SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
เลขที่ 171/5 หมู่ที่ 4 ถนนหาดยาว-คลองบางไผ่ ตาบลสานักท้อน
อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง รหัสไปรษณีย์ 21130
……………………………………………………………………
ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ : สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1
สังกัด : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
คานา
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 เพื่อการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 โดยใช้เป็นเป้าหมายในการจัดการ
อาชีวศึกษาในสถานศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน และด้านการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่ง
มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2555 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การจัดการอาชีวศึกษา มี
จานวน 7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ ที่กาหนดคุณลักษณะ คุณภาพและมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาที่
พึงประสงค์ สดอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในการผลิตและพัฒนากาลังคนใน
ด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคโนโลยีสู่ตลาดแรงงาน รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้
สูงขึ้น
วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จึงได้จัดทาเอกสาร “มาตรฐาน การอาชีวศึกษา วิทยาลัย
เทคโนโลยีพัฒนเวช พ.ศ.2555 เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา” เพื่อใช้ในการ
ประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างความเข้าใจ ให้กับบุคลากรทางการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
ได้นาไปใช้เป็นแนวทางการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพของสถานศึกษา และได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง เกิดผลดีกับผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา สามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้
อย่างประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จานวน7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
มาตรฐานที่ 1 ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา จานวน 9 ตัวบ่งชี้
พัฒนาผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาของวิทยาลัยให้มีความรู้ในเชิงวิชาการ ทักษะ
ทางวิชาชีพ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สามารถเป็นผู้ประกอบการหรือทางานในสถาน
ประกอบการจนเป็นที่ยอมรับ หรือศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม2.00 ขึ้นไป
คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป เทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ทั้งนี้ยกเว้นผู้เรียนที่
ออกกลางคัน จาแนกตามชั้นปี ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของสถานศึกษา
(ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสมและคานวณร้อยละ ให้คิดเมื่อสิ้นภาคเรียนที่ ๒ หรือสิ้นภาคเรียน
ฤดูร้อน)
มาตรฐานสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 1.1
นักเรียนทุกระดับต้องมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม2.00 ขึ้นไปร้อยละ 70 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพ
ของผู้เรียน
คาอธิบาย สถานศึกษามีความพึงพอใจที่มีผลคุณภาพของผู้เรียน 3 ด้าน คือด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และด้านสมรรถนะวิชาชีพ โดย
กาหนดกลุ่มตัวอย่างจากสถานประกอบการ หน่วยงานควรไม่น้อยกว่า 5 แห่ง และบุคคลในชุมชน
ควร ไม่น้อยกว่า 5 คน มีการสร้างเครื่องมือประเมินความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating scale) 1.5 เพื่อเก็บข้อมูลที่เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างและครอบคลุมคุณภาพของ
ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน มีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ผลอย่างถูกต้อง
คุณภาพของผู้เรียนใน 3 ด้าน คือ
1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม
ลักษณะนิสัยและทักษะทางปัญญา
2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนา การเรียนรู้และปฏิบัติงาน การทางานร่วมกับผู้อื่น การใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน
3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะในสาขาวิชาชีพ
สู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ
สถานประกอบการ หน่วยงานหมายถึง สถานประกอบการและหน่วยงานทั้งของภาครัฐและ
เอกชนที่รับผู้เรียนเข้าฝึกงาน
ชุมชน หมายถึง บุคคลในชุมชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้เรียน
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.2
สถานประกอบการ หน่วยงาน และชุมชน มีผลการประเมินความพึงพอใจคุณภาพผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ทั้ง3ด้าน เฉลี่ยร้อยละ80 หรือค่าเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
มาตรฐานวิชาชีพตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร เทียบ
ร้อยละกับจานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร จาแนกตามระดับ
ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของวิทยาลัย
ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพร้อยละ 80 ขึ้นไปของผู้เรียนที่จบการศึกษาทั้งหมด
เกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
ระดับ ปวช. ประเมินทฤษฎี 20 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม
ประเมินปฏิบัติ 80 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม
รวม 100 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 65
ระดับ ปวส. ประเมินทฤษฎี 40 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม
ประเมินปฏิบัติ 60 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม
รวม 100 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.3
ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพตามเกณฑ์ประเมินมาตรฐานวิชาชีพร้อยละ80 ขึ้น
ไปของผู้เรียนที่จบการศึกษาทั้งหมด
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน
อาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป
คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 ที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
(องค์การมหาชน) (สทศ.) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปเทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียน ที่
ลงทะเบียนเข้าทดสอบ จาแนกตามระดับชั้น ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของ
วิทยาลัย
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.4
ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน
อาชีวศึกษาเฉลี่ย ร้อยละ 55 ขึ้นไป ของผู้เข้าสอบทั้งหมด
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน
อาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ
คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 ที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ใน
กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) (สทศ.) เทียบร้อย
ละกับจานวนผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ จาแนกตามระดับชั้น ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน
และภาพรวมของวิทยาลัย
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.5
ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยในกลุ่มภาษาอังกฤษระดับชาติขึ้นไปจากการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติด้านอาชีวศึกษาเฉลี่ย ร้อยละ 55 ขึ้นไป ของผู้เข้าสอบทั้งหมด
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานอาชีพของสถาบันคุณวุฒิ
วิชาชีพ หรือหน่วยงานที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษารับรอง(ตัวบ่งชี้นี้ไม่
ต้องประเมิน)
คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบ
มาตรฐานอาชีพของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรือหน่วยงานที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการ
อาชีวศึกษารับรองเทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้ารับการทดสอบมาตรฐานอาชีพ
จาแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน และภาพรวมของวิทยาลัย (การผ่านเกณฑ์การ
ทดสอบมาตรฐานอาชีพของผู้เรียนให้เป็นไปตามที่สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรือหน่วยงานที่
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษารับรอง ได้กาหนดไว้)
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.6
ในตัวบ่งชี้ กรมอาชีวศึกษายังไม่ได้ทาการประเมินเนื่องจากยังไม่มีสถาบันคุณวุฒวิชาชีพมา
รองรับ จึงไม่มีการวางเป้าหมาย
ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า
คาอธิบาย จานวนผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ตามเกณฑ์การ
สาเร็จการศึกษาเทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียนแรกเข้าของรุ่นนั้น จาแนกตามประเภทวิชา สาขาวิชา
สาขางาน และภาพรวมของวิทยาลัย
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.7
ผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเมื่อเทียบกับแรกเข้าต้องมีผู้สาเร็จการศึกษา ร้อยละ 70 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ
ภายใน 1 ปี
คาอธิบาย จานวนผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ในปีการศึกษาที่
ผ่านมาที่ได้งานทาในสถานประกอบการ หน่วยงาน ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาต่อภายใน 1 ปี
เทียบร้อยละกับจานวนผู้สาเร็จการศึกษา จาแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและ
ภาพรวมของวิทยาลัย
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.8
ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยในกลุ่มภาษาอังกฤษระดับชาติขึ้นไปจากการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติด้านอาชีวศึกษาเฉลี่ย ร้อยละ 55 ขึ้นไป ของผู้เข้าสอบทั้งหมด
ตัวบ่งชี้ที่ 1.9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือ
ผู้รับบริการ ที่มีต่อคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการประเมินความพึงพอใจที่มีผลคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา
ใน 3 ด้าน คือ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และด้าน
สมรรถนะวิชาชีพ โดยกาหนดกลุ่มตัวอย่างจากสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือกลุ่มสถานศึกษา
หรือกลุ่มผู้รับบริการรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจานวนสถานประกอบการ หน่วยงาน สถานศึกษา
ผู้รับบริการ มีการสร้างเครื่องมือประเมินความพึงพอใจ โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale)
1-5 การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างและนาข้อมูลมาวิเคราะห์ผลอย่างถูกต้อง
คุณภาพของผู้เรียนใน ๓ ด้าน คือ
1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม
ลักษณะนิสัยและทักษะทางปัญญา
2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และปฏิบัติงาน การทางานร่วมกับผู้อื่น การใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน
3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะในสาขาวิชาชีพ
สู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ
สถานประกอบการ หน่วยงาน หมายถึง สถานประกอบการและหน่วยงานทั้งของภาครัฐและ
เอกชน ที่รับผู้สาเร็จการศึกษาเข้าทางาน
สถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนที่รับผู้สาเร็จการศึกษาเข้าศึกษาต่อ
ผู้รับบริการ หมายถึง บุคคลหรือสถานประกอบการ หน่วยงานที่รับบริการจากการประกอบ
อาชีพอิสระของผู้สาเร็จการศึกษา
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.9
สถานประกอบการ หน่วยงาน สถานศึกษา หรือผู้รับบริการมีการประเมินความพึงพอใจต่อ
คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา ทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับ3.51 ขึ้นไป
มาตรฐานที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา จานวน5 ตัวบ่งชี้
พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของสถาน
ประกอบการหรือประชาคมอาเซี่ยน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยเทคนิควิธิการสอนที่หลากหลาย
มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงปรสงค์และ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้อง
กับความต้องการของสถานประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน
อธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา โดย
กาหนดรายวิชาใหม่ หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม เกี่ยวกับเนื้อหาสาระ โดยร่วมกับสถานประกอบการ
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการหรือประชาคม
อาเซียน
มาตรฐานสถาศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.1
วิทยาลัยมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะตามความต้องการของสถานประกอบการหรือ
หน่วยงานไม่น้อยกว่า ร้อยละ50 ของรายวิชาที่จัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิค
วิธีการสอนที่หลากหลายที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.2
ครูผู้สอนมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มุ่งเน้น
สมรรถนะอาชีพ และการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทุกรายวิชาที่สอน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ระดับคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้
ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินการให้ครูใช้สื่อและ
เทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้มีการนิเทศการจัดการเรียนการสอนและให้ครูทาบันทึกหลังการสอน ให้ครู
นาผลจากการสอนด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย และผลการนิเทศการจัดการเรียนการสอนไป
จัดทาวิจัยและนาผลจากการวิจัยไปใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน
งานวิจัยของครูต้องครอบคลุมกระบวนการต่อไปนี้
1. มีเป้าประสงค์
2. มีการระบุปัญหา
3. มีวิธีการดาเนินการ
4. มีการเก็บและบันทึกข้อมูล
5. มีการวิเคราะห์และสรุปผลความรู้ที่ได้จากการดาเนินการ
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.3
1. ครูผู้สอนทุกคนสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอนได้ ไม่
น้อยกว่า ร้อยละ80 ของรายวิชาที่สอน
2. ครูผู้สอนทุกคนต้องมีงานวิจัยและสามารถนาไปแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการ
สอนได้ไม่น้อยกว่า1 รายวิชาที่สอน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูทุกคน และแจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการวัดและ
ประเมินผลให้ผู้เรียนทราบก่อนการจัดการเรียนการสอน มีการวัดและประเมินผล ตามแผน การ
จัดการเรียนรู้ใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะสม ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัด
และประเมินผล และนาผลจากการวัดและประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ที่มุ่งเน้น
สมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.4
ครูผู้สอนทุกคนต้องนาเอาผลจากการวัดผลประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน
มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงาน
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการคัดเลือก สถานประกอบการ หน่วยงาน และทาความ
ร่วมมือในการส่งผู้เรียนเข้าฝึกงาน ตามหลักสูตร มีการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนการฝึกงานพร้อมมีคู่มือ
การฝึกงาน มีการนิเทศการฝึกงานของผู้เรียนในสถานประกอบการ หน่วยงาน มีการวัดผลการฝึกงาน
ของผู้เรียนร่วมกับสถานประกอบการ หน่วยงาน มีการสัมมนาการฝึกงานของผู้เรียนร่วมกับสถาน
ประกอบการ หน่วยงาน เพื่อนาผลไปปรับปรุง
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.5
ผู้เรียนเข้าฝึกงานในสถานประกอบการโดยมีกระบวนการวัดผลการฝึกงานร่วมกับสถาน
ประกอบการและมีการสัมมนากับสถานประกอบการเพื่อนาผลไปปรับปรุง
มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา จานวน 12 บ่งชี้
บริหารจัดการอาชีวศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน มีคณะกรรมการสถานศึกษาหรือ
วิทยาลัย มีการจัดทาแผนบริหารจัดการสถานศึกษา มีการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์ ผู้บริหารมี
ภาวะผู้นา มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ มีการบริหารความเสี่ยงมีระบบดูแล
ผู้เรียน มีการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์อาคารสถานที่ มีการบริหารจัดการวัสดุครุภัณฑ์ มี
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการบริหารการเงินและงบประมาณมีการระดมทรัพยากรใน
การจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย
คาอธิบาย คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยของสถานศึกษา แต่ละสังกัดและ
อานาจหน้าที่ให้ถือปฏิบัติดังนี้
สถานศึกษาอาชีวศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ให้เป็นไปตาม
พ.ร.บ. การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 และกฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์
การสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ การประชุม วาระการดารงตาแหน่ง และการพ้น
จากตาแหน่งของคณะกรรมการวิทยาลัย พ.ศ. 2553
สถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
สถานศึกษาอาชีวศึกษาสังกัดอื่น ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยในการ
ปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกให้ใช้แบบประเมิน มาตราส่วนประมาณค่า
(Rating scale) 1-5
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มิได้ปฏิบัติงานใน
สถานศึกษาและไม่ได้เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ซึ่งสถานศึกษาเป็นผู้เสนอและ
คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ ให้ทาหน้าที่ประเมินความพึงพอใจของ
คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ในการปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษา และประเมินคุณภาพ
การปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ซึ่งบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ทาหน้าที่
ประเมิน ๒ ด้านดังกล่าว อาจเป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันก็ได้
การประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ในการ
ปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษารับทราบข้อมูลและนาผลไปปรับปรุง
การดาเนินงานต่อไป ให้ใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5
การประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย มี
วัตถุประสงค์เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย รับทราบข้อมูลและนาผลไปพัฒนา
คุณภาพการปฏิบัติงาน ตามอานาจหน้าที่ที่กาหนดไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.1
สถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ1 ครั้ง และมีการ
ให้ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาโดยมีผลการประเมิน
3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทาแผนการบริหารจัดการสถานศึกษา
คาอธิบาย วิทยาลัยจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยการมี
ส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนและมีการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา มีการ
ดาเนินงานตามแผน มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และเสนอข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
พร้อมทั้งจัดทารายงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.2
สถานศึกษามีการจัดทาแผนพัฒนาการจักการศึกษาโดยมีส่วนร่วมของครู บุคลากร ผู้เรียน
ชุมชน สถานประกอบการ มีการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ประเมินผล และจัดทารายงานตามแผนการ
ปฏิบัติงานประจาปี โดยดาเนินการตามวงจรPDCA
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ระดับคุณภาพในการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการพัฒนาสถานศึกษาตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง
สถานศึกษา ตามอัตลักษณ์ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาหรือวิทยาลัยโดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ชุมชน และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณะของผู้เรียนตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.3
สถานศึกษามีการกาหนดอัตลักษณ์โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
และจัดทาโครงการที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของผู้เรียนโดยมีการประเมินผลโครงการเพื่อนาไป
ปรับปรุง
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ระดับคุณภาพในการบริหารงานและภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา
คาอธิบาย ผู้บริหารสถานศึกษามีการบริหารงานตามนโยบายของหน่วยงานต้น
สังกัดโดยใช้ภาวะผู้นาและการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องและมีการประเมินผลการบริหารงานและ
ภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาโดยคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย โดยใช้แบบประเมิน
มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5
ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการสถานศึกษา
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.4
สถานศึกษามีการจัดประชุมครูและบุคลากรในสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ2 ครั้ง และ
มีการจัดประชุมผู้ครองอย่างน้อยภาคเรียนละ1 ครั้ง โดยนาความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ
จัดการศึกษามาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา และมีการประเมินภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา
โดยคณะกรรมการสถานศึกษามีผลเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของ
สถานศึกษา
คาอธิบาย วิทยาลัยมีระบบข้อมูลสารสนเทศและมีระบบสารองข้อมูลสารสนเทศ
เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล โดยมีข้อมูลพื้นฐานอย่างน้อย๙ ประเภท ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของ
สถานศึกษา ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ข้อมูลตลาดแรงงาน ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลงบประมาณและ
การเงิน ข้อมูลหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูลอาคารสถานที่ และข้อมูล
พื้นฐานของจังหวัด โดยข้อมูลจะต้องครบถ้วน เชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ และเป็นปัจจุบัน มีการ
ดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ จาก
ฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและมีการประเมินความพึงพอใจ ในการบริหารจัดการระบบ
ฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน โดยใช้
แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.5
1.สถานศึกษามีข้อมูลพื้นฐาน9 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา
ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลสถานประกอบการ ข้อมูลจังหวัด ข้อมูลอาคารสถานที่ ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูล
งบประมาณ ข้อมูลหลักสูตร
2. ครู บุคลากร นักเรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล
สารสนเทศ
3. ครู บุคลากร นักเรียนประเมินความพึงพอใจในการบริหารจัดระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
ของสถานศึกษามีระดับความพึงพอใจเฉลี่ย3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 3.6 ระดับคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการวิเคราะห์และจัดทาแผนงาน โครงการบริหารความเสี่ยงที่
สาคัญอย่างน้อย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านการทะเลาะวิวาท ด้านสิ่งเสพติด ด้านสังคม
ด้านการพนันและการมั่วสุม โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาผู้เรียนและ
ผู้ปกครอง มีการดาเนินงาน ตามแผนงาน โครงการ มีการประเมินผลและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมี
ผลทาให้ความเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดลง
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.6
สถานศึกษามีแผนงานบริหารความเสี่ยงทั้ง 5 ด้านโดยมีส่วนร่วมของครูบุคลากรผู้เรียนและ
ผู้ปกครอง และโดยมีความเสี่ยงลดลงทั้ง5 ด้าน และนาผลการประเมินโครงการไปพัฒนาปรับปรุง
แผน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.7 ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแลผู้เรียน
คาอธิบาย วิทยาลัยจัดระบบดูแลผู้เรียนโดยมีการปฐมนิเทศผู้เรียน มีการแต่งตั้งครูที่
ปรึกษา มีระบบเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อร่วมกันดูแลผู้เรียน ส่งเสริมสนับสนุนทุนการศึกษาแก่ผู้เรียน มี
ระบบดูแลผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงและส่งเสริมผู้เรียนปัญญาเลิศ
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.7
สถานศึกษาจัดทาแผนงานจัดระบบดูแลนักเรียน ผู้จานวนผู้เรียนออกกลางคันลดลง
ตัวบ่งชี้ที่ 3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของ
สถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทยบริการ
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของ
สถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทยบริการ มีการ
ประเมินความพึงพอใจโดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 และมีการนาผล
การประเมินไปปรับปรุงการบริหารจัดการ โดยการมีส่วนร่วมของครู และบุคลากรทุกฝ่ายใน
สถานศึกษาและผู้เรียน
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.8
สถานศึกษามีการจัดทาแผนงานพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของ
สถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทยบริการโดยมี
ส่วนรวมของครูบุคลากรทุกฝ่ายสถานศึกษา และมีการประเมินความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อม และ
ภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทย
บริการ ของบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา มีคะแนนเฉลี่ย3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 3.9 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการจัดหา การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์
สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา มีการประเมินความพึงพอใจของครู และ
บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale)
1-5 และมีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารจัดการ
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.9
สถานศึกษาจัดทาแผนงานจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ และมี
การประเมินผลความพึงพอใจต่อการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ย
3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาใน
ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ จัดหาทุนการศึกษา ทุนวิจัย หรืองานสร้างสรรค์
ส่งเสริมให้มีโครงการแลกเปลี่ยนครูและบุคลากรทางการศึกษา กับสถานศึกษาอื่นหรือหน่วยงาน
องค์กรภายนอกตรงกับสาขาวิชาชีพ มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม และส่งเสริม สนับสนุนให้
ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่อง
คุณภาพชีวิต หมายถึง การดารงชีวิตอยู่ด้วยการมี สุขภาวะที่สมบูรณ์ และมีความมั่นคงซึ่ง
ครอบคลุมสุขภาวะ ทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางสังคม และ
สุขภาวะทางจิตและวิญญาณ
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.10
1. ครูและบุคลากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ได้รับการฝึกอบรมด้านวิชาการหรือ
วิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. สถานศึกษาสนับสนุนงบประมาณในการจัดทางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของ
ครูไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 และได้รับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมไม่น้อย
กว่าร้อยละ 75
3. ครูและบุคลากรในสถานศึกษาได้การประกาศเกียติคุณยกย่องด้านวิชาการและ
วิชาชีพหรือจรรยาบรรณวิชาชีพจากองค์กรภายนอกไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและงบประมาณ
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการบริหารการเงินและงบประมาณ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติ
การประจาปีของสถานศึกษา ในด้านวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อสาหรับการจัดการเรียนการสอน การ
บริหารวิชาการและวิชาชีพ การส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและผู้เรียนจัดทาและดาเนินการจัดประกวด
จัดแสดงโครงการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย การดาเนินงานตามโครงการ
กิจกรรม ด้านการปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.11
1. สถานศึกษาจัดทางบประมาณ โดยมีงบประมาณรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และ
สื่อสาหรับการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า ร้อยละ10 ของงบดาเนินการ
2. สถานศึกษามีรายได้หรือมีมูลค่าของผลผลิตจากใช้วัสดุฝึกในการจัดการเรียนการ
สอนไม่น้อยกว่าร้อยละ25 ของค่าวัสดุฝึก
3. สถานศึกษามีรายจ่ายในการส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนจัดทาโครงงานหรืองานวิจัย
ไม่น้อยกว่าร้อยละ5 ของงบดาเนินการ
ตัวบ่งชี้ที่ 3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษา กับเครือข่ายทั้ง
ในประเทศและ หรือต่างประเทศ
คาอธิบาย สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย
ทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศ ในด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาน
ประกอบการ งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ และมีการประเมินผลการดาเนินงานเพื่อการ
ปรับปรุง
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.12
สถานศึกษามีการจัดทาแผนงานการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับ
เครือข่ายทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ โดยจัดหาภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือผู้เชี่ยวชาญร่วมพัฒนา
ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ของจานวนสาขางานและมีสถานประกอบการรวมกันจัดการศึกษาไม่
น้อยกว่า 20 แห่ง มีรายการระดมทรัพยากร เช่น งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เพื่อสนับสนุน
การจัดการศึกษา ไม่น้อยกว่า 5 รายการ และนาผลการดาเนินงานไปปรับปรุง
มาตรฐานที่ 4 ด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ จานวน 1 ตัวบ่งชี้
บริการวิชาการและวิชาชีพสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพ
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการบริหารจัดการ การบริการวิชาการและวิชาชีพ โดยการมีส่วน
ร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนทุกสาขางาน และมีการประเมินความพึง
พอใจของผู้รับบริการ โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5
ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1
ครั้งขึ้นไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 4.1
สถานศึกษามีแผนงานบริการวิชาการและวิชีพ โดยแต่ละสาขามีโครงการไม่น้อยกว่า
2 โครงการต่อปีมีนักเรียนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ60 และมีการประเมินความพึง
พอใจจากผู้รับบริการมีผลการประเมินเฉลี่ย3.51 ขึ้นไป
มาตรฐานที่ 5 ด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์หรืองานวิจัย จานวน2 ตัวบ่งชี้
ส่งเสริมให้ครู และผู้เรียนจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย
ประโยชน์ ตลอดจนมีการเผยแพร่
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ
งานวิจัยของผู้เรียน
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 และ
ระดับชั้น ปวส. 2 จัดทาโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ตามรายวิชาโครงการ และ
อื่นๆ และจัดให้มีการประกวด แสดงและเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งการนาผลงานไปใช้ประโยชน์ใน
สถานศึกษามีการส่งเสริมให้เข้าร่วมแสดง แข่งขันและได้รับรางวัลหรือนาไปใช้ประโยชน์ในระดับ
ชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 5.1
1. สถานศึกษามีแผนงานจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของ
ผู้เรียน
2. นักเรียนร้อยละ 5 ได้นาโครงงานหรือ งานวิจัยไปใช้ประโยชน์หรือได้รับรางวัลระดับ
ชุมชนขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์
หรืองานวิจัยของครู
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน
สร้างสรรค์ หรืองานวิจัย และจัดให้มีการประกวด จัดแสดงและเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งการนาผลงาน
ไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษามีการส่งเสริมให้เข้าร่วมแสดง แข่งขันและได้รับรางวัลหรือนาไปใช้
ประโยชน์ในระดับชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ
งานวิจัยของครูต้องครอบคลุมกระบวนการต่อไปนี้
1. มีเป้าประสงค์
2. มีการระบุปัญหา
3. มีวิธีการดาเนินการ
4. มีการเก็บและบันทึกข้อมูล
5. มีการวิเคราะห์และสรุปผลความรู้ที่ได้จากการดาเนินการ
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 5.2
1. สถานศึกษามีแผนงานจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู
2. ครูร้อยละ 5 ได้นาโครงงานหรือ งานวิจัยไปใช้ประโยชน์หรือได้รับรางวัลระดับชุมชน
ขึ้นไป
มาตรฐานที่ 6 ด้านการปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและ
ของเศรษฐกิจพิเพียงและส่งเสริมกีฬาและนันทนาการพลโลก
ปลูกฝังจิตใจสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ในด้านการรักชาติ
เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข ทะนุบารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ปรัชญา
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์
ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทะนุบารุง
ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และ
ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์
ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทะนุบารุง
ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม มีการประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการ กิจกรรม โดยครูและบุคลากร
ทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และผู้เรียน เพื่อนาผลไปปรับปรุง มีการบริหารจัดการ และมีการประเมิน
ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีภาพลักษณ์ของสถานศึกษา โดยใช้แบบประเมิน
มาตราส่วนประมาณค่า(Rating scale) 1-5
ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1
ครั้งขึ้นไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.1
สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริม
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทะนุบารุง ศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรม และมีการประเมินผลความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของ
สถานศึกษาโดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และ
ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีการ
ประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการ กิจกรรม โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและ
ผู้เรียน เพื่อนาผลไปปรับปรุง มีการบริหารจัดการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง
ภายนอกสถานศึกษาที่มีภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating scale) 1-5
ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้น
ไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.2
สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีการประเมินผล
ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยมีคะแนนเฉลี่ย
3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ
คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และ
ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ด้านการกีฬาและนันทนาการ มีการประเมินผลการดาเนินงาน
ตามโครงการ กิจกรรม โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อนาผลไปปรับปรุง มี
การบริหารจัดการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีภาพลักษณ์
ของสถานศึกษา โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5
ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้น
ไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.3
สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านด้านการกีฬาและนันทนาการและมีการ
ประเมินผลความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยมี
คะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงให้แก่ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ มีแผน
โครงการในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการมีส่วนร่วมของ
ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน มีการดาเนินงานตามแผน โครงการและมีการ
ประเมินผลการดาเนินงาน โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อนาผลไป
ปรับปรุงการบริหารจัดการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มี
ต่อการปลูกฝังจิตสานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating scale) 1-5
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.4
สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านด้านการกีฬาและนันทนาการและมีการ
ประเมินผลความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยมี
คะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
มาตรฐานที่ 7 ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา จานวน2 ตัวบ่งชี้
จัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดาเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา
พ.ศ. 2555 และนาผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพภายใน
คาอธิบาย วิทยาลัยจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วยการประเมินคุณภาพภายในการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยดาเนินการตามที่กาหนดไว้ใน
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 7.1
1. สถานศึกษามีการกาหนดมาตฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยมีส่วนรวมของบุคลากร
ทุกฝ่ายชุมชน และสถานประกอบการ
2. สถานศึกษามีแผนพัฒนาสถานศึกษาและปฏิบัติตามแผนงาน เป็นวงจรคุณภาพPDCA
3. สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี
4. สถานศึกษามีการพัฒนาจากผลการประเมินภายในและประเมินภายนอก
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ระดับคุณภาพในการดาเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555
คาอธิบาย วิทยาลัยมีการดาเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 ส่วนที่
1 การจัดการอาชีวศึกษา 7 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้ และแสดงถึงคุณภาพของการดาเนินงานในแต่ละตัว
บ่งชี้โดยมีผลการตัดสินของตัวบ่งชี้ได้ตามเกณฑ์สูงสุดในระดับ 5 คะแนน ดีมาก
มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 7.2
สถานศึกษามี่ผลการประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับดีขึ้นไป
ภาคผนวก
ตามที่วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวชได้นาเสนอใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 โดยใช้เป็นเป้าหมาย
ในการจัดการอาชีวศึกษาในสถานศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน และด้านการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ซึ่งมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2555 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การจัดการ
อาชีวศึกษามีจานวน 7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ ที่กาหนดคุณลักษณะ คุณภาพและมาตรฐานการจัดการ
อาชีวศึกษา ที่พึงประสงค์ สดอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการผลิตและ
พัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคโนโลยีสู่ตลาดแรงงาน รวมทั้งเป็นการยกระดับ
การศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้น
คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จึงได้พิจารณาแล้ว มีมติอนุมัติให้ใช้
มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 เพื่อการประกันคุณภาพภายใน เป็นมาตรฐานการศึกษาของ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ตามที่นาเสนอ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการส่งเสริม การกากับดูแล การ
ตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัยเทคโนโลยี
พัฒนเวช
ลงชื่อ...........................................................
( นายศิริศักดิ์ มาลีเวช )
ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
............../........../...............

More Related Content

What's hot

การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ Padlet
การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ Padletการศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ Padlet
การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ PadletEric Nattawut Matluang
 
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchanssuserea9dad1
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่prangkupk
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2nakaenoi
 

What's hot (7)

Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ Padlet
การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ Padletการศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ Padlet
การศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษ จาก YouTube และ Padlet
 
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
 

Similar to มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช

แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4somdetpittayakom school
 
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558somdetpittayakom school
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานdmathdanai
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O netDhanee Chant
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraSucheraSupapimonwan
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7klongnamkeaw
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classsomdetpittayakom school
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart classsomdetpittayakom school
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netpimmiecyrille
 
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bE31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bkeng1104
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netpimmiecyrille
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง Jaru O-not
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 

Similar to มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช (20)

แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
B1
B1B1
B1
 
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558
ประกาศรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558
 
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O net
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O net
 
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507bE31b332237f6911a9d29303b4efa507b
E31b332237f6911a9d29303b4efa507b
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O net
 
40 ed bd01
40 ed bd0140 ed bd01
40 ed bd01
 
Manual58 STOU
Manual58 STOUManual58 STOU
Manual58 STOU
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 

More from Kongkrit Pimpa

รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557Kongkrit Pimpa
 
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557Kongkrit Pimpa
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5Kongkrit Pimpa
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการKongkrit Pimpa
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามKongkrit Pimpa
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKongkrit Pimpa
 

More from Kongkrit Pimpa (10)

รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
รวมงานวิจัยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ปีการศึกษา 2557
 
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
โครงงานวิชาชีพของผู้เรียนที่นำไปใช้ประโยชน์ ประจำปีการศึกษา 2557
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
ปก
ปกปก
ปก
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 

มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช

  • 1. มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช เลขที่ 171/5 หมู่ที่ 4 ถนนหาดยาว-คลองบางไผ่ ตาบลสานักท้อน อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง รหัสไปรษณีย์ 21130 …………………………………………………………………… ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ : สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 สังกัด : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
  • 2. คานา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 เพื่อการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 โดยใช้เป็นเป้าหมายในการจัดการ อาชีวศึกษาในสถานศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน และด้านการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่ง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2555 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การจัดการอาชีวศึกษา มี จานวน 7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ ที่กาหนดคุณลักษณะ คุณภาพและมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาที่ พึงประสงค์ สดอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในการผลิตและพัฒนากาลังคนใน ด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคโนโลยีสู่ตลาดแรงงาน รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้ สูงขึ้น วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จึงได้จัดทาเอกสาร “มาตรฐาน การอาชีวศึกษา วิทยาลัย เทคโนโลยีพัฒนเวช พ.ศ.2555 เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา” เพื่อใช้ในการ ประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างความเข้าใจ ให้กับบุคลากรทางการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ได้นาไปใช้เป็นแนวทางการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพของสถานศึกษา และได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เกิดผลดีกับผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา สามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกได้ อย่างประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
  • 3. มาตรฐานการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จานวน7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา จานวน 9 ตัวบ่งชี้ พัฒนาผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาของวิทยาลัยให้มีความรู้ในเชิงวิชาการ ทักษะ ทางวิชาชีพ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สามารถเป็นผู้ประกอบการหรือทางานในสถาน ประกอบการจนเป็นที่ยอมรับ หรือศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม2.00 ขึ้นไป คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ยสะสม 2.00 ขึ้นไป เทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ทั้งนี้ยกเว้นผู้เรียนที่ ออกกลางคัน จาแนกตามชั้นปี ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสมและคานวณร้อยละ ให้คิดเมื่อสิ้นภาคเรียนที่ ๒ หรือสิ้นภาคเรียน ฤดูร้อน) มาตรฐานสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 นักเรียนทุกระดับต้องมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสะสม2.00 ขึ้นไปร้อยละ 70 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ชุมชน ที่มีต่อคุณภาพ ของผู้เรียน คาอธิบาย สถานศึกษามีความพึงพอใจที่มีผลคุณภาพของผู้เรียน 3 ด้าน คือด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และด้านสมรรถนะวิชาชีพ โดย กาหนดกลุ่มตัวอย่างจากสถานประกอบการ หน่วยงานควรไม่น้อยกว่า 5 แห่ง และบุคคลในชุมชน ควร ไม่น้อยกว่า 5 คน มีการสร้างเครื่องมือประเมินความพึงพอใจ โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) 1.5 เพื่อเก็บข้อมูลที่เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างและครอบคลุมคุณภาพของ ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน มีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ผลอย่างถูกต้อง คุณภาพของผู้เรียนใน 3 ด้าน คือ 1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม ลักษณะนิสัยและทักษะทางปัญญา 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนา การเรียนรู้และปฏิบัติงาน การทางานร่วมกับผู้อื่น การใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน 3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะในสาขาวิชาชีพ สู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ
  • 4. สถานประกอบการ หน่วยงานหมายถึง สถานประกอบการและหน่วยงานทั้งของภาครัฐและ เอกชนที่รับผู้เรียนเข้าฝึกงาน ชุมชน หมายถึง บุคคลในชุมชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้เรียน มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.2 สถานประกอบการ หน่วยงาน และชุมชน มีผลการประเมินความพึงพอใจคุณภาพผู้เรียน วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ทั้ง3ด้าน เฉลี่ยร้อยละ80 หรือค่าเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน มาตรฐานวิชาชีพตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร เทียบ ร้อยละกับจานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร จาแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของวิทยาลัย ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพร้อยละ 80 ขึ้นไปของผู้เรียนที่จบการศึกษาทั้งหมด เกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ระดับ ปวช. ประเมินทฤษฎี 20 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม ประเมินปฏิบัติ 80 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม รวม 100 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 65 ระดับ ปวส. ประเมินทฤษฎี 40 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม ประเมินปฏิบัติ 60 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม รวม 100 % ต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพตามเกณฑ์ประเมินมาตรฐานวิชาชีพร้อยละ80 ขึ้น ไปของผู้เรียนที่จบการศึกษาทั้งหมด ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน อาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 ที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สทศ.) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปเทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียน ที่ ลงทะเบียนเข้าทดสอบ จาแนกตามระดับชั้น ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของ วิทยาลัย
  • 5. มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.4 ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน อาชีวศึกษาเฉลี่ย ร้อยละ 55 ขึ้นไป ของผู้เข้าสอบทั้งหมด ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน อาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไปในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับชั้น ปวช. 3 และ ปวส. 2 ที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป ใน กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) (สทศ.) เทียบร้อย ละกับจานวนผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเข้าทดสอบ จาแนกตามระดับชั้น ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน และภาพรวมของวิทยาลัย มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.5 ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยในกลุ่มภาษาอังกฤษระดับชาติขึ้นไปจากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านอาชีวศึกษาเฉลี่ย ร้อยละ 55 ขึ้นไป ของผู้เข้าสอบทั้งหมด ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานอาชีพของสถาบันคุณวุฒิ วิชาชีพ หรือหน่วยงานที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษารับรอง(ตัวบ่งชี้นี้ไม่ ต้องประเมิน) คาอธิบาย จานวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบ มาตรฐานอาชีพของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรือหน่วยงานที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการ อาชีวศึกษารับรองเทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเข้ารับการทดสอบมาตรฐานอาชีพ จาแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน และภาพรวมของวิทยาลัย (การผ่านเกณฑ์การ ทดสอบมาตรฐานอาชีพของผู้เรียนให้เป็นไปตามที่สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรือหน่วยงานที่ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษารับรอง ได้กาหนดไว้) มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ในตัวบ่งชี้ กรมอาชีวศึกษายังไม่ได้ทาการประเมินเนื่องจากยังไม่มีสถาบันคุณวุฒวิชาชีพมา รองรับ จึงไม่มีการวางเป้าหมาย ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า คาอธิบาย จานวนผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ตามเกณฑ์การ สาเร็จการศึกษาเทียบร้อยละกับจานวนผู้เรียนแรกเข้าของรุ่นนั้น จาแนกตามประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน และภาพรวมของวิทยาลัย
  • 6. มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.7 ผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรเมื่อเทียบกับแรกเข้าต้องมีผู้สาเร็จการศึกษา ร้อยละ 70 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ ภายใน 1 ปี คาอธิบาย จานวนผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ในปีการศึกษาที่ ผ่านมาที่ได้งานทาในสถานประกอบการ หน่วยงาน ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาต่อภายใน 1 ปี เทียบร้อยละกับจานวนผู้สาเร็จการศึกษา จาแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและ ภาพรวมของวิทยาลัย มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.8 ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยในกลุ่มภาษาอังกฤษระดับชาติขึ้นไปจากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านอาชีวศึกษาเฉลี่ย ร้อยละ 55 ขึ้นไป ของผู้เข้าสอบทั้งหมด ตัวบ่งชี้ที่ 1.9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือสถานศึกษา หรือ ผู้รับบริการ ที่มีต่อคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา คาอธิบาย วิทยาลัยมีการประเมินความพึงพอใจที่มีผลคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา ใน 3 ด้าน คือ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และด้าน สมรรถนะวิชาชีพ โดยกาหนดกลุ่มตัวอย่างจากสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือกลุ่มสถานศึกษา หรือกลุ่มผู้รับบริการรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจานวนสถานประกอบการ หน่วยงาน สถานศึกษา ผู้รับบริการ มีการสร้างเครื่องมือประเมินความพึงพอใจ โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างและนาข้อมูลมาวิเคราะห์ผลอย่างถูกต้อง คุณภาพของผู้เรียนใน ๓ ด้าน คือ 1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม ลักษณะนิสัยและทักษะทางปัญญา 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และปฏิบัติงาน การทางานร่วมกับผู้อื่น การใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน 3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะในสาขาวิชาชีพ สู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ สถานประกอบการ หน่วยงาน หมายถึง สถานประกอบการและหน่วยงานทั้งของภาครัฐและ เอกชน ที่รับผู้สาเร็จการศึกษาเข้าทางาน สถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนที่รับผู้สาเร็จการศึกษาเข้าศึกษาต่อ ผู้รับบริการ หมายถึง บุคคลหรือสถานประกอบการ หน่วยงานที่รับบริการจากการประกอบ อาชีพอิสระของผู้สาเร็จการศึกษา
  • 7. มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1.9 สถานประกอบการ หน่วยงาน สถานศึกษา หรือผู้รับบริการมีการประเมินความพึงพอใจต่อ คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา ทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับ3.51 ขึ้นไป มาตรฐานที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา จานวน5 ตัวบ่งชี้ พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของสถาน ประกอบการหรือประชาคมอาเซี่ยน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยเทคนิควิธิการสอนที่หลากหลาย มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงปรสงค์และ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้อง กับความต้องการของสถานประกอบการ หรือประชาคมอาเซียน อธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา โดย กาหนดรายวิชาใหม่ หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม เกี่ยวกับเนื้อหาสาระ โดยร่วมกับสถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการหรือประชาคม อาเซียน มาตรฐานสถาศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.1 วิทยาลัยมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะตามความต้องการของสถานประกอบการหรือ หน่วยงานไม่น้อยกว่า ร้อยละ50 ของรายวิชาที่จัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาด้วยเทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลายที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ครูผู้สอนมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพ และการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทุกรายวิชาที่สอน ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ระดับคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินการให้ครูใช้สื่อและ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ให้มีการนิเทศการจัดการเรียนการสอนและให้ครูทาบันทึกหลังการสอน ให้ครู นาผลจากการสอนด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย และผลการนิเทศการจัดการเรียนการสอนไป จัดทาวิจัยและนาผลจากการวิจัยไปใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน
  • 8. งานวิจัยของครูต้องครอบคลุมกระบวนการต่อไปนี้ 1. มีเป้าประสงค์ 2. มีการระบุปัญหา 3. มีวิธีการดาเนินการ 4. มีการเก็บและบันทึกข้อมูล 5. มีการวิเคราะห์และสรุปผลความรู้ที่ได้จากการดาเนินการ มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.3 1. ครูผู้สอนทุกคนสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอนได้ ไม่ น้อยกว่า ร้อยละ80 ของรายวิชาที่สอน 2. ครูผู้สอนทุกคนต้องมีงานวิจัยและสามารถนาไปแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนการ สอนได้ไม่น้อยกว่า1 รายวิชาที่สอน ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนรายวิชา คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูทุกคน และแจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการวัดและ ประเมินผลให้ผู้เรียนทราบก่อนการจัดการเรียนการสอน มีการวัดและประเมินผล ตามแผน การ จัดการเรียนรู้ใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะสม ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัด และประเมินผล และนาผลจากการวัดและประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน ที่มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพ และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกรายวิชาที่สอน มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ครูผู้สอนทุกคนต้องนาเอาผลจากการวัดผลประเมินผลไปใช้ในการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงาน คาอธิบาย วิทยาลัยมีการคัดเลือก สถานประกอบการ หน่วยงาน และทาความ ร่วมมือในการส่งผู้เรียนเข้าฝึกงาน ตามหลักสูตร มีการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนการฝึกงานพร้อมมีคู่มือ การฝึกงาน มีการนิเทศการฝึกงานของผู้เรียนในสถานประกอบการ หน่วยงาน มีการวัดผลการฝึกงาน ของผู้เรียนร่วมกับสถานประกอบการ หน่วยงาน มีการสัมมนาการฝึกงานของผู้เรียนร่วมกับสถาน ประกอบการ หน่วยงาน เพื่อนาผลไปปรับปรุง มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ผู้เรียนเข้าฝึกงานในสถานประกอบการโดยมีกระบวนการวัดผลการฝึกงานร่วมกับสถาน ประกอบการและมีการสัมมนากับสถานประกอบการเพื่อนาผลไปปรับปรุง
  • 9. มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา จานวน 12 บ่งชี้ บริหารจัดการอาชีวศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน มีคณะกรรมการสถานศึกษาหรือ วิทยาลัย มีการจัดทาแผนบริหารจัดการสถานศึกษา มีการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์ ผู้บริหารมี ภาวะผู้นา มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ มีการบริหารความเสี่ยงมีระบบดูแล ผู้เรียน มีการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์อาคารสถานที่ มีการบริหารจัดการวัสดุครุภัณฑ์ มี การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการบริหารการเงินและงบประมาณมีการระดมทรัพยากรใน การจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย คาอธิบาย คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยของสถานศึกษา แต่ละสังกัดและ อานาจหน้าที่ให้ถือปฏิบัติดังนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 และกฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ การสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ การประชุม วาระการดารงตาแหน่ง และการพ้น จากตาแหน่งของคณะกรรมการวิทยาลัย พ.ศ. 2553 สถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. โรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 สถานศึกษาอาชีวศึกษาสังกัดอื่น ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยในการ ปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกให้ใช้แบบประเมิน มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มิได้ปฏิบัติงานใน สถานศึกษาและไม่ได้เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ซึ่งสถานศึกษาเป็นผู้เสนอและ คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ ให้ทาหน้าที่ประเมินความพึงพอใจของ คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ในการปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษา และประเมินคุณภาพ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ซึ่งบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ทาหน้าที่ ประเมิน ๒ ด้านดังกล่าว อาจเป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันก็ได้ การประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย ในการ ปฏิบัติงานร่วมกับสถานศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษารับทราบข้อมูลและนาผลไปปรับปรุง การดาเนินงานต่อไป ให้ใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 การประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย มี วัตถุประสงค์เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย รับทราบข้อมูลและนาผลไปพัฒนา คุณภาพการปฏิบัติงาน ตามอานาจหน้าที่ที่กาหนดไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • 10. มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.1 สถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ1 ครั้ง และมีการ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาโดยมีผลการประเมิน 3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทาแผนการบริหารจัดการสถานศึกษา คาอธิบาย วิทยาลัยจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยการมี ส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนและมีการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา มีการ ดาเนินงานตามแผน มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และเสนอข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง พร้อมทั้งจัดทารายงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.2 สถานศึกษามีการจัดทาแผนพัฒนาการจักการศึกษาโดยมีส่วนร่วมของครู บุคลากร ผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ มีการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ประเมินผล และจัดทารายงานตามแผนการ ปฏิบัติงานประจาปี โดยดาเนินการตามวงจรPDCA ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ระดับคุณภาพในการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์ คาอธิบาย วิทยาลัยมีการพัฒนาสถานศึกษาตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง สถานศึกษา ตามอัตลักษณ์ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาหรือวิทยาลัยโดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ชุมชน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณะของผู้เรียนตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.3 สถานศึกษามีการกาหนดอัตลักษณ์โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา และจัดทาโครงการที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของผู้เรียนโดยมีการประเมินผลโครงการเพื่อนาไป ปรับปรุง ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ระดับคุณภาพในการบริหารงานและภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา คาอธิบาย ผู้บริหารสถานศึกษามีการบริหารงานตามนโยบายของหน่วยงานต้น สังกัดโดยใช้ภาวะผู้นาและการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องและมีการประเมินผลการบริหารงานและ ภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาโดยคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัย โดยใช้แบบประเมิน มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการสถานศึกษา
  • 11. มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.4 สถานศึกษามีการจัดประชุมครูและบุคลากรในสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ2 ครั้ง และ มีการจัดประชุมผู้ครองอย่างน้อยภาคเรียนละ1 ครั้ง โดยนาความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ จัดการศึกษามาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา และมีการประเมินภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา โดยคณะกรรมการสถานศึกษามีผลเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของ สถานศึกษา คาอธิบาย วิทยาลัยมีระบบข้อมูลสารสนเทศและมีระบบสารองข้อมูลสารสนเทศ เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล โดยมีข้อมูลพื้นฐานอย่างน้อย๙ ประเภท ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของ สถานศึกษา ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ข้อมูลตลาดแรงงาน ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลงบประมาณและ การเงิน ข้อมูลหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูลอาคารสถานที่ และข้อมูล พื้นฐานของจังหวัด โดยข้อมูลจะต้องครบถ้วน เชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ และเป็นปัจจุบัน มีการ ดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ จาก ฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและมีการประเมินความพึงพอใจ ในการบริหารจัดการระบบ ฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน โดยใช้ แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.5 1.สถานศึกษามีข้อมูลพื้นฐาน9 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลสถานประกอบการ ข้อมูลจังหวัด ข้อมูลอาคารสถานที่ ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูล งบประมาณ ข้อมูลหลักสูตร 2. ครู บุคลากร นักเรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล สารสนเทศ 3. ครู บุคลากร นักเรียนประเมินความพึงพอใจในการบริหารจัดระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ของสถานศึกษามีระดับความพึงพอใจเฉลี่ย3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 3.6 ระดับคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง คาอธิบาย วิทยาลัยมีการวิเคราะห์และจัดทาแผนงาน โครงการบริหารความเสี่ยงที่ สาคัญอย่างน้อย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านการทะเลาะวิวาท ด้านสิ่งเสพติด ด้านสังคม ด้านการพนันและการมั่วสุม โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาผู้เรียนและ ผู้ปกครอง มีการดาเนินงาน ตามแผนงาน โครงการ มีการประเมินผลและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และมี ผลทาให้ความเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดลง
  • 12. มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.6 สถานศึกษามีแผนงานบริหารความเสี่ยงทั้ง 5 ด้านโดยมีส่วนร่วมของครูบุคลากรผู้เรียนและ ผู้ปกครอง และโดยมีความเสี่ยงลดลงทั้ง5 ด้าน และนาผลการประเมินโครงการไปพัฒนาปรับปรุง แผน ตัวบ่งชี้ที่ 3.7 ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแลผู้เรียน คาอธิบาย วิทยาลัยจัดระบบดูแลผู้เรียนโดยมีการปฐมนิเทศผู้เรียน มีการแต่งตั้งครูที่ ปรึกษา มีระบบเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อร่วมกันดูแลผู้เรียน ส่งเสริมสนับสนุนทุนการศึกษาแก่ผู้เรียน มี ระบบดูแลผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงและส่งเสริมผู้เรียนปัญญาเลิศ มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.7 สถานศึกษาจัดทาแผนงานจัดระบบดูแลนักเรียน ผู้จานวนผู้เรียนออกกลางคันลดลง ตัวบ่งชี้ที่ 3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของ สถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทยบริการ คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของ สถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทยบริการ มีการ ประเมินความพึงพอใจโดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 และมีการนาผล การประเมินไปปรับปรุงการบริหารจัดการ โดยการมีส่วนร่วมของครู และบุคลากรทุกฝ่ายใน สถานศึกษาและผู้เรียน มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.8 สถานศึกษามีการจัดทาแผนงานพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ของ สถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทยบริการโดยมี ส่วนรวมของครูบุคลากรทุกฝ่ายสถานศึกษา และมีการประเมินความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อม และ ภูมิทัศน์ของสถานศึกษาและการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานฝึก ศูนย์วิทย บริการ ของบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา มีคะแนนเฉลี่ย3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 3.9 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ คาอธิบาย วิทยาลัยมีการจัดหา การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา มีการประเมินความพึงพอใจของครู และ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 และมีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารจัดการ มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.9 สถานศึกษาจัดทาแผนงานจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ และมี การประเมินผลความพึงพอใจต่อการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และคอมพิวเตอร์ โดยมีค่าเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
  • 13. ตัวบ่งชี้ที่ 3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาใน ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ จัดหาทุนการศึกษา ทุนวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้มีโครงการแลกเปลี่ยนครูและบุคลากรทางการศึกษา กับสถานศึกษาอื่นหรือหน่วยงาน องค์กรภายนอกตรงกับสาขาวิชาชีพ มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม และส่งเสริม สนับสนุนให้ ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่อง คุณภาพชีวิต หมายถึง การดารงชีวิตอยู่ด้วยการมี สุขภาวะที่สมบูรณ์ และมีความมั่นคงซึ่ง ครอบคลุมสุขภาวะ ทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางสังคม และ สุขภาวะทางจิตและวิญญาณ มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.10 1. ครูและบุคลากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ได้รับการฝึกอบรมด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. สถานศึกษาสนับสนุนงบประมาณในการจัดทางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของ ครูไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 และได้รับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมไม่น้อย กว่าร้อยละ 75 3. ครูและบุคลากรในสถานศึกษาได้การประกาศเกียติคุณยกย่องด้านวิชาการและ วิชาชีพหรือจรรยาบรรณวิชาชีพจากองค์กรภายนอกไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและงบประมาณ คาอธิบาย วิทยาลัยมีการบริหารการเงินและงบประมาณ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติ การประจาปีของสถานศึกษา ในด้านวัสดุฝึก อุปกรณ์และสื่อสาหรับการจัดการเรียนการสอน การ บริหารวิชาการและวิชาชีพ การส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและผู้เรียนจัดทาและดาเนินการจัดประกวด จัดแสดงโครงการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย การดาเนินงานตามโครงการ กิจกรรม ด้านการปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.11 1. สถานศึกษาจัดทางบประมาณ โดยมีงบประมาณรายจ่ายค่าวัสดุฝึก อุปกรณ์และ สื่อสาหรับการจัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า ร้อยละ10 ของงบดาเนินการ 2. สถานศึกษามีรายได้หรือมีมูลค่าของผลผลิตจากใช้วัสดุฝึกในการจัดการเรียนการ สอนไม่น้อยกว่าร้อยละ25 ของค่าวัสดุฝึก 3. สถานศึกษามีรายจ่ายในการส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนจัดทาโครงงานหรืองานวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ5 ของงบดาเนินการ
  • 14. ตัวบ่งชี้ที่ 3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษา กับเครือข่ายทั้ง ในประเทศและ หรือต่างประเทศ คาอธิบาย สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย ทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศ ในด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาน ประกอบการ งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ และมีการประเมินผลการดาเนินงานเพื่อการ ปรับปรุง มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 3.12 สถานศึกษามีการจัดทาแผนงานการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับ เครือข่ายทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ โดยจัดหาภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือผู้เชี่ยวชาญร่วมพัฒนา ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ของจานวนสาขางานและมีสถานประกอบการรวมกันจัดการศึกษาไม่ น้อยกว่า 20 แห่ง มีรายการระดมทรัพยากร เช่น งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เพื่อสนับสนุน การจัดการศึกษา ไม่น้อยกว่า 5 รายการ และนาผลการดาเนินงานไปปรับปรุง มาตรฐานที่ 4 ด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพ จานวน 1 ตัวบ่งชี้ บริการวิชาการและวิชาชีพสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการวิชาการและวิชาชีพ คาอธิบาย วิทยาลัยมีการบริหารจัดการ การบริการวิชาการและวิชาชีพ โดยการมีส่วน ร่วมของครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนทุกสาขางาน และมีการประเมินความพึง พอใจของผู้รับบริการ โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สถานศึกษามีแผนงานบริการวิชาการและวิชีพ โดยแต่ละสาขามีโครงการไม่น้อยกว่า 2 โครงการต่อปีมีนักเรียนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ60 และมีการประเมินความพึง พอใจจากผู้รับบริการมีผลการประเมินเฉลี่ย3.51 ขึ้นไป มาตรฐานที่ 5 ด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์หรืองานวิจัย จานวน2 ตัวบ่งชี้ ส่งเสริมให้ครู และผู้เรียนจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ประโยชน์ ตลอดจนมีการเผยแพร่
  • 15. ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ งานวิจัยของผู้เรียน คาอธิบาย วิทยาลัยมีการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนระดับชั้น ปวช. 3 และ ระดับชั้น ปวส. 2 จัดทาโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ตามรายวิชาโครงการ และ อื่นๆ และจัดให้มีการประกวด แสดงและเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งการนาผลงานไปใช้ประโยชน์ใน สถานศึกษามีการส่งเสริมให้เข้าร่วมแสดง แข่งขันและได้รับรางวัลหรือนาไปใช้ประโยชน์ในระดับ ชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 5.1 1. สถานศึกษามีแผนงานจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของ ผู้เรียน 2. นักเรียนร้อยละ 5 ได้นาโครงงานหรือ งานวิจัยไปใช้ประโยชน์หรือได้รับรางวัลระดับ ชุมชนขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู คาอธิบาย วิทยาลัยมีการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ หรืองานวิจัย และจัดให้มีการประกวด จัดแสดงและเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งการนาผลงาน ไปใช้ประโยชน์ในสถานศึกษามีการส่งเสริมให้เข้าร่วมแสดง แข่งขันและได้รับรางวัลหรือนาไปใช้ ประโยชน์ในระดับชุมชน จังหวัด ภาค และชาติ งานวิจัยของครูต้องครอบคลุมกระบวนการต่อไปนี้ 1. มีเป้าประสงค์ 2. มีการระบุปัญหา 3. มีวิธีการดาเนินการ 4. มีการเก็บและบันทึกข้อมูล 5. มีการวิเคราะห์และสรุปผลความรู้ที่ได้จากการดาเนินการ มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 5.2 1. สถานศึกษามีแผนงานจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัยของครู 2. ครูร้อยละ 5 ได้นาโครงงานหรือ งานวิจัยไปใช้ประโยชน์หรือได้รับรางวัลระดับชุมชน ขึ้นไป
  • 16. มาตรฐานที่ 6 ด้านการปลูกฝังจิตสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและ ของเศรษฐกิจพิเพียงและส่งเสริมกีฬาและนันทนาการพลโลก ปลูกฝังจิตใจสานึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ทะนุบารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ปรัชญา ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทะนุบารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และ ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และทะนุบารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม มีการประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการ กิจกรรม โดยครูและบุคลากร ทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และผู้เรียน เพื่อนาผลไปปรับปรุง มีการบริหารจัดการ และมีการประเมิน ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีภาพลักษณ์ของสถานศึกษา โดยใช้แบบประเมิน มาตราส่วนประมาณค่า(Rating scale) 1-5 ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริม การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและทะนุบารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และมีการประเมินผลความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของ สถานศึกษาโดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และ ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม การปลูกฝังจิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีการ ประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการ กิจกรรม โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและ ผู้เรียน เพื่อนาผลไปปรับปรุง มีการบริหารจัดการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง ภายนอกสถานศึกษาที่มีภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้น ไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา
  • 17. มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.2 สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีการประเมินผล ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ คาอธิบาย วิทยาลัยดาเนินการให้ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาทุกคน และ ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ กิจกรรม ด้านการกีฬาและนันทนาการ มีการประเมินผลการดาเนินงาน ตามโครงการ กิจกรรม โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อนาผลไปปรับปรุง มี การบริหารจัดการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มีภาพลักษณ์ ของสถานศึกษา โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้น ไปให้นับเป็นจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมตามประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.3 สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านด้านการกีฬาและนันทนาการและมีการ ประเมินผลความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยมี คะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คาอธิบาย วิทยาลัยมีการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงให้แก่ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ มีแผน โครงการในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการมีส่วนร่วมของ ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา และผู้เรียน มีการดาเนินงานตามแผน โครงการและมีการ ประเมินผลการดาเนินงาน โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียน เพื่อนาผลไป ปรับปรุงการบริหารจัดการ และมีการประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องภายนอกสถานศึกษาที่มี ต่อการปลูกฝังจิตสานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 1-5 มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 6.4 สถานศึกษามีแผนงานการปลูกฝังจิตสานึกด้านด้านการกีฬาและนันทนาการและมีการ ประเมินผลความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาที่มีต่อภาพลักษณ์ของสถานศึกษาโดยมี คะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป
  • 18. มาตรฐานที่ 7 ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา จานวน2 ตัวบ่งชี้ จัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดาเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 และนาผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพภายใน คาอธิบาย วิทยาลัยจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วยการประเมินคุณภาพภายในการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยดาเนินการตามที่กาหนดไว้ใน กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 7.1 1. สถานศึกษามีการกาหนดมาตฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยมีส่วนรวมของบุคลากร ทุกฝ่ายชุมชน และสถานประกอบการ 2. สถานศึกษามีแผนพัฒนาสถานศึกษาและปฏิบัติตามแผนงาน เป็นวงจรคุณภาพPDCA 3. สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี 4. สถานศึกษามีการพัฒนาจากผลการประเมินภายในและประเมินภายนอก ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ระดับคุณภาพในการดาเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 คาอธิบาย วิทยาลัยมีการดาเนินงานตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 ส่วนที่ 1 การจัดการอาชีวศึกษา 7 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้ และแสดงถึงคุณภาพของการดาเนินงานในแต่ละตัว บ่งชี้โดยมีผลการตัดสินของตัวบ่งชี้ได้ตามเกณฑ์สูงสุดในระดับ 5 คะแนน ดีมาก มาตรฐานสถานศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 7.2 สถานศึกษามี่ผลการประเมินคุณภาพภายในอยู่ในระดับดีขึ้นไป
  • 20. ตามที่วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวชได้นาเสนอใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 โดยใช้เป็นเป้าหมาย ในการจัดการอาชีวศึกษาในสถานศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน และด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ซึ่งมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2555 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การจัดการ อาชีวศึกษามีจานวน 7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชี้ ที่กาหนดคุณลักษณะ คุณภาพและมาตรฐานการจัดการ อาชีวศึกษา ที่พึงประสงค์ สดอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการผลิตและ พัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคโนโลยีสู่ตลาดแรงงาน รวมทั้งเป็นการยกระดับ การศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้น คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช จึงได้พิจารณาแล้ว มีมติอนุมัติให้ใช้ มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 เพื่อการประกันคุณภาพภายใน เป็นมาตรฐานการศึกษาของ วิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ตามที่นาเสนอ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการส่งเสริม การกากับดูแล การ ตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัยเทคโนโลยี พัฒนเวช ลงชื่อ........................................................... ( นายศิริศักดิ์ มาลีเวช ) ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช ............../........../...............