หลังจากอุปสมบทแล้ว พระอานนท์ได้รับฟังคาสั่งสอนจากพระปุณณมันตานีบุตรได้บรรลุเป็นพระโสดาบันและต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป้ นผู้รับใช้ใกล้ ชิดพระบรมศาสดาซึ่งเรียกว่า พุทธอุปัฏฐากการเข้าไปเป็นพุทธอุปัฏฐากก็มิใช่ว่าเกิดจากการแสวงหาของท่านเอง แต่เป็นเพราะมติสงฆ์ที่เห็นพ้องต้องกันและมติคณะสงฆ์ถือเป็นอาณัติที่สาคัญใครจะปฏิเสธหรือละเมิดมิได้ พระอานนท์จึงจาต้องรับแต่ก่อนจะเข้าไปปฏิบัติหน้าที่อันสาคัญนี้ท่านได้ทูลขอพร 8ประการจากพระบรมศาสดา ดังนี้ 1. โปรดอย่าประทานจีวรอันประณีต(ทาจากผ้าเนื้อดี)แก่ข้าพระองค์ 2. โปรดอย่าปรัทานบิณฑบาตอันประณีต(อาหารอย่างดี)แก่ข้าพระองค์ 3. โปรดอย่าให้ข้าพระองค์อยุ่ในที่ประทับของพระองค์ 4. โปรดอย่าพาข้าพระองค์ไปที่นิมมต์ 5. ขอพระองค์จงเสด็จไปสู่ที่นิมนต์ที่ข้าพระองค์ได้รับไว้ 6. ขอได้ดปรดอนุญาตให้ข้าพระองค์พาพุทธบริษัทซึ่งเดินทางมาเข้าเฝ้ าจากที่ห่างไกลในขระที่เดินทางมาถึง 7. ถ้าข้าพระองค์มีความสงสัยเกิดขึ้นเมื่อใดขอได้ดปรดให้ข้าพระองคืทูลถามได้เมื่อนั้น
  • 3. ๓ 8. ถ้าพระองค์ทรงแสดงธรรมเรื่องใดแก่ใครในที่ลับหลังของข้าพระองค์ขอพระองค์ได้โปรดแสดงธรรมนั้นแก่ข้าพระองค์ด้วย พระบรมศาสดาตรัสถามว่า“อานนท์เธอมีเหตุผลอะไรหรือจึงขอพรเช่นนั้น”พระอานนท์กราบทูลว่า “ถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับพร4ข้อแรกก็อาจถูกครหานินทาได้ว่าพระออนนท์ยอมรับเป้ นอุปัฏฐากก็เพื่อหวังได้รับของอันประณีต มิใช่ต้องการจะเสียสละประโยชน์ตนแต่ประการใดส่วนอีก 3ข้อ ถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับคนก็อาจพูดกันอีกว่ารับใช้พระพุทธเจ้าอย่างไรเรื่องเล็กๆน้อยๆแค่นี้ก็อนุเคราะห์ไม่ได้ และ โดยเฉพาะข้อที่8ถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับพอข้าพระองค์ถูกถามว่าธรรมข้อนี้พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ใครที่ไหน มีสารสาคัญอย่างไรหากข้าพระองค์ตอบไม่ได้ ก็จะถูกครหาอีกว่าอยู่ใกล้ชิดพระบรมศาสดาเสียเปล่า พระพุทธองค์แสดงธรรมว่าอย่างไรก็ไม่รู้เรื่อง” เมื่อพระพุทธเจ้าทรงทราบเหตุผลแล้วก็ทรงประทานพรให้ตามที่ขอพระอานนท์ก็ปฏิบัติหน้าที่รับใช้ด้วยความเอื้อเฟื้อ จงรักภักดียอมเสียสละได้แม้กระทั่งชีวิตเพื่อป้ องกันพระพุทธเจ้า เห็นได้จากเหตุการณ์ที่พระเทวทัตยุยงเสี้ยมสอนให้พระเจ้าอชาตศัตรู ปล่อย ช้างนาฬาคีรี หวังปลงพระชนม์พระพุทธเจ้า นาทีวิกฤตเช่นนั้นพระอานนท์ออกมายืนขวางหน้าช้างนาฬาคีรีเพื่อมิให้ทาร้ายพระพุทธองค์ พระอานนท์มีคุณสมบัติเฉพาะตัวคือเป็นผู้มีความขยันอดทนมีความจาเป็นเลิศ สามารถจดจาพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าแสดงในสถานที่ต่างๆได้ทั้งหมดจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นเลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย 5 สถานคือ 1. เป็นพหุสูต คือเป็นผู้ได้ฟังได้ศึกษามาก 2. มีสติ คือเป้ นอยู่ดดยไม่ประมาท 3. มีธิติ คือ มีปัญญาเฉียบแหลม 4. เป้ นผู้มีความเพียรอย่างสม่าเสมอ 5.เป็นพุทธอุปัฏฐากการได้รับการยกย่องว่าเป็นเลิศทางพหุสูตนี้ ในการทาสังคายนาครั้งแรกคณะสงฆ์อันมีพระมหากัสสปเถระเป็นประธาน พระมหากัสปะเตือนให้พระอานนท์เร่งทาความเพียรให้หนักยิ่งขึ้นเพื่อจะได้สาเร็จพระอรหันตืทันวันทาสังคายนา พระอานนท์ก็ได้กะทาตามคาแนะนาแต่ก็ไม่สาเร้จสักทีจนกระทั่งก่อนวันทาสังคายนาพระอานนท์ก็เอนตัวลง เพื่อจะพักผ่อนในช่วงนี้เองท่านเองก็ได้สาเร็จพระอรหันต์อิริยาบทที่ท่านสาเร็จนั้นเรียกว่าอยู่ในระหว่างอิริยาบททั้ง 4 วันรุ่งขึ้นท่านพระอานนท์ฏ้เข้าปฏิบัติหน้าที่วิสัชนาพระสูตรในการทาสังคายนาในฐานะขีณาสพ(พระอรหันต์)องค์หนึ่ง งานครั้งนั้นใช้เวลาทาอยู่7เดือนจึงสาเร็จถือเป็นงานชิ้นสาคัญ และมีคุณค่าต่อพระศาสนา พอเวลาผ่านไปสังขารของท่านก็ร่วงโรยท่านพิจารณาว่าควรจะปรินิพพานได้แล้ว ท่านจึงไปยังแม่น้าโรหิณี ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างศากยวงศ์กับโกลิยวงศ์แล้วตั้งจิตอธิฐานว่า เมื่ออาตมาปรินิพพานขอให้ร่างนี้จงลอยขึ้นไปในอากาศแล้วแตกออกเป็น2ภาค ภาคหนึ่งให้ปลิวไปตกทางฝั่งโกลิยะ อีกภาคให้ปลิงไปทางฝั่งศากยะเพื่อมิให้พระญาติทั้ง2ฝ่ ายต้องทะเลาะวิวาทกันเกี่ยวกับอัฐิของอาตมา ครั้นอธิฐานเสร็จแล้วร่างกายของท่านก็ลอยขึ้นไปในอากาศนิพพานกลางอากาศสรีระร่างกายของท่านก็แตกออกเป็น2ภาค ตามที่อธิฐานไว้ทุกประการ พระโมคคัลลานะ พระโมคคัลลานะเป็นบุตรพราหมณ์ผู้เป็นนายบ้าน ชื่อว่า โมคคัลลานะมารดาชื่อว่านางโมคคัลลีเดิมท่านชื่อว่าโกลิตะท่านเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา ท่านเป็นสหายของพระสารีบุตรจนเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาท่านได้อุปสมบทในพระธรรมวินัยได้ 7วัน
  • 4. ๔ ไปทาความเพียรอยู่ที่บ้านกัลลวาลมุตตคามแขวงมคธอ่อนใจนั่งโงกง่วงอยู่พระบรมศาสดาเสด็จไปที่นั้น ทรงสั่งสอนและแสดงอุบายสาหรับระงับความง่วงมีประการต่างๆดังต่อไปนี้ 1. โมคคัลลานะเมื่อท่านมีสัญญาอย่างไรความง่วงนั้นย่อมครอบงาได้ ท่านควรทาในใจถึงสัญญานั้นให้มากฯ 2. ท่านควรตรึกตรองพิจารณาถึงธรรมตามที่ได้ฟังแล้วและได้เรียนแล้วด้วยใจของท่านเอง 3. ท่านควรสาธยายธรรมตามที่ตัวได้ฟังแล้วและได้เรียนแล้วโดยพิสดารฯ 4. ท่านควรยอนหูทั้งสองข้างและลูบด้วยฝ่ามือฯ 5. ท่านควรลุกขึ้นยืนลูบนัยน์ตาด้วยน้าเหลียวดูทิศทั้งหลายแหงนดูดาวนักขัตรฤกษ์ฯ 6. ท่านควรทาในใจถึงอาโลกสัญญาคือความสาคัญในแสงสว่างตั้งความสาคัญว่ากลางวันไว้ในใจ ให้เหมือนกันทั้งกลางวันและกลางคืนมีใจเปิดเผยฉะนี้ไม่มีอะไรหุ้มห่อทาจิตอันมีแสงสว่างให้เกิดฯ 7. ท่านควรอธิษฐานจงกรมกาหนดหมายว่าจักเดินกลับไปกลับมาสารวมอินทรีย์มีจิตไม่คิดไปภายนอกฯ 8. ท่านควรสาเร็จสีหไสยาสน์คือนอนตะแคงข้างเบื้องขวาซ้อนเท้าเหลื่อมกันมีสติสัมปชัญญะ ทาความหมายในอันที่จะลุกขึ้นไว้ในใจพอท่านตื่นแล้วควรรีบลุกขึ้น พระโมคคัลลานะปฏิบัติตามโอวาทที่พระบรมศาสดาตรัสสั่งสอนก็ได้สาเร็จเป็นพระอรหันต์ในวันนั้นฯ ครั้นพระโมคคัลลานะได้สาเร็จพระอรหันต์แล้วท่านเป็นผู้มีฤทธานุภาพมากได้รับยกย่องจากสมเด็จพระบรมศาสดาว่า เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในทางเป็นผู้มีฤทธิ์ และทรงยกย่องว่าเป็นคู่กับพระสารีบุตรจึงมีคายกย่องพระสารีบุตรเป็นอัครสาวกฝ่ ายขวาพระโมคคัลลานะเป็นอัครสาวกฝ่ า ยซ้ายนอกจากนั้นท่านพระโมคคัลลานะนั้นยังเข้าใจในการนวกรรมด้วย(นวกรรม–การก่อสร้าง)เพราะเมื่อนางวิสาขา มหาอุบาสิกาสร้างบุพพารามในกรุงสาวัตถีพระบรมศาสดารับสั่งให้ท่านเป็นนวกัมมาธิฏฐายีคือผู้ควบคุมการก่อสร้างฯ นิพพานตานานกล่าวว่าเมื่อโจรมาพระโมคคัลลานะก็ทราบเหตุนั้นจึงหนีไปเสียสองครั้งครั้งที่สามท่านพิจารณาเห็นว่า กรรมตามทันจึงไม่หนีพวกโจรผู้ร้ายทุบตีจนร่างกายท่านแหลกก็สาคัญว่าตายแล้ว จึงนาร่างกายของท่านไปซ่อนไว้ในพุ่มไม้แห่งหนึ่งแล้วพากันหนีไปท่านพระโมคคัลลานะยังไม่มรณะ เยียวยาอัตภาพให้หายด้วยกาลังญาณแล้วเข้าไปเฝ้ าสมเด็จพระบรมศาสดาทูลลากลับมาปรินิพพานณที่เดิมในวันดับเดือน 12 ภายหลังพระสารีบุตรปักษ์หนึ่ง(15วัน)พระศาสดาได้เสด็จไปทาฌาปนกิจแล้วรับสั่งให้นาอัฐิธาตุมาก่อพระเจดีย์บรรจุไว้ ณ ที่ใกล้ประตูแห่งเวฬุวนารามฯ พระสารีบุตร พระสารีบุตรถือกาเนิดในครรภ์ของนางสารีพราหมณีในบ้านอุปติสสคามณหมู่บ้านนาลกะ(นาลันทะ)ไม่ไกลกรุงราชคฤห์ เดิมชื่อ อุปติสสะบิดาคือวังคันตพราหมณ์ มารดาคือสารีพรามหณี มีน้องชาย 3คนชื่อ อุปเสนะ (เอตทัคคมหาสาวกผู้นาความเลื่อมใสมาโดยรอบ), จุนทะ (พระมหาสาวกจุนทะแต่พระส่วนใหญ่ชอบเรียกท่านว่าสามเณรจุนทะจนติดปาก), เรวตะ(เอตทัคคมหาสาวกเลิศทางผู้อยู่ป่าเป็นวัตร), มีน้องสาว3 คน นามว่าจาลา,อุปจาลา และสีสุปจาลาซึ่งต่อมาได้บวชเป็นภิกษุณีและสามารถบรรลุธรรมขั้นสูง เป็นพระอรหันต์ทั้งหมดแม้สหายของท่านคือพระโมคคัลลานะก็ถือกาเนิดในครรภ์ของโมคคัลลีพราหมณีในวันเดียวกัน บ้านโกลิตคามอันไม่ไกลกรุงราชคฤห์ วัยหนุ่มตอนเป็นคฤหัสถ์ ในกรุงราชคฤห์มีงานมหรสพประจาปี บนยอดเขาซึ่งมาณพทั้งสองก็นั่งรวมกันดูมหรสพเป็นประจา
  • 5. ๕ จนกระทั่งถึงวันหนึ่งท่านทั้งสองเริ่มมีความเบื่อหน่ายในงานมหรสพด้วยต่างคิดว่าไม่มีประโยชน์อะไรที่ควรดูในมหรสพเหล่านี้ เพราะคนทั้งหมดต่างก็จะล้มหายตายจากกันไป เราควรแสวงธรรมซึ่งเป็นเครื่องหลุดพ้น ขณะนั้นโกลิตะเห็นเพื่ออุปติสสะใจลอยจึงกล่าวถามอุปติสสะจึงบอกความในใจ ที่เบื่อหน่ายต่อมหรสพและความต้องการแสวงหาธรรมอันเป็นเครื่องหลุดพ้นแล้วจึงถามกลับบ้างซึ่งโกลิตะ ก็ตอบโดยมีเนื้อความเช่นเดียวกันเมื่อต่างคนต่างทราบความในใจแล้ว จึงชวนกันไปบวชในสานักของสัญชัยปริพาชกพร้อมกับมาณพอีก500คน เมื่อบวชแล้วท่านทั้งสองได้เรียนจบลัทธิของสัญชัยปริพาชกทั้งหมดโดยใช้เวลาเพียง 2-3วันเท่านั้น เมื่อหมดความรู้ที่จะศึกษาแล้วและยังไม่เห็นถึงธรรมท่านจึงอาลาและแสวงหาอาจารย์ท่านอื่นๆต่อไป ซึ่งท่านทั้งสองได้ตกลงกันว่าหากใครบรรลุอมตะก่อนผู้นั้นจงบอกแก่กัน สมัยนั้น พระอัสสชิเถระหนึ่งในภิกษุปัญจวัคคีย์ได้ถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงราชคฤห์แต่เช้าตรู่ อุปติสสปริพาชกทาภัตกิจแต่เช้ามืดแล้วเดินไปอารามปริพาชกได้เห็นพระเถระจึงตั้งใจเข้าไปสอบถามคาถามต่างๆ แต่เนื่องจากพระเถระกาลังบิณฑบาตอยู่จึงติดตามไปเรื่อยๆจนกระทั่งถึงสถานที่แห่งหนึ่งจึงเข้าไปอุปัฏฐากพระเถระ เมื่อเสร็จจากภัตกิจแล้วจึงได้สนทนาธรรมกันโดยการสนทนาธรรมในครั้งนี้ทาให้ท่านได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบัน เมื่อสอบถามถึงสถานที่ประทับของพระพุทธเจ้าแล้วท่านจึงกลับไปตามโกลิตปริพาชก เมื่อท่านได้กล่าวคาถาที่พระเถระได้มอบให้ไว้ โกลิตปริพาชกก็บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบันเช่นเดียวกันท่านทั้งสองจึงนับถือ พระอัสสชิเป็นอาจารย์และไปเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าที่พระเวฬุวันแต่ก่อนไปท่านทั้งสองได้ไปชักชวนอาจารย์เก่า คือสัญชัยปริพาชกแต่อาจารย์ท่านปฏิเสธแต่มีอันเตวาสิก 250คนได้ติดตามไปด้วย เมื่อพระศาสดากาลังทรงแสดงธรรมอยู่ท่ามกลางบริษัท๔เห็นชนเหล่านั้นแต่ไกลจึงตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ๒คนนั้น คือโกลิตะและอุปติสสะกาลังเดินมาทั้งสองนี้แหละจักเป็นคู่สาวกที่เลิศที่เจริญครั้นแล้วทรงขยายพระธรรมเทศนา เนื่องด้วยจริยาแห่งบริษัทของ2สหายนั้นในครั้งนั้นบรรดาผู้ติดตามทั้งหมดต่างได้บรรลุอรหันต์ผล ยกเว้นพระอัครสาวกทั้งสองเมื่อนั้นพระศาสดาจึงประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาให้ การบรรลุธรรม หลังจากพระสารีบุตรเถระบวชได้ครึ่งเดือนก็เข้าไปอาศัยอยู่ในถ้าสุกรขาตากับพระศาสดากรุงราชคฤห์ ขณะที่พระสารีบุตรถวายงานพัดอยู่นั้นเมื่อพระศาสดาทรงแสดงเวทนาปริคหสูตรแก่ทีฆนขปริพาชก ผู้เป็นหลานของพระสารีบุตรท่านได้ส่งญาณไปตามกระแสพระสูตรก็ได้บรรลุถึงที่สุดสาวกบารมีญาณสาเร็จเป็นพระอรหันต์ ในวันขึ้น 15 เดือน 3 เวลาบ่ายในเวลาต่อมาพระศาสดาจึงทรงสถาปนาพระมหาสาวกทั้งสองไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะว่า สารีบุตรเป็นยอดของภิกษุสาวกของเราผู้มีปัญญามากมหาโมคคัลลานะเป็นยอดของภิกษุสาวกของเราผู้มีฤทธิ์มากแม้ว่าพระ สารีบุตรและพระโมคคัลลานะจะเกิดพร้อมกันแต่ด้วยพระสารีบุตรสาเร็จเป็นพระโสดาบันก่อน พระผู้มีพระภาคจึงถือให้พระสารีบุตรเป็นผู้พี่ของพระโมคคัลลานะ นิพพาน เมื่อพระสารีบุตรอาพาธท่านจึงทูลลาพระพุทธเจ้ากลับไปนิพพานยังบ้านเกิด ก่อนนิพพานท่านได้ทาให้โยมมารดาเปลี่ยนใจหันมายอมรับนับถือพระพุทธศาสนา โดยแสดงธรรมแก่มารดาจนบรรลุธรรมขั้นโสดาบัน หลังจากท่านนิพพานแล้วพระจุนทะจึงนาพระธาตุของพระสารีบุตรไปถวายพระพุทธเจ้า พระสารีบุตรนิพพานก่อนพระพุทธเจ้าประมาณ 6เดือนคือ วันเพ็ญเดือน 12 เวลาใกล้รุ่งที่บ้านตนเองพระพุทธเจ้ายกย่อง พระสารีบุตรเอตทัคคอัครมหาสาวกผู้เลิศทางปัญญา.
  • 6. ๖ พระมหากัสสปะ หมู่บ้านมหาติฏฐะ แคว้นมคธมีพราหมณ์คนหนึ่งชื่อ“กปิละ”แห่งตระกูล “กัสสปะ”เป็นผู้มั่งคั่งร่ารวยในขั้นเศรษฐี มีลูกชายเป็นลูกโทนชื่อว่า“ปิปผลิ”เมื่อปิปผลิอายุได้ 20ปี บิดามารดาปรึกษากันที่จะหาหญิงสาวที่เหมาะสมมาแต่งงาน กับปิปผลิลูกชายของตนครั้นความเห็นตรงกันแล้วจึงได้เรียกคนรับใช้ที่ไว้เนื้อเชื่อใจมาพบและให้คนใช้นั้นทาตามจุดประสงค์ ให้เดินทางไปยังเมืองต่างๆแสวงหากุลสตรีที่มีความงามเหมาะสมกับลูกชายของตน บุรุษที่ได้รับมอบหมายได้เดินทางไปถึงเมือง“สาคลนคร”ก็ได้พบพราหมณ์คนหนึ่งวัย16ปี นางมีนามว่า“ภัททกาปิลานี”เป็นกุลสตรีที่พร้อมด้วยรูปสมบัติคือหน้าตาสวยงามและเรียบร้อยอีกทั้งสกุลสูง เหมะสมที่จะเป็นคู่ครองของปิปผลิจึงเข้าไปเจรจาสู่ขอกับบิดามารดาของเธอแล้วส่งข่าวไปบอกให้กปิลพราหมณ์ทราบ ฝ่ ายปิปผลิเมื่อรู้ว่าบิดามารดาจะให้แต่งงานกลับกลุ้มใจเพราะไม่ประสงค์ที่จะแต่งงาน จึงเขียนจดหมายให้คนรับใช้ไปส่งให้ว่าที่เจ้าสาวว่า “น้องสาวพี่ขอให้น้องจงแต่งงานกับชายอื่นเถิด อยู่ครองคู่ให้มีความสุขตัวพี่จะออกบวช”ฝ่ ายภัททกาปิลานเมื่อรู้ว่าบิดามารดาจะให้แต่งงานก็รู้สึกเสียใจ เพราะยังไม่ประสงค์จะแต่งงานเช่นกัน จึงเขียนจดหมายให้คนใช้นาไปให้ปิปผลิกุมารมีใจความว่า “ขอให้พี่เลือกหญิงอื่นเป็นคู่ครองเถิดน้องจะขอออกบวชบาเพ็ญพรต” พอคนใช้ทั้งสองเดินฝ่ ายทางมาเจอกันกลางป่าก็ได้แอบเปิดจดหมายอ่านและฉีกทิ้ง ในที่สุด นางภัททกาปิลานีได้เข้ามาอยู่ร่วมชายคากับปิปผลิทั้งคู่สักแต่ว่าอยู่ด้วยกันเท่านั้นแต่มิได้รักใคร่กัน จึงเป็นเหตุให้ไม่มีบุตร ต่อมาบิดาปิปพลิถึงแก่กรรมทรัพย์สมบัติพร้อมทั้งข้าทาสบริวารทั้งหมดตกเป็นของเขาสามีภรรยาคู่นี้หาได้ชื่นชมสมบัตินั้นไม่ กลับเห็นว่าผู้อยู่ครองเรือนนั้นเป็นบาปเกิดความเบื่อหน่ายจึงพร้อมใจกันออกบวชปิปผลิเดินหน้า ภัททกาปิลานีเดินตามหลัง พอถึง 2 ทางแพร่งแห่งหนึ่งจึงแยกกันปิปผลิไปทางขวาภัททกาปิลานีไปทางซ้าย ได้พบกับสานักของนางภิกษุณีแล้วเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์ขออุปสมบทเป็นภิกษุณี และสาเร็จอรหันต์ในโอกาสต่อมา ปิปผลิเดินทางถึงป่าใหญ่ก็ได้พบกับพระพุทธเจ้าซึ่งประทับอยู่ใต้ต้นไทรต้นหนึ่งเกิดความศรัทธาเลื่อมใส จึงเข้าไปหาและประกาศตัวเป็นสาวกขออุปสมบทพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้เป็นภิกษุ เมื่อบวชแล้วเพื่อนภิกษุไม่เรียกท่านว่า ปิปผลิแต่เรียกท่านแทนว่า“กัสสปะ” ประกอบกับท่านเป็นผู้ใหญ่มีอายุมากจึงมีคานาหน้าว่า “มหา”เป็น“มหากัสสปะ” ท่านได้บาเพ็ญเพียรด้วยการปฏิบัติตามพุทธโอวาทที่ทรงสั่งสอนนับจากวันที่ท่านอุปสมบทได้ 8วันก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ พระบรมศาสดาจึงยกย่องท่านว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุใดในด้านถือธุดงค์ พระมหากัสสปะถึงจะมาจากตระกูลที่ร่ารวยมหาศาลแต่พอเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาแล้วท่านก็ปฏิบัติตนเป็นคนมักน้อย ไม่ใช้ของฟุ่ มเฟือย เพราะท่านเป็นผู้มักน้อยและชอบอยู่ป่าเป็นนิตย์ก่อนนิพพานพระองค์เคยตรัสสอนไว้ว่า “พระธรรมวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติแล้วจะเป็นศาสดาของพวกเธอในอนาคต”ดังนั้นจาเป็นต้องรักษาคาสอนไว้ให้ดี อย่าให้ใครมาดัดแปลงหรือลบล้างคาสอนเหล่านั้น จึงจัดให้มีการสังคายนาขึ้นเป็นครั้งแรกเรียกว่าปฐมสังคายนามหากัสสปะเป็นประธานฝ่ ายสงฆ์ มี พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นเอกอัครศาสนูปถัมภ์มีพระภิกษุสงฆ์อรหันต์มาร่วมงานสังคายนาครั้งนี้จานวน 500องค์ กระทาอยู่7 เดือนจึงสาเร็จพระมหากัสสปะมีอายุยืนถึง120ปี จึงนิพพานณ กุกกุฏสัมปาตบรรพตและอยู่ระหว่างภูเขา3ลูก พระมหานามะ ในพุทธานุพุทธประวัติมีพุทธบริษัทชื่อมหานามะอยู่2 คน คนหนึ่งเป็นเจ้าชายแห่งศากยวงศ์ได้หญิงรับใช้เป็นภรรยา มีบุตรีคนหนึ่งซึ่งนางได้แต่งงานกับพระเจ้าปเสนทิโกศลและมีพระโอรสด้วยกันชื่อว่า วิฑูฑภะต่อมาถูกพวกศากยวงศ์ดูถูกว่า
  • 7. ๗ มีเชื้อสายของคนใช้ ด้วยอารมณ์โกรธจึงฆ่าพวกศากยวงศ์ล้างเผ่าพันธุ์และทารัฐประหารพระเจ้าปเสนทิโกศลแล้วขึ้นครองราช บันลังก์สืบต่อมามหานามะอีกคนมีบิดาซึ่งเป็นหนึ่งในพราหมณ์ทั้ง 8คนที่เป็นผู้ทานายว่าพระพุทธเจ้าเป็นผู้มีลักษณะ ถูกต้องตามโหราศาสตร์ทาให้ตนเกิดความนับถือ เมื่อพระพุทธเจ้าออกบวชและบาเพ็ญทุกกรกริยา มหานามะพร้อมด้วยพรา หมณ์อีก 4 คน โดยมีโกณฑัญญะเป็นหัวหน้าได้ออกติดตามรับใช้พระพุทธเจ้าเพราะหวังว่าเมื่อพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้คงจะสอนธรรมแก่พวกต นบ้าง ภายหลังพระพุทธเจ้าทรงเลิกบาเพ็ญทุกกรกริยาและหันมาบาเพ็ญเพียรทางจิตแทน พราหมณ์ทั้ง๕คน คิดว่าพระพุทธเจ้าล้มเลิกความตั้งใจแล้วจึงเกิดความเหนื่อยหน่ายที่จะรับใช้พระพุทธเจ้าต่อจึงพากันแยกย้ายไปอยู่ที่ป่าอิสิปต นมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณาสี การที่พราหมณ์ทั้งหมดหนีไปนั้นกลับเป็นประโยชน์แก่พระพุทธเจ้าทาให้จิตเกิดสมาธิได้ง่ าย เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วก็ทรงแสดงธรรมแก่พราหมณ์ทั้งห้าเริ่มจากโกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ ท่านอัสสชิ และมหานามะตามลาดับ จนทั้งห้าได้ดวงตาเห็นธรรมและได้อุปสมบทเป็นภิกษุ ต่อมาพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมพระเทศนา เพื่อให้พระสาวกทั้งห้าหลุดพ้นจากกิเลส อาสวะทั้งปวง ทรงแสดงขันธ์5 ที่มีใจความดังนี้ รูป คือ ร่างกายที่สามารถมองเห็นสัมผัสได้ เวทนา คือ ความรู้สึกรู้ทุกข์หรือไม่สุขไม่ทุกข์ สัญญา คือ ความจาได้หมายรู้ สังขาร คือ สภาพที่ปรุงแต่งจิตให้เกิดความรู้สึกดีบ้างชั่วบ้าง วิญญาณ คือ จิตที่รับรู้สิ่งต่างๆ ขันธ์ทั้ง 5 นี้เป็น อนัตตา ไม่ใช่ตัวตน ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์พิจารณาแยกกายใจออกเป็นขันธ์5 ตามแนวทางวิปัสสนา แล้วทรงถามถึงขันธ์5ว่าเที่ยงหรือไม่เที่ยงและทุกข์หรือสุข ภิกษุทั้งห้าต่างพร้อมใจกันตอบว่าไม่เที่ยงและทุกข์ จึงทรงแสดงธรรมต่อว่าในเมื่อขันธ์5 เป็นสิ่งไม่เที่ยงแล้วไม่ควรยึดมั่นว่าเป็นของเรา ระหว่างที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมนั้นภิกษุทั้งห้าก็ได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหั นต์ พระมหานามะนั้นได้ไปอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันพรรษาหนึ่งจนมีพระสงฆ์เพิ่มขึ้นอีก60องค์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงส่งพระสงฆ์ทั้งหมดไปเผยแผ่ศาสนารวมถึงตัวพระมหานามะเองด้วย ท่านดารงชีวิตอยู่พอสมควรก่อน จะนิพพาน พระอุบาลี พระอุบาลีเป็นบุตรของช่างกัลบกในกรุงกบิลพัสดุ์มีการศึกษาไม่สูงเด่นนักเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มบิดาดานาเขาไปถวาย ให้เป็นนายภูษามาลาในพระราชสานักของศากยราชจึงมีโอกาสได้สนิทสนมคุ้นเคยกับเจ้าชายแห่งราชวงศ์ศากยะ แทบทุกพระองค์ดังนั้นเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่อนุปิยอัมพวัน ซึ่งอยู่ในแคว้นมัลละเจ้าชายแห่งศากยวงศ์5พระองค์คือ ภัททิยะ อนุรุทธะ อานนท์ ภัคคุ และกิมพิละกับเจ้าชายแห่งโลกิยวงศ์อีกพระองค์หนึ่งคือพระเทวทัตตัดสินใจออกผนวช อุบาลี ก็เลยขอติดตามออกบวชด้วยโดยเดินทางออกจากแคว้นสักกะด้วยขบวนจตุรงคเสนา ประหนึ่งเสด็จไปประพาสพระราชอุทยานพอถึงชายแดนระหว่างแคว้นสักกะกับแคว้นมัลละได้ส่งให้กองดุริยางค์เหล่านั้นกลับ แล้วค่อยเดินทางสู่ดินแดนของแคว้นอื่นอย่างสงบให้เกียรติแก่ กษัตริย์แห่งแคว้นนั้นเจ้าชายทั้ง 5พระองค์ ทรงเปลื้องอาภรณ์ของตนออกห่อให้เรียบร้อยแล้วมอบแก่ อุบาลี พร้อมทั้งกล่าวว่า “นี่นะอุบาลีขอให้เธอกลับบ้านไปเถอะ ทรัพย์สินเหล่านี้คงจะพอเลี้ยงชีวิตของเธอได้อย่างสบาย”ฝ่ ายอุบาลีพอได้ยินเช่นนั้นก็เสียใจ
  • 8. ๘ ร้องไห้กราบพระบาทของเจ้าชายทั้ง5ขอออกบวชด้วยตอนแรกเจ้าชายทั้ง5ไม่ยอม นายอุบาลีไม่อาจจะขัดขืนคาสั่งได้ จึงลุกขึ้นเอาห่อของนั้นเดินทางกลับพอคนทั้ง7 เกิดแยกเป็น2 กลุ่ม ปรากฏการณ์อันประหลาดก็เกิดขึ้นพายุพัดต้นไม้โอนไปเอนมาเสียงดังเหมือนป่ากาลังคาครวญร้องไห้เหมือนแผ่นดินสะเทือน บ่งบอกว่าแม้ธรรมชาติก็เสียใจเมื่ออุบาลี เดินทางกลับไปได้หน่อยหนึ่งก็ฉุกคิดว่า “ถ้าประชาชนชาวแคว้นสักกะเห็นเรานาสิ่งของอันมีค่าของเจ้าชายทั้ง5องค์นี้กลับมาอาจคิดและสงสัยว่าเจ้าชายทั้ง5คงถูก อุบาลี ปลงพระชนม์เสียแล้วจึงปลดเปลื้องเอาแต่ของมีค่ามาเป็นของคนดังนี้แล้วเราจะตอบเขาว่าอย่างไร ก็ในเมื่อเจ้าชายเหล่านี้ทรงสละสมบัติอันล้าค่าเหล่านี้เหมือนเสลดน้าลายแล้วเรายังจะรับเอาไว้ อยู่หรือ”ครั้งคิดได้ดังนั้นแล้ว จึงแก้ห่อของนั้นออก เอาเครื่องทรงเหล่านั้นแขวนไว้บนต้นไม้ พร้อมทั้งเขียนบอกไว้ว่า “เมื่อใครมาพบอยากได้ก็จงเอาไปเถิด” แล้วเดินทางย้อนกลับไปหาเจ้าชายเหล่านั้นอีกเมื่อถูกถามว่าทาไมเจ้าจึงกลับมา ก็กราบทูลความคิดที่ทาให้ตัดสินใจกลับพร้อมทั้งพฤติกรรมที่ได้กระทานั้นให้ทรงทราบอย่างละเอียด ครั้นแล้วทั้ง7คน ก็เดินทางร่วมกันต่อไปพอถึงสานักของพระบรมศาสดาพากันถวายบังคมพระบรมศาสดาแล้วกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์ทั้งหลายประสงค์จะอุปสมบท แต่ชื่อว่าเป็นเชื้อพระวงศ์แห่งศากยราชมีความถือตัวของข้าพระองค์จักลดลงไปด้วยอาการอย่างนี้” อุบาลีจึงได้บวขเป็นคนแรกเมื่อพระอุบาลีบวชแล้วพระบรมศาสดาทรงสั่งสอนพระกัมมัฏฐาน ให้เห็นแนวในการปฏิบัติสมณธรรมท่านตั้งตนอยู่ในความไม่ประมาทตั้งใจบาเพ็ญเพียรไม่นานนักก็สาเร็จเป็นพระอรหันต์ และได้ศึกษาทรงจาพระวินัยปิฎกได้อย่างแม่นยาเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านพระวินัยจนหาใครเทียบได้ ในสมัยที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่พระองค์ทรงมอบหมายให้ท่านวินิจฉัยอธิกรณ์ 3เรื่องคือ 1. ภารตัจฉกวัตถุ 2. อัชชุกวัตถุ 3. กุมารกัสสปวัตถุ พระอุบาลีก็วินิจฉัยได้อย่างถูกต้องเป็นที่ยอมรับของพระภิกษุสงฆ์ทั้งมวล พระพุทธเจ้าจึงทรงยกย่องว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในการทรงจาพระวินัยภายหลังเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วพระม หากัสสปเถระกระทาปฐมสังคายนาจึงมอบหมายให้พระอุบาลีเถระเป็นผู้วิสัชนาในพระวินัยปิฎกทั้งหมด คือพระมหากัสสปเถระในฐานะประธานในการทาสังคายนาจะเป็นผู้ถามไปทีละข้อๆเริ่มแต่บทบัญญัติที่มีโทษหนักที่สุก คือ ปาราชิกเป็นต้นพระอุบาลีเถระตอบได้อย่างถูกต้องและเพื่อป้ องกันความผิดพลาดจึงให้พระสงฆ์นามาสวดให้กันฟังทุก 15 วันซึ่งเราเรียกว่า“สวดปาฏิโมกข์”ตราบเท่าทุกวันนี้ ท่านอุบาลีเถระถือได้ว่าเป็นพระเถระที่ทาคุณประโยชน์ให้แก่พระศาสนาอย่างมากองค์หนึ่ง ท่านดารงสังขารอยู่ตามสมควรแก่กาลแล้วก็ดับขันธ์นิพพาน พระเทวทัต พระเทวทัตเป็นเจ้าชายแห่งโกลิยวงศ์ได้ออกบวชพร้อมกับเจ้าชายศากวงศ์อีก 5พระองค์คือภัททิยะ อนุรุทธะ อานนท์ ภัคคุ กิมพิละและสามัญชนอีกคนหนึ่งคืออุบาลี ในจานวนที่บวชพร้อมกันนี้ท่านภัททิยะได้สาเร็จเป็นพระอรหันต์ในพรรษานั้นเองและตามด้วยคนอื่นๆ ส่วนพระเทวทัตได้สาเร็จแค่โลกิยญาณ (คือฤทธิ์ระดับปุถุชนย่อมเสื่อมได้) ต่อมาพระพุทธเจ้าเสด็จไปประทับที่กรุงโกสัมพีชาวเมืองก็พากันนาวัตถุสิ่งของไปถวายเป็นจานวนมาก เวลาเหล่าประชาชนเหล่านั้นนาสิ่งของไปถวายที่วัดมักจะถามหาพระสารีบุตรพระโมคคัลลานะพระมหากัสสปะ หรือไม่ก็พวกที่ออกบวชพร้อมพระเทวทัตแต่ไม่มีใครถามถึงพระเทวทัตเลยจึงทาให้พระเทวทัตเกิดความน้อยเนื้อต่าใจ
  • 9. ๙ จึงคิดร้ายต่อพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกโดยจะไปขออาศัยอานาจทางการเมืองเข้ามาเสริมจึงเห็นพระเจ้าอชาตศัตรู นี่แหละน่าจะเกลี้ยกล่อมได้ และพระเทวทัตก็ทาสาเร็จทาให้พระเจ้าอชาตศัตรูฆ่าพระบิดาแล้วขึ้นครองเป็นกษัตริย์แทน ส่วนพระเทวทัตก็จะฆ่าพระพุทธเจ้าแล้วปกครองคณะสงฆ์เสียเอง วันหนึ่งขณะที่พระบรมศาสดาทรงกาลังแสดงธรรมแก่พระพุทธบริษัทพร้อมด้วยพระราชาในเวฬุวันมหาวิหาร พระเทวทัตก็ขึ้นประนมกราบทูลว่า “ข้าแต่พระภูมิภาคบัดนี้พระองค์ทรงชรามากแล้วขอพระองค์ทรงมักน้อยพักผ่อนให้สบาย หม่อมฉันจักบริหารภิกษุสงฆ์แทนพระบรมศาสดาจึงตรัสตาหนิด้วยถ้อยคาที่รุนแรง พร้อมทั้งทรงห้ามว่าอย่าคิดอย่างนี้อีกต่อไปเป็นเหตุให้พระเทวทัตไม่พอใจผูกอาฆาตแล้วหนีไป พระภูมิภาครับสั่งให้ประกาศถึงพฤติกรรมและแนวคิดของพระเทวทัตจึงทาให้พระเทวทัตยิ่งโกรธมากขึ้น เมื่อแผนการของพระเทวทัตในการปลงพระชนม์ของพระพุทธเจ้าขั้นแรก คือ จ้างนายขมัง ธนูลอบสังหารได้ล้มเหลวลง พระเทวทัตจึงลงมือทาเอง คือ แอบขึ้นไปบนยอดเขาคิชฌกูฏ เพราะพระเทวทัตทราบได้แน่นอน ว่า ขณะนั้นพระพุทธเจ้าเสด็จประทับอยู่เชิงเขาเบื้องล่าง พระเทวทัตจึงกลิ้งก้อนหินใหญ่ลงมา หมายให้ทับพระพุทธเจ้า ก้อนหินเกิดกระทบกันแล้วแตกเป็นก้อนเล็กก้อนน้อย สะเก็ดหินก้อนหนึ่งกระเด็นปลิวมากระทบพระบาทพระพุทธเจ้า จนทาใ ห้พระโลหิตห้อขึ้น แผนการที่สองล้มเหลวลงอีกต่อมาพระเทวทัตได้แนะนาให้พระเจ้าอชาตศัตรูสั่งเจ้าพนักงาน เลี้ยงช้างปล่อยช้างดุร้ายออกไล่เหยียบพระพุทธเจ้า ในขณะที่เสด็จบิณฑบาต แต่ก็ล้มเหลวลงอีก เพราะฝูงช้างไม่กล้าทาร้า ยพระพุทธเจ้า ตอนนี้เอง ความชั่วของพระเทวทัตเป็นข่าวแดงโร่ออกมา ประชาชนชาวเมืองต่างโจษจันกัน เซ็งแซ่ว่า ผู้จ้างนายขมังธนูก็ดี ผู้กลิ้งก้อนหินกระทบพระบาทพระพุทธเจ้าก็ดี ผู้ปล่อยกระบวนช้างก็ดี แม้ที่สุดพระเจ้าพิมพิส ารที่เสด็จสวรรคตก็ดี เป็นแผนการของพระเทวทัตทั้งสิ้น หลังจากนั้นพระพุทธเจ้าจึงตรัสชาดกให้แก่พระสงฆ์สาวกฟังซึ่งล้วนแต่เป็นอักกตัญญู พวกศิษย์จึงนาพระเทวทัตขึ้นนอนบนเตียงเล็กๆแล้วนาไปเฝ้ าพระภูมิภาค เมื่อหามพระเทวทัตมาถึงริมฝั่งน้าแล้ววางลงเพื่อจะสรงน้าที่สระพระเทวทัตก็ลุกจากเตียงแล้วนั่งวางเท้าทั้งสองบนแผ่นดิน ก็ถูกแผ่นดินสูบเท้าทั้งสองนั้นก็จมลงดินแล้วค่อยๆจมลงไปทีละน้อย ครั้นเมื่อพระเทวทัตถูกแผ่นดินสูบแล้ว ประชาชนต่างพากันรื่นเริงยินดีมีการเฉลิมฉลองกันเป็นงานใหญ่ภิกษุจึงทูลถามพระพุทธเจ้าว่า“พระเทวทัตไปเกิดที่ไหน” พระพุทธจึงตรัสว่า“ในอเวจีมหานรก"ภิกษุจึงทูลถามต่อไปว่า“พระเทวทัตประพฤติตนได้รับความเดือดร้อนในโลกนี้ แล้วยังไปเกิดในสถานที่เดือดร้อนอีกหรือ”จึงตรัสว่าอย่างนั้นแหละภิกษุทั้งหลายบรรพชิตก็ตามคฤหัสถ์ก็ตาม อยู่ด้วยความประมาทย่อมเดือดร้อนทั้งสองโลกทีเดียว พระปุณณมันตานีบุตรเถระ พระปุณณมันตานีบุตรเป็นชาวแคว้นสักกะโดยกาเนิดเป็นบุตรของพราหมณ์ผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจดีคนหนึ่ง ในตระกูลโทณวัตถุบ้านของท่านอยู่ไม่ไกลจากกรุงกบิลพัสดุ์เป็นญาติกับภิกษุบริษัทองค์แรกคือพระอัญญาโกณฑัญญะ โดยพระปุณณมันตานีบุตรมีฐานะเป็นหลานลุงพระปุณณมันตานีบุตรชื่อเดิมว่า “ปุณณะ”มารดาชื่อมันตานีพราหมณี เป็นน้องสาวของพระอัญญาโกณฑัญญะแต่เนื่องจากคนที่ชื่อ“ปุณณะ”มีมากกลัวเกิดความสับสนเวลาเอ่ยชื่อ ดังนั้นพอท่านเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาแล้วภิกษุทั้งหลายจึงเรียนท่านว่า“พระปุณณมันตานีบุตร”แปลว่า
  • 10. ๑๐ ปุณณะผู้เป็นบุตรของนางมันตานีการที่พระปุณณมันตานีบุตรได้เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา ก็ด้วยการชักนาของพระอัญญาโกณฑัญญะโดยขณะที่พระบรมศาสดาประทับอยู่ที่กรุงราชคฤห์ พระอัญญาโกณฑัญญะได้กราบทูลลาขอเดินทางกลับไปโปรดญาติโยมที่บ้านเดิมของท่านที่แคว้นสักกะ เมืองกบิลพัสดุ์ได้ชี้แจงเหตุและผลให้หนุ่มปุณณะหลานชายฟังจนเกิดศรัทธาตัดสินใจบวชหลังจากบวชแล้วก็จาริกไปยัง สถานที่ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติสมณธรรมไม่นานนักก็บรรลุเป็นพระอรหันต์และตั้งอยู่ในคุณธรรม 10ประการ ท่านได้อบรมสั่งสอนศิษยานุศิษย์ของท่านให้ตั้งอยู่ในคุณธรรม10ประการอีกด้วย ชื่อเสียงของท่านได้กระจายไปสู่หมู่ภิกษุพุทธบริษัทในเมืองต่างๆ ครั้นต่อมาศิษย์ของท่านได้เดินทางไปเฝ้ าพระพุทธเจ้าและได้พรรณนาถึงการประพฤติปฎิบัติตนของ พระปุณณมันตานีบุตรให้พระพุทธเจ้าฟังขณะนั้นพระสารีบุตรเถระนั่งอยู่ในที่นั้นด้วยพอได้ยินเช่นนั้น ก็มีความประสงค์อยากพบปะสนทนากับพระปุณณมันตานีบุตรยิ่งนักเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จจากกรุงราชคฤห์ไปประทับ ที่เมืองสาวัตถี ท่านปุณณมันตานีบุตรมาเฝ้ าแล้วพักอยู่ที่เมืองสาวัตถี พระสารีบุตรทราบข่าวจึงหาโอกาสเข้าไป สนทนาด้วยไต่ถามถึงหลักธรรมที่ชื่อว่า “วิสุทธิ7”คือความหมดจดหรือความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปเป็นชั้นๆมี7 ชั้นด้วยกัน เมื่อพระสารีบุตรถามท่านปุณณมันตานีบุตรว่า “ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่อศีลบริสุทธิ์หรือ” พระปุณณมันตานีบุตรตอบว่า “ไม่ใช่” พระสารีบุตรก็ถามไปจนครบทั้ง7ข้อแต่พระปุณณมันตานีบุตรก็ตอบว่าไม่ใช่เหมือนกันทุกข้อ และพระสารีบุตรก็กล่าวว่า “ผมไม่เข้าใจจริงๆว่าท่านหมายความว่าอย่างไร”พระปุณณมันตานีบุตรจึงได้อธิบายเปรียบเทียบกับการเสด็จโดย ราชรถจากเมืองหนึ่งไปยังอีกเมืองหนึ่งเช่นจากเมืองสาวัตถี ไปยังเมืองสาเกตจะต้องมีการเปลี่ยนราชรถถึง7ครั้ง ตามสถานีจอดรถต่างๆเราจะพูดว่าพระราชาเสด็จโดยราชรถนี้จากเมืองสาวัตถีถึงเมืองสาเกตโดยตรงย่อมไม่ถูกต้อง เราจะต้องพูดให้ละเอียดว่าทรงเปลี่ยนราชรถจุดใดบ้างเพราะรถคันแรกกับรถคันสุดท้าย เป็นรถคนละคันกันพระสารีบุตรเข้าใจและอนุโมทนาในธรรมกถาและชมเชยว่าพระปุณณมันตานีบุตร เป็นผู้เชี่ยวชาญในการอธิบายธรรมได้อย่างลึกซึ้งฝ่ ายปุณณมันตานีบุตรก็ชมเชยว่าพระสารีบุตรมีปัญญาเป็นเลิศ ฟังธรรมอันลึกซึ้งเพียงครั้งเดียวก็สามารถเข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้งท่านพระปุณณมันตานีบุตรนั้นอาศัยความที่ตนตั้งอยู่ ในคุณธรรมเช่นไรแล้วก็สอนให้ผู้อื่นตั้งอยู่ในคุณธรรมเช่นนั้น พระบรมศาสดาจึงทรงยกย่องว่าเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลา ย ในการเป็นนักเทศน์นักแสดงธรรม ท่านดารงชีวิตอยู่ตามสมควรแล้วก็ดับขันธนิพพาน พระมหากัจจายนเถระ พระมหากัจจายนะ เป็นบุตรของพราหมณ์ ตระกูลกัจจายนะ ผู้เป็นปุโรหิตของพระเจ้าจัณฑปัชโชตในกรุงอุชเชนี เดิมท่านชื่อ ว่า “กัญจนะ” เพราะมีรูปร่างลักษณะงามสง่า มีเสน่ห์แก่ผู้พบเห็น เมื่อเจริญวัยขึ้น ได้เรียนจบไตรเพท เมื่อบิดาถึงแก่กรรมแ ล้วได้ดารงตาแหน่งปุโรหิตแทนบิดาเมื่อพระบรมศาสดาตรัสรู้แล้วเสด็จเที่ยวจาริก ประกาศหลักธรรมคาสอน พระเจ้าจัณฑปัชโชตมีพระราชประสงค์จะกราบทูลอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จสู่กรุงอุชเชนี จึงรับ สั่งให้ปุโรหิตกัจจายนะไปกราบทูลอาราธนากัจจายนะถือโอกาสกราบทูลลาเพื่ออุปสมบทด้วย เมื่อทรงอนุญาตแล้วจึงพร้อมด้วยบริวารติดตามอีก 7คน เดินทางไปเฝ้ าพระบรมศาสดา เมื่อเดินทางไปถึงก็รับเข้าเฝ้ า พระพุทธองค์ตรัสพระธรรมเทศนาให้ฟังทั้ง8 คนนั้น ก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ แล้วกราบทูลขออุปสมบท พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้เป็นภิกษุด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปนา เมื่อได้อุปสมบท ได้กราบทูลอาราธนาพระบรมศาสดาเสด็จสู่กรุงอุชเชนี แต่พระบรมศาสดารับสั่งให้ท่านไปเอง
  • 11. ๑๑ พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวเมืองก็จะเกิดศรัทธาเหมือนกัน พระมหากัจจายนะ จึงกราบทูลลาพระบรมศาสดาพาภิกษุบริวารอีก 7 องค์นั้น เดินทางกลับสู่กรุงอุชเชนี ประกาศหลักธรรมคาสอนในพุทธศาสนาให้พระเจ้าจัณฑปัชโชต และชาวเมืองได้สดับรับฟัง เกิดศรัทธาเลื่อมใสทาให้พระพุทธ ศาสนาแพร่กระจายทั่วกรุงอุชเชนีแล้ว ท่านก็ได้เดินทางกลับมาเฝ้ าพระผู้มีพระภาคอีก ท่านพระมหากัจจายนะพักอาศัยอยู่ที่ภูเขาปวัตตะแขวงเมืองกุรุรฆระในอวันตีทักขิณาปถชนบทขณะนั้น มีอุบาสกคนหนึ่งชื่อว่าโสณกุฎิกัณณะมีศรัทธาจะอุปสมบท แต่เนื่องจากในอวันตีชนบทนั้นมีพระภิกษุจานวนน้อย ไม่ครบเป็นคณปูรกะจานวน 10 รูป (ทสวรรค) ตามพระบรมพุทธานุ ญาต ท่านจึงให้บรรพชาเป็นสามเณรอยู่นานถึง 3 ปีกว่าจะได้อุปสมบทและเมื่อท่านโสณกุฏิกัณณะได้อุปสมบทแล้ว ปรารถนาจะเข้าเฝ้ าพระบรมศาสดา ได้กราบลาพระมหากั จจายนะ พระมหากัจจายนเถระเป็นพระพุทธสาวกที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดสามารถอธิบายธรรมที่ย่อให้พิสดาร ให้ผู้ฟังเกิดศรัทธาเลื่อ มใสได้โดยไม่ยาก ทั้งนี้เพราะส่วนหนึ่งท่านเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในปฏิสัมภิทา 4 ดังที่กล่าวมาในตอนต้นแล้วว่าพระมหากัจจายนเถระเป็นผู้มีรูปร่างสง่างามผิวเหลือง เป็นที่ต้องตาถูกใจแก่ผู้พบเห็นทั่วไ ป บุตรเศรษฐีคนหนึ่งได้เห็นพระเถระกาลังยืนห่มจีวรเพื่อเข้าไปบิณฑบาตในเมืองแล้วเกิดความพอใจ ในดวงจิตคิดอกุศล ด้วยอกุศลจิตคิดเพียงเท่านี้ทาให้เพศชายของเขาหายไปกลายเป็นเพศหญิงไปทั้งร่าง แล้วพากันไปกราบขอขมาโทษต่อพระเถระเมื่อท่านทราบเรื่องโดยตลอดแล้วก็ยกโทษให้ และเพศหญิงก็หายไปเพศชายปรากฏขึ้นมาเหมือนเดิม ครั้งหนึ่งพระผู้มีพระภาคทรงแสดงภัทเทกรัตตสูตรแต่โดยย่อแล้วเสด็จเข้าสู่พระวิหารที่ประทับ พระภิกษุทั้งหลายไม่มีโอกาสเพื่อจะกราบทูลถามเนื้อความที่ตรัสไว้โดยย่อให้เข้าใจได้ จึงพากันเข้าไปหาพระมหากัจจายนะ กราบอาราธนาให้ท่านได้เมตตาอธิบายขยายความให้ฟัง พระเถระได้อธิบายขยายความย่อให้ฟังอย่างพิสดาร ถ้าท่านทั้งหลายมีความต้องการจะทราบให้แน่ชัดก็จงไปกราบทูลถามพร ะผู้มีพระภาค พระภิกษุเหล่านั้นพากันลาแล้วเข้าไปกราบทูลเนื้อความที่พระมหากัจจายนะอธิบายไว้ให้พระพุทธองค์ทรงสดับ พระผู้มีพระภาคตรัสสรรเสริญพระเถระว่า“ภิกษุทั้งหลายพระมหากัจจายนะเป็นผู้มีปัญญา เนื้อความนั้นถ้าพวกเธอถามตถาคตแม้ตถาคตก็จะอธิบายอย่างนั้นเช่นกัน ขอพวกเธอจงจาเนื้อความนั้นไว้เถิด” เมื่อครั้งพระพุทธองค์ประทับอยู่ณ พระเชตะวันมหาวิหารทรงตั้งพระมหากัจจายนะ ไว้ในตาแหน่งเอตทัคคะ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในฝ่ ายผู้อธิบายเนื้อความย่อให้พิสดารท่านพระมหากัจจายนเถระดารงอายุสังขารโดยสมควรแก่กาลเว ลาแล้วก็ดับขันธนิพพาน"พระมหากัจจายนเถระเอตทัคคะในทางผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร" พระองคุลีมาลเถระ องคุลิมาลเป็นบุตรพราหมณ์ในนครสาวัตถี บิดามีอาชีพรับราชการเป็นปุโรหิตในราชสานักพระเจ้าปเสนทิโกศล มารดาชื่อนางมันตานีพรหมณี ท่านเกิดเวลากลางคืนเกิดประกฎการณ์มหัศจรรย์ขึ้นคือศาสตราวุธยุปโธปกรณ์ในบ้าน และพระคลังแสงเกิดเปลวแสงสว่างแผ่รังสีบริเวณกว้างผู้เป็นพ่อได้ดูฤกษ์ยามและดูดาวบนท้องฟ้ าปรากฏว่าถึงเวลาตกฟาก ของบุตรนั้นเป็นโจรฤกษ์ผู้เกิดในฤกษ์นี้ย่อมเป็นโจรจึงรีบเข้าเฝ้ าพระเจ้าปเสนทิโกศลกราบทูลถึงฤกษ์และปรากฎการณ์ ให้พระราชาฟังและทูลให้ท่านฆ่าบุตรของตนเพื่อไม่ให้ทาความเดือดร้อนแก่ประชาชนในอนาคต แต่พระเจ้าปเสนทิโกศลไม่เชื่อและบอกให้ดูแลบุตรของของตนดี ท่านปุโรหิตจึงแก้เคล็ดให้ชื่ออะหิงสกหมายถึง เด็กชายผู้ไม่เบียดเบียนใครโดยเลี้ยงไม่ให้เห็นเหตุจูงใจที่จะเป็นโจรอะหิงสกโตเป็นหนุ่มและไม่มีแววที่จะเป็นโจร
  • 12. ๑๒ และได้ไปเรียนมหาวิทยาลัยตักสิลานครตักศิลาได้เรียนกับอาจารย์ทิศาปาโมกข์ อะหิงสกตั้งใจเรียนและเข้าใจเนื้อหาที่เรียน เร็วกว่าศิษย์รุ่นเดียวกันดังนั้นเวลาศิษย์คนอื่นถูกว่ากล่างตักเตือนอาจารย์มักจะยกย่องอะหิงสกเป็นตัวอย่าง ทาให้ศิษย์คนอื่นอิจฉาทาอุบายแกล้งอะหิงสก อะหิงสกเวลาเรียนจากทฤษฎีแล้วชอบนามาปฎิบัติทดลอง ศิษย์คนอื่นจึงฟ้ องอาจารย์ว่าอะหิงสกคิดว่าตนฉลาดและคิดจะกาจัดอาจารย์ออกไปครั้งแรกอาจารย์ไม่เชื่อ พอศิษย์คนอื่นฟ้ องมากๆเข้าก็เชื่ออย่างสนิทใจอาจารย์เรียกอะหิงสกมาพบบอกให้อหิงสกไปฆ่าคน 1000 คนเพื่อนามาประกอบการสอนวิชาวิษณุศาสตร์ และบอกว่าถ้าม่มีนิ้วมืออาจารย์ก็ไม่อาจสอนได้ อะหิงสกไม่พอใจเหราะตนมาจากตระกูลหราหมณ์ไม่เคยฆ่าคนแต่เพราะอยากเรียนวิชานี้มากจึงออกไปฆ่าคน อาจารย์ก็คิดว่ากว่าอะหิงสกจะฆ่าคนครบก็คงถูกฆ่าไปเสียก่อน วิชาวิษณุศาสตร์เป็นวิชาที่พูดถึงองค์ประกอบของสรรพสิ่ง ว่าประกอบด้วยอณูทั้งหลาย แยกแยะออกมาแล้วก็จะของสภาพสรรพสิ่งนั้นเป็นนสิ่งหนึ่งทาให้อะหิงสกอยากพิสูจน์ เขาเตรียมอาวุธที่จะฆ่าคน ไปยังป่ารกและดักปลล้นฆ่าคนที่ผ่านมาฆ่าไปเรื่อยและไม่ได้จดบันทึกไว้และก็ลืมไม่รู้ว่าตนฆ่าคนได้เท่าใด จึงตัดนิ้วคนที่ถูกฆ่ามาคล้องคอทาให้เป็นนที่หวาดกลัวของชาวบ้านและพวกพ่อค้าไม่มีใครกล้าเดินทางไปค้าขายชาวบ้านเรียก อะหิงสกว่า องคุลิมาลแปลว่าผู้ที่มีนิ้วเป็นสร้อยคอองคุริมาลได้ฆ่าคนจนนับนิ้วมือที่คอได้ 999นิ้ว เหลืออีกนิ้วเดียวก็จะครบ 1000 คน พระเจ้าปเสนทิโกศลได้ระดมพลปราบองคุลิมาลปุโรหิตก็เกรงกลัวภัยแก่บุตรตนเอง จึงปรึกษากับนางมันตาณีตกลงให้นางมันตาณีออกไปพบบุตร บอกให้บุตรรู้ตัวและจะได้หนีเอาตัวรอด ความรักของบิดามารดาที่มีต่อบุตรนั้นช่างบริสุทธิ์นัก ถึงลูกจะชั่วช้าสปานใดบิดามารดาก็ยังรักและห่วงไม่เสื่อมคลาย ก่อนที่มารดาจะออกไปพบกับองคุลิมาลพระพุทธเจ้าได้ตรวจ ดูสัตว์โลกผู้ใดมีนิสัยแห่งการรู้ธรรมะบ้างก็ทรงพบองคุลิมาลมีอุปนิสัยแห่งอรหัน ถ้าพระองค์ไม่ทรงเป็นพระธุระ องคุลิมาลก็จะมาตุฆาต(ฆ่าแม่ตนเอง)จึงเสด็จไปพบองคุลิมาลเมื่อพบองคุลิมาล ก็ปรี่หวังจะพระองค์ไล่เท่าไรก็ไล่ไม่ทันจนเกิดความเหนื่อยล้าร้องตะโกน ให้พระศาสดาหยุด พระองค็ตรัสว่า เราหยุดแล้ว แต่ท่านที่ยังไม่หยุด องคุลิมาลก็กล่าวว่า ท่านพูดเท็จ ท่านยังไม่หยุดก็บอกว่าหยุด พระองค์ตรัสตอบว่า เราหยูดทาความชั่วอันเป็นผลให้เป็นทุกข์แต่ท่านที่ยังไม่หยุด พระสุรเสียงพระศาสดาทาให้องคุลิมาลได้สตินึกโทษที่ตนทามา และเปลื้องศาสตราวุธพวงองคุรี ไว้ที่ซอกเขา และเข้าเฝ้ าพระศาสดา ฟังพระธรรมเทศนาพอจบพระธรรมเทศนาก็ได้ดวงตาเห็นธรรมขออุปสมบทเป็นพระภิกษุด้วยวิธี เอหิภิกขุอุปสัมปนาวัดเชตะวันวิหาร ท่านองคุลิมาลได้บิณฑบาตในนครสาวัตถี ประชาชนพบเห็นก็เกิดความหวาดกลัว วิ่งหนีกันอลหม่านไม่มีใครถวายอาหารให้ท่านเลยแม้เต่ทัพพีเดียวพระองคุลิมาลเป็นผู้ที่ไม่ประมาท ตั้งใจบาเพ็ญสมณธรรมเคร่งครัดแต่จิตของท่านไม่มีสมาธิเพราะเหตุการณ์ที่ท่านฆ่าคนมาปรากฏเฉพาะหน้าตลอดเวลา พระบรมศาสดาได้สั่งสอนว่าไม่ควรระลึกถึงสิ่งที่ล่วงมาแล้วและสิ่งที่ยังมาไม่ถึงให้พิจารณากรรมที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ปัจจุบันพระองคุริมาลได้ปฎิบิติตามที่ทรงแนะนาไม่นานท่านก็เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสนทนากันว่า ท่านองคุลิมาลท่านฆ่าคนมามากมายเห็นปานนั้นยังบรรลุพระอรหันต์ได้อยู่หรือพระพุทธเจ้าตรัสกับพระภิกษุเหล่านั้น ภิกษุทั้ง หลายผ่านมาองคุลิมาลไม่ได้กัลยาณมิตรสักคนเดียวจึงได้ทาบาปขนาดนั้นภายหลังเธอได้กัลยาณมิตรเป็นปัจจัย เป็นผู้ไม่ประมาทบาปกรรมเหล่านั้นบุตรของเราละแล้วด้วยกุศลกรรมแล้วตรัสคาถาบุคคลใดละบาปกรรมที่ตนทาไว้แล้ว กุศลบุคคลนั้นย่อมทาให้โลกนี้สว่างเหมือนดวงจันทร์พ้นแล้วจากเมฆหมอก ท่านองคุลิมาลมีความเชี่นวชาญเรื่องน้ามนต์ ให้หญิงมีครรภ์คลอดบุตรง่าย