SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 1

                                               บทนา

1.1 แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
        1. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต
        2. ความสาคัญของข้อมูลสื่อสังคมยุคใหม่ Social Media กับการสื่อสารในปัจจุบน
                                                                                ั
        3. การนา Web Blog ชื่อ WordPress มาใช้ในการสร้างเนื้อหาความรู้ที่สนใจ
        4. สรุ ปว่า ต้องการสร้างเว็บ blog เรื่ อง ประวัติอินเตอร์เน็ต
ข้อความด้านล่างนี้ คือตัวอย่างการเขียน แนวคิด ที่มา และความสาคัญ ค่ะ นักเรียนศึกษา
และเอาไปปรับเปลี่ยนให้ เข้ ากับเรื่องหรือหัวข้ อที่นักเรียนได้ ศึกษา
         ปัจจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของ
                 ั
เรามากขึ้น ซึ่งเราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์เน็ตกลายเป็ นปัจจัยที่สาคัญต่อการดารงชีวิตในยุคข้อมูล
ข่าวสารมีความสาคัญ คนหันมาบริ โภคข้อมูลข่าวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
เปรี ยบเสมือนถนนสาหรับการเข้าไปถึงข้อมูลที่ตองการ เรายังต้องการเครื่ องมือที่จะสามารถสร้าง
                                                  ้
เนื้อหาและข้อมูลต่างๆ ไว้รองรับการเข้าถึง นันก็คือเทคโนโลยีเว็บไซต์ ซึ่งเป็ นตัวกลางคอยให้
                                               ่
ข้อมูลต่างๆ แก่ผใช้โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ได้ถกเปลี่ยนแปลงจาก
                   ู้                                                           ู
เดิมไปมาก
         ในยุคที่เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต กาลังเป็ นที่นิยมและมีผลกระทบในทุกๆ
ด้านในปัจจุบน ทาให้ทุกคน ทุกสังคมต้องมีการปรับตัว และพัฒนาให้ทนต่อการเปลี่ยน
               ั                                                                       ั
เปลี่ยนแปลงในโลกของการสื่อสาร และการพัฒนาของโลกเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web;
WWW) จากยุคแรก คือ Web 1.0 ซึ่งมีลกษณะเป็ น Static Web คือมีการนาเสนอข้อมูลทางเดียว
                                            ั
(one-way communication) ด้วยการแปลงข้อมูลข่าวสารที่มีอยูรอบตัวเราให้อยูในรู ปของดิจิตอล
                                                                    ่                ่
(Digital) เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรื อการโฆษณาตามหน้าเว็บไซต์ โดยผูใช้สามารถอ่านได้แต่
                                                                              ้
ไม่สามารถเข้าร่ วมในการสร้างข้อมูลได้ แต่เมื่อก้าวเข้าสู่ยคที่ 2 ของเทคโนโลยีคือ WWW หรื อ
                                                             ุ
Web 2.0 เป็ นยุคที่ทาให้อินเทอร์เน็ตมีศกยภาพในการใช้งานมากขึ้น เน้นให้ผใช้มีส่วนร่ วมในการ
                                          ั                                       ู้
สร้างสรรค์
         จุดกาเนิดของ Web 2.0 และการพัฒนาก้าวผ่านเข้าสู่ยค Web 3.0 ความนิยมขอ Social
                                                                  ุ
Media มีการเติบโตอย่างไม่หยุดยั้งและมีแนวโน้มของผูใช้บริ การทัวโลก ปัจจุบน Social Network
                                                         ้        ่            ั
Website ต่าง ๆ ก็มีการพัฒนา และเปิ ดโอกาสให้ผใช้ได้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการใช้ประโยชน์เชิง
                                                      ู้
สังคมกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ น Facebook หรื อ การสร้างเว็บ Blog เพื่อเผยแพร่ ขอมูลในรู ปแบบ
                                                                                 ้
ต่างๆ
           ในเรื่ องของเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับ
                     อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
           การเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยมีจุดกาเนิดมาจากเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
    ระหว่างมหาวิทยาลัย หรื อที่เรี ยกว่า "แคมปัสเน็ตเวอร์ก" ( Campus Network ) เครื อข่ายดัง
    กล่าวได้รับการสนับสนุนจาก "ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ"
            ( NECTEC ) จนกระทังได้ เชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยสมบูรณ์ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ.
                                   ่
    2535 พัฒนาการ ประเทศไทยได้เริ่ มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยใช้ E-mail ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530
    โดยเริ่ มที่ "มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่" เป็ นแห่งแรก และสถาบัน
    เทคโนโลยีแห่งเอเชีย ภายใต้ความร่ วมมือระหว่างไทยและออสเตรเลียในช่วงเวลาต่อมา
    ในขณะนั้นยังไม่ได้มีการเชื่อมต่อ แบบ On-line หากแต่เป็ นการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ด้วย E-mail
    โดยใช้ระบบ MSHnet ละ UUCP โดยทางออสเตรเลียจะโทรศัพท์เชื่อมเข้ามาสู่ระบบวันละ 2
    ครั้ง ในปี ถัดมา NECTEC ซึ่งอยูภายใต้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน ( ชื่อ
                                       ่
    เดิมในขณะนั้น ) ได้จดสรรทุนดาเนินโครงการ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ของสถาบันอุดมศึกษา
                            ั
    โดยแบ่ง โครงการออกเป็ น 2 ระยะ การดาเนินงานใน ระยะแรกเป็ นการเชื่อมโยง 4 หน่วยงาน
    ได้แก่
    - กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
    - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    - สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
    - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
    ระยะที่สองเป็ นการเชื่อมต่อสถาบันอุดมศึกษาที่เหลือ คือ
    - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    - มหาวิทยาลัยมหิดล
    - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
    - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตธนบุรี
    - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยา เขตพระนครเหนือ
- มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

          เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2534 คณะทางานของ NECTEC ร่ วมกับกลุ่มอาจารย์และ นักวิจย     ั
จากสถาบันอุดมศึกษาได้ก่อตั้งกลุ่ม NEWgroup ( NECTEC E-mail Working Group) เพื่อ
ประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้วย E-mail โดยยังคงอาศัยสถาบัน เทคโนโลยีแห่ง
เอเชียเป็ นทางออกสู่อินเทอร์เน็ตผ่านทางออสเตรเลีย ปี พ.ศ.2538 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้
เป็ นปี แห่งเทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology Year ) เนื่องจากตระหนักถึง
ความสาคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลใน ขณะเดียวกันก็มีการ
ดาเนินการจัดวางเครื อข่ายความเร็ วสูงโดยใช้ใยแก้วนาแสงเพื่อใช้เป็ นสายสื่อสาร ไทยสาร
เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2535 สานักวิทยบริ การ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจร สื่อสาร
ความเร็ ว 9600บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตที่
"บริ ษท ยูยเู น็ตเทคโนโลยี ประเทศสหรัฐอเมริ กา" ภายใต้ขอตกลงกับ NECTEC ในการพัฒนา
          ั                                                 ้
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อร่ วมใช้วงจรสื่อสาร จนกระทังในเดือนธันวาคม
                                                                            ่
ปี เดียวกันมีหน่วยงาน 6 แห่งที่ เชื่อมต่อแบบ On-lineโดยสมบูรณ์ ได้แก่ NECTEC ,จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ,สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,มหาวิทยาลัย สงขลา
นคริ นทร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื อข่ายที่ก่อตั้งมี ชื่อว่า "ไทยสาร" ( Thaisarn : Thai
Social/scientific ,Academic and Research Network ) หรื อ "ไทยสารอินเทอร์เน็ต" ในปี พ.ศ.
2536 NECTEC ได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ ว 64 กิโลบิตต่อวินาทีจากการสื่สารแห่งประเทศไทย
เพื่อ เพิ่มความสามารถในการขนส่งข้อมูล ทาให้ประเทศไทยมีวงจรสื่อสารระดับ ที่ให้บริ การ
แก่ผใช้ไทยสารอินเทอร์เน็ต 2 วงจร ในปัจจุบนวงจรเชื่อมต่อไปยังต่างประเทศที่จุฬาลงกรณ์
       ู้                                      ั
มหาวิทยาลัย และ NECTEC ได้รับการปรับปรุ งให้มีความ เร็ วสูงขึ้นตามลาดับ นับตั้งแต่น้ นมา ั
เครื อข่ายไทยสารได้ขยายตัวกว้างขึ้น และมีหน่วยงานอื่นเชื่อมเข้ากับ ไทยสารอีกหลายแห่ง
ในช่วงต่อ มากลุ่มสถาบันอุดมศึกษาประกอบด้วย สานักวิทยบริ การ จุฬาฯ ,สถาบันเทค- -โนโล
ยีแห่งเอเชีย,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้ร่วมตัวกันเพื่อแบ่งส่วน
ค่าใช้จ่ายวงจร สื่อสาร โดยเรี ยกชื่อกลุ่มว่า "ไทยเน็ต" ( THAInet ) สมาชิกส่วนใหญ่ของ
ไทยสาร คือ สถาบันอุดมศึกษา กับหน่วยงานราชการบางหน่วย งาน และ NECTECยังเปิ ด
โอกาสให้กบบุคลากรของหน่วยงานราชการที่ยงไม่มีเครื อข่ายภายในเป็ นของตัว เองมาขอใช้
               ั                                 ั
บริ การได้ แต่ทว่ายังมีกลุ่มผูที่ตองการใช้บริ การอินเทอร์เน็ตอีกเป็ นจานวนมาก ทั้ง
                               ้ ้
บริ ษทเอกชนและบุคคลทัวไปซึ่งไม่สามารถใช้บริ การ จากไทยสารอินเทอร์เน็ตได้ ทั้งนี้เพราะ
        ั                    ่
   ไทยสารเป็ นเครื อข่ายเพื่อการศึกษาและวิจยที่ใช้เงินงบประมาณอุดหนุนจากรัฐภาย ใต้ขอบังคับ
                                           ั                                       ้
   ของกฏหมายด้านการสื่อสารจึงไม่สามารถให้นิติบุคคลอื่นร่ วมใช้เครื อข่ายได้

1.1 วัตถุประสงค์

    7.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ประวัติอินเตอร์เน็ต
    7.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับ
    7.3 เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและ
                                                                          ้
    นามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู้ของตนเองมากยิงขึ้น
                                                        ่
    7.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป
                                                               ้     ่


1.2 ขอบเขตของโครงงาน

        1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress
         เรื่ อง ประวัติอินเตอร์เน็ต
        2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่
         2.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
       2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ www.wordpress.com
       2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.facebook.com www.hotmail.com
www.google.com
                2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรู ปภาพ เช่นAdobe Photoshop CS4 และ
PhotoScape2.0
1.4 ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
        11.1 ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress ประวัติ
อินเตอร์เน็ต
        11.2 ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่ องที่นามาเป็ นบทเรี ยนในการสร้างเว็บบล็อกคือ ประวัติ
อินเตอร์เน็ต
11.3 ผูเ้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและนามา
                                                                       ้
ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู้ของตนเองมากยิงขึ้น
                                              ่
        11.4 สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป
                                                            ้     ่
เพื่อสร้างเป็ นเครื อข่ายการเรี ยนรู้ผานเว็บบล็อกได้
                                      ่
        11.5 ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์

More Related Content

What's hot

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1She's Ning
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานPop Cholthicha
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำWilaiporn Seehawong
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำAnutra Rit-in
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำApitsara Kaewkerd
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sirintip Kongchanta
 

What's hot (12)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
0222
02220222
0222
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
1บท1
1บท11บท1
1บท1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1
11
1
 

Similar to 01 บทที่ 1-บทนำ

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSirintip Kongchanta
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPrint25
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSaranya Butte
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำApitsara Kaewkerd
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSaranya Butte
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำApitsara Kaewkerd
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำTangkwa Tom
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำShe's Mammai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำTanyarad Chansawang
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChalita Vitamilkz
 

Similar to 01 บทที่ 1-บทนำ (20)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
1
11
1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
1บทนำคอม11
1บทนำคอม111บทนำคอม11
1บทนำคอม11
 

More from Chi Cha Pui Fai

07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกChi Cha Pui Fai
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรมChi Cha Pui Fai
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกChi Cha Pui Fai
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรมChi Cha Pui Fai
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกChi Cha Pui Fai
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรมChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกChi Cha Pui Fai
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกChi Cha Pui Fai
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกChi Cha Pui Fai
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวกChi Cha Pui Fai
 

More from Chi Cha Pui Fai (20)

07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 

01 บทที่ 1-บทนำ

  • 1. บทที่ 1 บทนา 1.1 แนวคิด ที่มา และความสาคัญ 1. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต 2. ความสาคัญของข้อมูลสื่อสังคมยุคใหม่ Social Media กับการสื่อสารในปัจจุบน ั 3. การนา Web Blog ชื่อ WordPress มาใช้ในการสร้างเนื้อหาความรู้ที่สนใจ 4. สรุ ปว่า ต้องการสร้างเว็บ blog เรื่ อง ประวัติอินเตอร์เน็ต ข้อความด้านล่างนี้ คือตัวอย่างการเขียน แนวคิด ที่มา และความสาคัญ ค่ะ นักเรียนศึกษา และเอาไปปรับเปลี่ยนให้ เข้ ากับเรื่องหรือหัวข้ อที่นักเรียนได้ ศึกษา ปัจจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของ ั เรามากขึ้น ซึ่งเราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์เน็ตกลายเป็ นปัจจัยที่สาคัญต่อการดารงชีวิตในยุคข้อมูล ข่าวสารมีความสาคัญ คนหันมาบริ โภคข้อมูลข่าวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เปรี ยบเสมือนถนนสาหรับการเข้าไปถึงข้อมูลที่ตองการ เรายังต้องการเครื่ องมือที่จะสามารถสร้าง ้ เนื้อหาและข้อมูลต่างๆ ไว้รองรับการเข้าถึง นันก็คือเทคโนโลยีเว็บไซต์ ซึ่งเป็ นตัวกลางคอยให้ ่ ข้อมูลต่างๆ แก่ผใช้โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ได้ถกเปลี่ยนแปลงจาก ู้ ู เดิมไปมาก ในยุคที่เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต กาลังเป็ นที่นิยมและมีผลกระทบในทุกๆ ด้านในปัจจุบน ทาให้ทุกคน ทุกสังคมต้องมีการปรับตัว และพัฒนาให้ทนต่อการเปลี่ยน ั ั เปลี่ยนแปลงในโลกของการสื่อสาร และการพัฒนาของโลกเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web; WWW) จากยุคแรก คือ Web 1.0 ซึ่งมีลกษณะเป็ น Static Web คือมีการนาเสนอข้อมูลทางเดียว ั (one-way communication) ด้วยการแปลงข้อมูลข่าวสารที่มีอยูรอบตัวเราให้อยูในรู ปของดิจิตอล ่ ่ (Digital) เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรื อการโฆษณาตามหน้าเว็บไซต์ โดยผูใช้สามารถอ่านได้แต่ ้ ไม่สามารถเข้าร่ วมในการสร้างข้อมูลได้ แต่เมื่อก้าวเข้าสู่ยคที่ 2 ของเทคโนโลยีคือ WWW หรื อ ุ Web 2.0 เป็ นยุคที่ทาให้อินเทอร์เน็ตมีศกยภาพในการใช้งานมากขึ้น เน้นให้ผใช้มีส่วนร่ วมในการ ั ู้ สร้างสรรค์ จุดกาเนิดของ Web 2.0 และการพัฒนาก้าวผ่านเข้าสู่ยค Web 3.0 ความนิยมขอ Social ุ
  • 2. Media มีการเติบโตอย่างไม่หยุดยั้งและมีแนวโน้มของผูใช้บริ การทัวโลก ปัจจุบน Social Network ้ ่ ั Website ต่าง ๆ ก็มีการพัฒนา และเปิ ดโอกาสให้ผใช้ได้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการใช้ประโยชน์เชิง ู้ สังคมกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ น Facebook หรื อ การสร้างเว็บ Blog เพื่อเผยแพร่ ขอมูลในรู ปแบบ ้ ต่างๆ ในเรื่ องของเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย การเชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยมีจุดกาเนิดมาจากเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระหว่างมหาวิทยาลัย หรื อที่เรี ยกว่า "แคมปัสเน็ตเวอร์ก" ( Campus Network ) เครื อข่ายดัง กล่าวได้รับการสนับสนุนจาก "ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ" ( NECTEC ) จนกระทังได้ เชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยสมบูรณ์ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. ่ 2535 พัฒนาการ ประเทศไทยได้เริ่ มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยใช้ E-mail ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 โดยเริ่ มที่ "มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่" เป็ นแห่งแรก และสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย ภายใต้ความร่ วมมือระหว่างไทยและออสเตรเลียในช่วงเวลาต่อมา ในขณะนั้นยังไม่ได้มีการเชื่อมต่อ แบบ On-line หากแต่เป็ นการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ด้วย E-mail โดยใช้ระบบ MSHnet ละ UUCP โดยทางออสเตรเลียจะโทรศัพท์เชื่อมเข้ามาสู่ระบบวันละ 2 ครั้ง ในปี ถัดมา NECTEC ซึ่งอยูภายใต้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน ( ชื่อ ่ เดิมในขณะนั้น ) ได้จดสรรทุนดาเนินโครงการ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ของสถาบันอุดมศึกษา ั โดยแบ่ง โครงการออกเป็ น 2 ระยะ การดาเนินงานใน ระยะแรกเป็ นการเชื่อมโยง 4 หน่วยงาน ได้แก่ - กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ระยะที่สองเป็ นการเชื่อมต่อสถาบันอุดมศึกษาที่เหลือ คือ - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - มหาวิทยาลัยมหิดล - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตธนบุรี - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยา เขตพระนครเหนือ
  • 3. - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น - มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2534 คณะทางานของ NECTEC ร่ วมกับกลุ่มอาจารย์และ นักวิจย ั จากสถาบันอุดมศึกษาได้ก่อตั้งกลุ่ม NEWgroup ( NECTEC E-mail Working Group) เพื่อ ประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารด้วย E-mail โดยยังคงอาศัยสถาบัน เทคโนโลยีแห่ง เอเชียเป็ นทางออกสู่อินเทอร์เน็ตผ่านทางออสเตรเลีย ปี พ.ศ.2538 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้ เป็ นปี แห่งเทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology Year ) เนื่องจากตระหนักถึง ความสาคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลใน ขณะเดียวกันก็มีการ ดาเนินการจัดวางเครื อข่ายความเร็ วสูงโดยใช้ใยแก้วนาแสงเพื่อใช้เป็ นสายสื่อสาร ไทยสาร เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2535 สานักวิทยบริ การ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจร สื่อสาร ความเร็ ว 9600บิตต่อวินาที จากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตที่ "บริ ษท ยูยเู น็ตเทคโนโลยี ประเทศสหรัฐอเมริ กา" ภายใต้ขอตกลงกับ NECTEC ในการพัฒนา ั ้ เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อร่ วมใช้วงจรสื่อสาร จนกระทังในเดือนธันวาคม ่ ปี เดียวกันมีหน่วยงาน 6 แห่งที่ เชื่อมต่อแบบ On-lineโดยสมบูรณ์ ได้แก่ NECTEC ,จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ,สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,มหาวิทยาลัย สงขลา นคริ นทร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครื อข่ายที่ก่อตั้งมี ชื่อว่า "ไทยสาร" ( Thaisarn : Thai Social/scientific ,Academic and Research Network ) หรื อ "ไทยสารอินเทอร์เน็ต" ในปี พ.ศ. 2536 NECTEC ได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ ว 64 กิโลบิตต่อวินาทีจากการสื่สารแห่งประเทศไทย เพื่อ เพิ่มความสามารถในการขนส่งข้อมูล ทาให้ประเทศไทยมีวงจรสื่อสารระดับ ที่ให้บริ การ แก่ผใช้ไทยสารอินเทอร์เน็ต 2 วงจร ในปัจจุบนวงจรเชื่อมต่อไปยังต่างประเทศที่จุฬาลงกรณ์ ู้ ั มหาวิทยาลัย และ NECTEC ได้รับการปรับปรุ งให้มีความ เร็ วสูงขึ้นตามลาดับ นับตั้งแต่น้ นมา ั เครื อข่ายไทยสารได้ขยายตัวกว้างขึ้น และมีหน่วยงานอื่นเชื่อมเข้ากับ ไทยสารอีกหลายแห่ง ในช่วงต่อ มากลุ่มสถาบันอุดมศึกษาประกอบด้วย สานักวิทยบริ การ จุฬาฯ ,สถาบันเทค- -โนโล ยีแห่งเอเชีย,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้ร่วมตัวกันเพื่อแบ่งส่วน ค่าใช้จ่ายวงจร สื่อสาร โดยเรี ยกชื่อกลุ่มว่า "ไทยเน็ต" ( THAInet ) สมาชิกส่วนใหญ่ของ ไทยสาร คือ สถาบันอุดมศึกษา กับหน่วยงานราชการบางหน่วย งาน และ NECTECยังเปิ ด โอกาสให้กบบุคลากรของหน่วยงานราชการที่ยงไม่มีเครื อข่ายภายในเป็ นของตัว เองมาขอใช้ ั ั บริ การได้ แต่ทว่ายังมีกลุ่มผูที่ตองการใช้บริ การอินเทอร์เน็ตอีกเป็ นจานวนมาก ทั้ง ้ ้
  • 4. บริ ษทเอกชนและบุคคลทัวไปซึ่งไม่สามารถใช้บริ การ จากไทยสารอินเทอร์เน็ตได้ ทั้งนี้เพราะ ั ่ ไทยสารเป็ นเครื อข่ายเพื่อการศึกษาและวิจยที่ใช้เงินงบประมาณอุดหนุนจากรัฐภาย ใต้ขอบังคับ ั ้ ของกฏหมายด้านการสื่อสารจึงไม่สามารถให้นิติบุคคลอื่นร่ วมใช้เครื อข่ายได้ 1.1 วัตถุประสงค์ 7.1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ประวัติอินเตอร์เน็ต 7.2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจเกี่ยวกับ 7.3 เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและ ้ นามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู้ของตนเองมากยิงขึ้น ่ 7.4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป ้ ่ 1.2 ขอบเขตของโครงงาน 1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ประวัติอินเตอร์เน็ต 2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือหรื อโปรแกรมหรื อที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ 2.1 เครื่ องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต 2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริ การเว็บบล็อก คือ www.wordpress.com 2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.facebook.com www.hotmail.com www.google.com 2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรู ปภาพ เช่นAdobe Photoshop CS4 และ PhotoScape2.0 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้ รับ 11.1 ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpress ประวัติ อินเตอร์เน็ต 11.2 ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่ องที่นามาเป็ นบทเรี ยนในการสร้างเว็บบล็อกคือ ประวัติ อินเตอร์เน็ต
  • 5. 11.3 ผูเ้ รี ยนสามารถพัฒนารู ปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpress ได้ดวยตนเองและนามา ้ ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรี ยนรู้ของตนเองมากยิงขึ้น ่ 11.4 สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผูสนใจทัวไป ้ ่ เพื่อสร้างเป็ นเครื อข่ายการเรี ยนรู้ผานเว็บบล็อกได้ ่ 11.5 ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์