SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
1



                                                           บทที่1 บทนํา

                    ความสําคัญและที่มาของปญหางานวิจัย

                            ในอดีตที่ผานมาการศึกษาในระดับสูงยังมีความตองการไมมาก จึงทําใหผูที่ศึกษาอยูนั้นไม
                    มีความตองการที่จะเรียนตอในระดับที่สูงขึ้นและการเขาศึกษาในระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก
                    มีสถาบันการศึกษาที่มีโครงการในระดับมหาบัณฑิตขึ้นไปนั้นเฉพาะในตางประเทศ ตอมาใน
                    ประเทศไทยก็เริ่มที่จะมีสถาบันการศึกษาที่มีโครงการในระดับมหาบัณฑิต และไดมีการวางแผน
                    การศึกษาในระดับสูงกวาปริญญาตรีมาอยางตอเนื่อง เพราะเห็นวาเปนการศึกษาที่มีจุดมุงหมายที่
                    จะพัฒนาความรู ความเชี่ยวชาญ แนวคิดวิธีการปฏิบัติเฉพาะสาขา เพื่อใหผูที่ไดรับการศึกษา
                    สามารถปรับสภาพในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองและเหมาะสม เปนการเพิ่มพูนศักยภาพและ
                    มาตรฐานการทํางานของบุคคลใหมีประสิทธิภาพ ปจจุบันการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาใน
                    สถาบันของรัฐและเอกชนมีเพิ่มมากขึ้น เปนการเปดโอกาสใหผูที่ตองการแสวงหาความรูและ
                    ประสบการณ สามารถเลือกเขาศึกษาตอไดตามความตองการ เพื่อสามารถศึกษาตอควบคูไปกับ
                    การทํางานได การศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนเสมือนแหลงความรูที่จะเสริมความกาวหนาทาง
                    วิชาการ เพื่อใชเปนปจจัยในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย อันเปนปจจัยพื้นฐานในการพัฒนา
                    ประเทศ บุคคลทั่วไปจึงใหความสําคัญแกการศึกษา โดยมีแนวคิดวาผูที่มีการศึกษาสูงจะมีโอกาส
                    เจริญกาวหนาในดานตาง ๆ ไดดีกวา ดังนั้นบุคคลทั่วไปจึงพยายามที่จะศึกษาใหถึงระดับสูงที่สุด
                    คือ ระดับอุดมศึกษา จนมีคํากลาววาสังคมไทยเปนสังคมที่นิยมคนที่มีปริญญา โดยเฉพาะอยางยิ่ง
                    การศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรี ซึ่งเปนการศึกษาที่มุงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาความรูและทักษะ
                    ในสาขาวิชาการเฉพาะทางใหมีความชํานาญยิ่งขึ้น มุงสรางสรรคความกาวหนาและความเปนเลิศ
                    ทางวิชาการ โดยเฉพาะการศึกษาคนควาวิจัยและพัฒนาองคความรู ซึ่งปจจุบันการศึกษาตอใน
                    ระดับปริญญาโทนั้น ไดมีผูนิยมเขาศึกษาตอกันมากขึ้น เนื่องจากระบบการศึกษาระดับตนๆ ใน
                    ประเทศไทยไดขยายตัวมากขึ้น และปจจุบันมีอาจารยที่จบการศึกษาทั้งในระดับปริญญาโทและ
                    ปริญญาเอกจากตางประเทศเปนจํานวนมาก ทําใหสามารถเปดสอนในระดับปริญญาโทได
                    กวางขวางยิ่งขึ้น ปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอการเรียนทีสําคัญอีกอยางก็คือ คานิยมในปริญญา การ
                                                                           ่
                    ไดรับปริญญาขั้นสูงจะมีประโยชนในการทํางาน ลักษณะการทํางานหลายอยางในประเทศไทย



PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
2



                    ขึ้นอยูกับปริญญา ไมไดขึ้นอยูกับประสบการณและความรูความสามารถเพียงอยางเดียว คนที่มี
                    ปริญญาสูงเทานั้นที่จะสามารถเลื่อนไปสูตําแหนงที่สูง ๆ บางตําแหนงได นอกจากนี้ยังมีสาเหตุ
                    อื่น ๆ อีก เชน เรียนจบปริญญาตรีแลวยังหางานทําไมไดจึงเรียนตอระดับปริญญาโทเพื่อชะลอการ
                    วางงาน นอกจากนี้การเรียนปริญญาโทเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน เพราะมี
                    สถาบันการศึกษาหลายแหงเปดสอนปริญญาโทหลังเลิกงาน จึงมีผูที่ตองการศึกษาหาความรู
                    เพิ่มเติมเปนจํานวนมาก นอกจากนี้บางคนยังเห็นวาการศึกษาตอระดับปริญญาโทเปนแฟชั่นอยาง
                    หนึ่งในสังคมปจจุบันเปนเรื่องของนักศึกษาที่พยายามจะพัฒนาตัวเอง เพราะปจจุบันภาวะ
                    เศรษฐกิจดีขึ้น ทําใหการแขงขันคอนขางสูง การไดพัฒนาตัวเองก็เปนสวนหนึ่งที่จะสามารถนําให
                    กาวไปสูความสําเร็จในหนาที่การงานได ซึ่งการตัดสินใจในการศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษานั้นแต
                    ละคนอาจมีเหตุผล มีแรงจูงใจแตกตางกันไป เชน ตองการไดรับความรูและประสบการณเพิ่มขึ้น
                    เพื่อนําไปพัฒนางานในหนาที่ใหเจริญกาวหนา ตองการเพิ่มวุฒิทางการศึกษา เพื่อนําไป
                    ประกอบการแสวงหาความกาวหนาและความมั่นคงในชีวิต บางคนอาจมีความมุงหวังเพื่อใหเปนที่
                    ยอมรับของสังคม และความมีชื่อเสียงเกียรติยศ นอกจากนี้เหตุจูงใจในการศึกษาตอของบุคคลในแต
                    ละระดับจะแตกตางกันออกไปตามวัย ฐานะ และโอกาส ความคิดเกี่ยวกับการเรียนอาจจะเริ่มมีแนว
                    หันเหเขาหาผลทางเศรษฐกิจ เชน เรียนในสาขาวิชาที่หางานทําไดงาย มีรายไดดี ไมตองทํางาน
                    หนักและที่สําคัญตองเปนงานประเภทที่ตนมีใจรักและชอบที่จะทําดวย บางครั้งการเลือกเรียนตอ
                    ในระดับบัณฑิตศึกษา มักขึ้นอยูกับคานิยมของผูปกครอง เนื่องจากมีความเห็นวาการเรียนในระดับ
                    บัณฑิตศึกษานั้นจะทําใหบุตรหลานมีโอกาสไดงานดี ๆ ทํา มีเงินเดือนสูง เปนเจาคนนายคน เปน
                    ที่เชิดหนาชูตาของวงศตระกูล ครอบครัวใดมีฐานะทางเศรษฐกิจดีก็จะพยายามสงบุตรหลานใหได
                    เรียนจนถึงระดับสูงสุด อาจเรียนจนถึงระดับปริญญาเอก เทาทีสติปญญาจะเอื้ออํานวยใหเรียนได
                                                                            ่

                            จากความสําคัญของการศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา จึงมีนิสิตจํานวนมากมาศึกษาตอ
                    เพราะตองการพัฒนาศักยภาพของตนเองใหมีความรูความสามารถ และประสบการณใหมากยิ่งขึ้น
                    เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม
                    ความกาวหนาทางวิชาการ ตลอดจนความเจริญทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เปนไปอยาง
                    รวดเร็ว จึงตองพัฒนาตัวเองเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงดังกลาว มิฉะนั้นแลวจะกลายเปนผูลา
                    หลัง นอกจากนี้ผูที่จบการศึกษาในระดับมหาบัณฑิตยังเปนที่ยอมรับของสังคม สงผลตอ



PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
3



                    ความกาวหนาในการทํางานในอนาคตตอไป จากการวิเคราะหรายดานพบวาเหตุจูงใจที่ทําใหนิสิต
                    เขาศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษานั้นขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ดังนี้

                    1. ปจจัยดานความครบถวนสมบูรณของสถาบันการศึกษา

                       1.1 มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรการเรียนการสอนตรงตามความตองการของนักศึกษา

                       1.2 มหาวิทยาลัยมีอุปกรณการสอนที่ทันสมัย

                       1.3 มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียง

                       1.4 อาจารยที่สอนมีชื่อเสียงและมีคุณภาพ

                       1.5 มีการทดลองปฏิบัติงานในสถานการณจริง

                       1.6 ความสะดวกสบายของหองเรียนและสวัสดิการของหองอเนกประสงคตาง ๆ

                    2. ปจจัยดานราคา

                       2.1 คาเลาเรียนมีความเหมาะสม

                       2.2 ระบบการจายคาเลาเรียนมีความสะดวก อาจมีการโอนผานบัญชีธนาคาร

                    3. ปจจัยดานสถานที่

                       3.1 มหาวิทยาลัยมีที่จอดรถกวางขวางและสะดวกสบายแกนักศึกษา

                       3.2 มีพื้นที่บริเวณมหาวิทยาลัยกวางขวางและมีสภาพแวดลอมที่ดี

                       3.3 สถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมีความสะดวกในการเดินทางและเปนศูนยกลางในการเดินทาง

                    4. ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด

                       4.1 ทางมหาวิทยาลัยมีการโฆษณาและประชาสัมพันธในสื่อตาง ๆ อยางทั่วถึง

                       4.2 ทางมหาวิทยาลัยมีระบบการผอนผันคาเลาเรียนหรือมีทุนการศึกษาให



PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
4



                    5. ปจจัยดานหนาที่การงาน

                            ผูที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโทสามารถเขาสูตําแหนงบางตําแหนงไดงายกวาผูจบ
                    การศึกษาในระดับปริญญาตรี เนื่องจากบางหนวยงานจะกําหนดคุณสมบัติของผูเขาสอบไวตั้งแต
                    ตอนเริ่มตน เนื่องจากเชื่อวาผูที่มีการศึกษาสูง นาจะมีวุฒิภาวะและประสบการณมากกวาผูที่มี
                    การศึกษาต่ํา

                    6. ปจจัยดานเหตุผลสวนตัว

                            ผูที่มาศึกษาตออาจมีเหตุผลสวนตัวในการเขาศึกษาตอ เพราะอยากมีชื่อเสียง เกียรติยศ
                    อยากไดชื่อวาเปนผูจบปริญญาโท ตองการที่จะไดรับความรูและประสบการณที่เปนประโยชนจาก
                    มหาวิทยาลัย โดยเนนที่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเนื้อหาวิชาเพื่อสามารถที่จะนําไป
                    ประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดจริง

                    7. ปจจัยดานอิทธิพลจากการชักจูงจากบุคคลและสื่อ

                            นิสิตบางคนเขามาศึกษาตอโดยการสนับสนุนหรือไดรับคําชี้แจงจากเพื่อน ครู อาจารยที่
                    เคยสอนมา ญาติพี่นองหรือสามี ภรรยาใหการสนับสนุน ตลอดจนไดทราบขาวการรับสมัครจาก
                    สื่อตางๆ เชน หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน เปนตน

                    8. ปจจัยดานการเปนสาขาวิชาที่ตรงกับความตองการของสังคม

                            เนื่องจากนิสิตสวนใหญ กอนตัดสินใจเขาศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษานั้น ตองมี
                    การศึกษาคนควาขอมูลเรื่องความตองการของตลาดแรงงานในปจจุบันวาเนนไปในสาขาวิชาใดและ
                    มีความตองการนิสิตที่จบปริญญาโทมากกวาปริญญาตรีมากนอยแคไหน

                            จังหวัดมุกดาหารเปนจังหวัดที่มีประชากรประมาณ 335880 คน และและยังมีประชาชนที่มี
                    เขตติดตอใกลเคียงกันอีกหลายจังหวัด ตลอดจนมีอาราเขตติดตอกับสาธารณะรัฐประชาธิปไตย
                    ประชาชนลาว และมีความสําคัญในบานะเปนเมืองทาสําคัญในการติดตอคาขายและเปนเสนทาง
                    คมนาคมเชื่อมตอระหวางเมืองสําคัญๆ ในกลุมประเทศลุมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion)
                    ประกอบดวย 6 ประเทศคือ ไทย จีน (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม กัมพูชา ลาว พมา หรือ ระเบียง



PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
5



                    เศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(GMS Economic Corridors )อีกดวย ทําใหจังหวัดมุกดาหาร
                    จําเปนที่จะตองมีสถาบันการศึกษาในระดับตางๆที่รองรับความตองการในการใหการศึกษาแก
                    ประชาชนดังกลาวเพื่อเปนการเตรียมพรอมในการตอนรับในการเปนในป 2558 ประเทศไทยจะกาว
                    เขาสูการเปนประชาคมอาเซียน ดังนั้นทุกภาคสวนจะตองรูเทาทันเพื่อปรับตัวใหทันตอเหตุการณ
                    ดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจังหวัดชายแดนที่ติดตอกับประเทศเพื่อนบานจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง
                    เรียนรูและปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของประเทศเพื่อนบานดวย จังหวัดมุกดาหารเปนจังหวัดที่มี
                    พื้นที่ติดชายแดน มีสะพานขามแมน้ําโขงแหงที่ 2 เพื่อเชื่อมตอไปสูสาธารณรัฐประชาธิปไตย
                    ประชาชนลาวและเวียดนามยุทธศาสตรของจังหวัดมุกดาหารจึงไดกําหนดใหมีสวนเกี่ยวของกับ
                    ตางประเทศทั้งดานการทองเที่ยวและการคา ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพัฒนาศักยภาพทรัพยากร
                    มนุษยและประชาชนในจังหวัดเพื่อรองรับ โดยการจัดใหมีการศึกษาระดับอุดมศึกษาขึ้นในจังหวัด
                    มุกดาหารเพื่อสามารถผลิตบัณฑิตรองรับตามยุทธศาสตรดังกลาวเนื่องจากจังหวัดมุกดาหารเปน
                    จังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ยังไมมีสถาบันอุดมศึกษาทั้งที่มีพื้นที่เชื่อมตอกับ
                    ตางประเทศดานทองเที่ยว ดานการคา เปนตน

                    รายละเอียดเกี่ยวกับ ศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร




                                         ภาพที่ 1 ปายวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร

                            สถานที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคือ วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร



PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
6



                    ตั้งอยูที่ถนนเลี่ยงเมือง จังหวัดมุกดาหาร ถาหากเดินทางออกจากจังหวัดสกลนคร ใหเลี้ยวขวาไป
                    ตามถนนเลี่ยงเมือง ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร จะอยูทางซายมือของถนน และหากเดินทางมา
                    จากจังหวัดอุบลราชธานีใหเลี้ยวซายไปตามถนนเลี่ยงเมือง เจอสี่แยกคําชะอี ใหตรงไปขางหนา
                    เรื่อยๆ สังเกตสถานที่เรียนจะอยูทางขวามือของถนน




                                      ภาพที่ 2 แผนที่ตั้งวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร

                            ศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร ไดถูกเปดขึ้นเพื่อใหโอกาสสําหรับการพัฒนาบุคลากรในทองถิ่น
                    จังหวัดมุกดาหารใหมีคุณวุฒิทางการศึกษา มีทักษะทางวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถ
                    พัฒนาสังคม ชุมชนทองถิ่นใหกาวทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว

                            โดยใชทรัพยากรรวมกันระหวางทองถิ่นและมหาวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาไมตองเดินทางไป
                    เรียนไกลจากบานของตนเอง ทําใหสามารถผลิตบัณฑิตที่เปนคนดี เปนคนเกง และมีจิตใจงดงาม
                    ออกไปรับใชชาติ สังคม ชุมชนทองถิ่น

                            มหาวิทยาลัยไดเปดโอกาสดานการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแกบุคลากรตางประเทศที่อยู
                    ในละแวกใกลเคียงอีกดวย




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
7



                           รายละเอียดเกี่ยวกับ งานจัดการศึกษาภายนอกมหาวิทยาลัย สํานักสงเสริมวิชาการและงาน
                    ทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

                    1. ขอมูลเบื้องตนของหนวยงาน

                           ที่ตั้ง อาคาร10 ชั้น 6 เลขที่ 680 หมู 11 ถนนนิตโย ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง
                           สกลนคร จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท 0-4274-3706, 0-4297-0021

                    2. ปรัชญา/ วิสัยทัศน/ พันธกิจ/ ปณิธาน/ จุดเนน

                      ปรัชญา

                           ใหโอกาสทางการศึกษา รวมสรางปญญาชนในทองถิ่น

                      วิสัยทัศน

                           เปนผูนําดานการจัดการอุดมศึกษาในทองถิ่นสรางเครือขายในการทํางาน ใหบริการทาง
                           วิชาการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล แกชุมชนบนพื้นฐานของการมีสวนรวม
                           เพื่อสรางสรรคประชาสังคมที่ดี

                       พันธกิจ

                            • รองรับความตองการทางการศึกษาของทองถิ่น โดยเปดโอกาสใหประชาชนไดรับ
                                   การศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ
                            • ผลิตและพัฒนากําลังคนเพื่อสนองความจําเปนในการพัฒนาทองถิ่นและประเทศชาติ
                            • สรางเครือขายการเรียนรูและการทํางานรวมกันระหวางสถาบันอุดมศึกษากับทองถิ่น
                                   ชุมชนตลอดจนประเทศเพื่อนบาน
                            • บริการงานวิชาการแกอาจารยและนักศึกษาทั้งที่กําลังศึกษาอยูและที่สําเร็จการศึกษา
                                   ไปแลวโดยยึดหลักความถูกตองเปนสําคัญ




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
8



                        ปณิธาน

                            • ตอบสนองนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
                            • จัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น
                            • เพื่อบริการทางการศึกษาใหทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

                        จุดเนน

                            • บัณฑิตเปนคนดี มีจิตสาธารณะ และมีทักษะวิชาชีพ โดยมีอาจารยและบุคลากรเปน
                                  แบบอยาง
                            • นักศึกษามีจริยธรรม โดยเนนเชิงปฏิบัติ
                            • นักศึกษามีเอกลักษณ/จุดเดน/สูงาน/เปนคนดี
                            • นักศึกษามีระเบียบวินัย
                    3. ประวัติความเปนมา

                            ในภาคเรียนที่ 3/2543 เปดศูนยการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อตอบสนองความตองการ
                    ของชุมชนทองถิ่นโดยเฉพาะสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ในอําเภอวานรนิวาสและ
                    อําเภอขางเคียง โดยใชศูนยการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอวานรนิวาสเปนที่ตั้งศูนยฯ เปดการเรียน
                    การสอนในโปรแกรมวิชาพัฒนาชุมชน หลักสูตรอนุปริญญา 2 ปตอเนื่อง

                            ตอมาในภาคเรียนที่ 1/2544 ผศ.นิพนธ อินสินและคณะ ไดทําการเปดศูนยอุดมศึกษา
                    มุกดาหารขึ้นอีก โดยทานผูวาราชการจังหวัดมุกดาหาร ทานผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพนวมินท
                    ราชินีมุกดาหาร ประชาชนชาวจังหวัดมุกดาหารใหความรวมมือและใหการสนับสนุนเปนอยางดี
                    เปดการเรียนการสอนในตอนแรกคือ โปรแกรมวิชาประถมศึกษา โปรแกรมวิชาการศึกษาประถม
                    วัย โปรแกรมวิชาการจัดการทั่วไป จํานวน 3 หมูเรียนและในภาคเรียนที่ 2/2544 จึงไดเปดโปรแกรม
                    วิชารัฐประศาสนศาสตร (รปศ.) อีก 1 หมูเรียน

                            ศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร ไดถูกเปดขึ้นเพื่อใหโอกาสสําหรับการพัฒนาบุคลากรในทองถิ่น
                    จังหวัดมุกดาหารใหมีคุณวุฒิทางการศึกษา มีทักษะทางวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถ




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
9



                    พัฒนาสังคม ชุมชนทองถิ่นใหกาวทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วโดยใชทรัพยากรรวมกัน
                    ระหวางทองถิ่นและมหาวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาไมตองเดินทางไปเรียนไกลจากบานของตนเอง ทําให
                    สามารถผลิตบัณฑิตที่เปนคนดี เปนคนเกง และมีจิตใจงดงาม ออกไปรับใชชาติ สังคม ชุมชน
                    ทองถิ่นมหาวิทยาลัยไดเปดโอกาสดานการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแกบุคลากรตางประเทศที่อยูใน
                    ละแวกใกลเคียงอีกดวย

                    คณะที่เปด

                    คณะวิทยาการจัดการ

                           การบัญชี ปวสหรืออนุปริญญา ระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา เรียนที่ศูนยอุดมศึกษา
                           มุกดาหาร

                           การจัดการทั่วไป ปวสหรืออนุปริญญา ระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา เรียนที่ศูนย
                           อุดมศึกษามุกดาหาร

                           คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวสหรืออนุปริญญา ระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา เรียนที่ศูนย
                           อุดมศึกษามุกดาหาร

                    ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

                           ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของ
                    สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พ.ศ. 2552เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐใชเปนแนวทางในการจัด
                    การศึกษานอกสถานที่ตั้ง อยางมีคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา โดยมีรายละเอียด คือ

                    “นอกสถานที่ตั้ง ” หมายความวา สถานที่จัดการศึกษาอื่นใดของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งมิใช
                    เปนที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา “ สภาสถาบัน ” หมายความวา สภาสถาบันอุดมศึกษาแตละแหง
                    สถาบันอุดมศึกษาจะจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งดวยวิธีการเรียนการสอนในชั้นเรียนหรือวิธีการ
                    เรียนการสอนในระบบ การศึกษาทางไกลทั้งหลักสูตรหรือเฉพาะบางสวนตามที่สภาสถาบัน
                    กําหนดก็ได  การจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ใหจัดการศึกษาในที่ตั้งเปนหลักเวนแต มี




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
10



                    เหตุผลและความจําเปนเพื่อประโยชนตอการจัดการเรียนการสอน แกผ ูเรียน สถาบันอุดมศึกษาจะ
                    จัด การศึกษานอกสถานที่ตั้งก็ไดตามเงื่อนไข ดังตอไปนี้

                            1. จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรเดิมที่ไดเปดสอนในที่ตั้งแลว

                           2. ดําเนินการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานครบถวนตามเกณฑมาตรฐาน
                               หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ

                           3. จัดการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงคของหลักสูตรและ มี
                               การประเมินผลเพื่อพัฒนาหลักสูตร จัดสิ่งสนับสนุนทางการศึกษาใหเพียงพอ
                               เชนเดียวกับการจัดการศึกษาในที่ตั้ง

                           4. จัดสิ่งสนับสนุนทางการศึกษาใหเพียงพอเชนเดียวกับการจัดการศึกษาในที่ตั้ง

                           5. จัดใหมีการใหคําปรึกษาทางวิชาการ การแนะแนวอาชีพ การจัดบริการสวัสดิการ
                               นักศึกษา และบริการดานอื่นใหมีมาตรฐานเชนเดียวกับการจัดการศึกษาในที่ตั้ง

                           6. จัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการจัดการศึกษา มีความปลอดภัยและมีสิ่งอํานวย
                               ความสะดวกอยางเพียงพอ

                           7. ปฏิบัติตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัด
                               การศึกษาตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด

                           ใหอธิการบดีขออนุญาตจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งตอสภาสถาบัน พรอมทั้งเสนอ
                    เอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณา โครงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งที่มีรายละเอียด
                    เกี่ยวกับรูปแบบ วิธ ีการและ ระยะเวลาจัดการศึกษา พรอมทั้งที่ตั้งและแผนผังแสดงบริเวณและ
                    อาคาร โดยจะตองมีเอกสารแสดงการเปนผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จะใชเปนที่จัดการเรียนการสอน
                    หรือ หลักฐานแสดงการเปนผูมีสิทธิในการเชาที่ดิน หรือหลักฐานแสดงการเปนผูมีสิทธิในการใช
                    ที่ดินหรือ อาคารสถานที่ตามระยะเวลาที่กําหนด




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
11



                    สาเหตุที่นักศึกษาเลือกมาศึกษาที่ศูนยมุกดาหาร

                            1. เนื่องจากนักศึกษาสวนใหญนั้น ในวันจันทร ถึง ศุกร ตองไปทํางาน แตตองการพัฒนา
                               ศักยภาพของตนเองโดยศึกษาตอในระดับปริญญาตรีในวันเสาร อาทิตย ที่วางจากการ
                               ทํางาน

                            2. มีความสะดวกกวาที่จะตองเดินทางไปศึกษาที่จังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนที่ตั้งของ
                               มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

                            3. ประหยัดคาใชจายมากกวาที่จะตองเดินทางไปศึกษาที่จังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนที่ตั้งของ
                               มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

                            4. เชื่อมั่นในสถาบัน ซึ่งมีชื่อเสียงและคุณภาพทางวิชาการ และการศึกษา ซึ่งผลิตบัณฑิตที่
                               มีความรู ความสามารถออกมามากมาย ตั้งแตในอดีต จนถึงปจจุบัน

                    เขตพื้นที่อาศัยของนักศึกษาที่มาศึกษาที่ศูนยมุกดาหาร

                            1. อําเภอเมืองมุกดาหาร

                            2. อําเภอนิคมคําสรอย

                            3. อําเภอดอนตาล

                            4. อําเภอดงหลวง

                            5. อําเภอคําชะอี

                            6. อําเภอหวานใหญ

                            7. อําเภอหนองสูง

                            8. แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

                            9. อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
12



                            10. อําเภอกุฉินารายณ และ อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ

                    สาเหตุการยุบศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร

                            จากรายงานขาวมติชน เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม นายพินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการ
                    คณะกรรมการการอุดมศึกษา(กกอ.) เปดเผยวาสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) มี
                    แนวคิดที่จะยุบเลิกศูนยการจัดการศึกษานอกที่ตั้ง หรือศูนยนอกที่ตั้ง ที่มหาวิทยาลัยรัฐและ
                    มหาวิทยาลัยเอกชนเปดอยูในปจจุบัน ซึ่งตัวเลขศูนยนอกที่ตั้ง ยังไมทราบแนชัดวามีอยูเทาใด เพราะ
                    บางมหาวิทยาลัยก็ไมไดรายงานตั้งเขามา สาเหตุที่จะปด ยอมรับวาสวนหนึ่งมาจากปญหาการซื้อ
                    ขายประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) วิชาชีพครูของมหาวิทยาลัยอีสาน (มอส.) และอีกสวนหนึ่ง
                    มองวามหาวิทยาลัยที่กระจัดกระจายอยูทั่วประเทศในขณะนี้เพียงพอที่จะรองรับตอความตองการ
                    ของนักศึกษา ฉะนั้นจึงเห็นวามหาวิทยาลัยควรจัดการเรียนการสอนในที่ตั้งเทานั้น หรือหากจะเปด
                    นอกที่ตั้ง ก็ตองเปนในลักษณะวิทยาเขตเทานั้น เพราะมีการบริหารจัดการที่เปนระบบ รอง
                    เลขาธิการ กกอ. กลาวตอวา อนาคตอาจจะตองสอบถามจากมหาวิทยาลัยที่เปดศูนยนอกที่ตั้งดวยวา
                    หากจะตองยุบเลิก จะไดรับผลกระทบอยางไรหรือไม ที่สําคัญกําลังอยูระหวางการศึกษากฎหมาย
                    และกฎกระทรวงที่เกี่ยวของทั้งหมดวาจะดําเนินการอยางไร เพราะถาจะตองมีการยุบเลิกศูนยนอก
                    ที่ตั้ง ก็จะตองไปแกไขกฎหมาย

                            สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) หนวยงานที่กํากับดูแลเขาตรวจสอบศูนยนอก
                    ที่ตั้ง เมื่อ การจัดศูนยนอกที่ตั้งที่ไมมีคุณภาพและไมมีมาตรฐานอยางมาก สาเหตุของปญหาทั้งหมด
                    นาจะเกิดจากการใหอํานาจและสิทธิ์ขาดกับผูอํานวยการศูนยนอกที่ตั้งมากเกินไป โดยสภา
                    มหาวิทยาลัยและอธิการบดีเองไมไดเขาไปดูแล ทําใหเกิดปญหาการจัดการศึกษาที่ไมมีคุณภาพ
                    อยางปจจุบัน อีกทั้งขาดความรับผิดชอบในกรณีที่มีผูมาเสนอเปดศูนยนอกที่ตั้ง แตสภาฯ และ
                    อธิการบดีก็อนุมัติไป ทั้งนี้ สกอ.ไดจัดคณะกรรมการลงพื้นที่ตรวจสอบการเปดศูนยนอกที่ตั้ง ของ
                    แตละมหาวิทยาลัยทั้งรัฐและเอกชนแลว ตามที่สภาฯ แจงเปดศูนยนอกที่ตั้ง เขามา พบความจริงที่
                    นาเปนหวงอีกวา ถึงแมสภาฯ จะมั่นใจความพรอมในการเปดศูนยนอกที่ตั้ง แลวแตเมื่อลงไป
                    ตรวจสอบก็พบวา ยังไมดีเทาที่ควร ซึ่งบางที่ก็ไมผานไปเลย ปจจุบันมีสถาบันอุดมศึกษาจํานวน
                    มากกระจายอยูครอบคลุมพื้นที่ตางๆ และจัดการเรียนการสอนหลักสูตรตางๆ จํานวนมากอยูแลว



PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
13



                    เวนแตมีเหตุผลและความจําเปน ดังนี้ ตองจัดการศึกษาในสาขาขาดแคลนและสนองความตองการ
                    ของประเทศ ควรมีระยะเวลาสิ้นสุดในการจัดหลักสูตรนั้นๆ ดวย ตองไมจัดการศึกษาในหลักสูตรที่
                    สถาบันอุดมศึกษาอื่นในพื้นที่นั้นจัดอยูแลวและสถาบันตองเชี่ยวชาญในหลักสูตรที่เปดสอนดวย

                    เหตุผลที่ตองทําการวิจัย
                            จากการที่ตองยุบศูนยมุกดาหารทําใหเกิดผลกระทบตอนักศึกษาขึ้นมาโดยปญหาที่สําคัญ
                    ในการยายที่เรียนจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษาหลักใหญก็
                    คือระยะทางการเดินทางที่จะตองมาเรียนตองเพิ่มขึ้น จากที่เรียนอยูภายในจังหวัด ก็ตองเดินทางมา
                    เปนระยะทางประมาณ 80 – 130 กิโลเมตร (นักศึกษาอยูคนละที) ซึ่งทําใหเสียเวลาเดินทาง และ
                                                                           ่
                    คาใชจายเพิ่มขึ้นในการมาเรียน เชนคารถ คาที่พัก เปนตน

                            จากปญหาที่เกิดขึ้นจึงเปนสาเหตุที่จะทําการวิจัยเพื่อใหทราบถึงระดับความพึงพอใจในการ
                    ยายที่เรียนจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษา ซึ่งจะเปนขอมูล
                    พื้นฐานที่จําเปนในการปรับปรุงและพัฒนาการใหบริการของมหาวิทยาลัยเพื่อความเหมาะสมตอไป

                    ผลที่คาดวาจะไดรับ

                            เพื่อใหทางมหาวิทยาลัยตระหนักถึงการปดสถานศึกษาที่ศูนยมุกมีผลกระทบตอนักศึกษาที่
                    ตองทําการยายมาศึกษาที่จังหวัดสกลนครและทําการเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับมหาวิทยาลัย
                    ในดานการใหบริการของเจาหนาที่ การเดินทางมาศึกษาเลาเรียน สถานที่ อาจารยผูสอน โรงอาหาร
                    หองน้ํา – หองสวม และดานบริการหองสมุด / อินเตอรเน็ต เพื่อนําผลที่ไดมาวางแผนพัฒนา
                    ปรับปรุงในจุดออน รักษามาตรฐานการบริการในจุดแข็งใหนักศึกษาพึงพอใจในการไดรับบริการ
                    จากมหาวิทยาลัยที่ดี

                    วัตถุประสงคของการวิจัย

                            เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการยายที่เรียนจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัย
                    ราชภัฏสกลนครของนักศึกษาในดานตางๆ ระหวางศูนยมุกดาหารกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
14



                    คือ ดานการใหบริการของเจาหนาที, ดานการเดินทางมาศึกษาเลาเรียน, ดานสถานที่, ดานอาจารย
                    ผูสอน, ดานโรงอาหาร, ดานหองน้ํา – หองสวม และดานบริการหองสมุด / อินเตอรเน็ต



                    ขอบเขตการวิจัย

                               1. การวิจัยในครั้งนี้จะทําการสํารวจความพึงพอใจและความตองการในการยายที่เรียน
                                  จากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษา

                               2. ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ศูนย
                                  มุกดาหาร

                               3. พื้นที่เปาหมายที่ใชในครั้งนี้คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และ วิทยาลัยการ
                                  อาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร

                               4. ระยะเวลาที่ใชศึกษาวิจัยคือ ภาคเรียนที่ 2/2554

                    นิยามศัพทเฉพาะ

                            นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาภาคสมทบระดับ บธ.บ. 4 ป (เทียบโอน) ของมหาวิทยาลัยราช
                    ภัฏสกลนครที่ศึกษาอยูศูนยมุกดาหาร

                            ศูนยมุกดาหาร หมายถึง สถานที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครใชเปดการเรียนการสอนที่
                    จังหวัดมุกดาหาร ที่วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ตั้งอยูที่ถนนเลี่ยงเมือง จังหวัด
                    มุกดาหาร

                            มหาวิทยาลัย หมายถึง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

                            ศูนยมุกกับสกลนคร หมายถึง สถานที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครใชเปดการเรียนการ
                    สอนที่จังหวัดมุกดาหาร ที่วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร กับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
                    สกลนคร




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
15



                             ความพึงพอใจของนักศึกษา หมายถึง คาเฉลี่ยจากการบอกความรูสึกในการเปรียบเทียบ
                    ระหวางศูนยมุกกับสกลนครในดานตางๆ ของนักศึกษาจากการสุมตอบแบบสํารวจ ความพึงพอใจ
                                                                           
                    ที่มีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ คือ ระดับ 1 พึงพอใจนอยที่สุด, ระดับ 2 พึงพอใจนอย, ระดับ 3 พึง
                    พอใจปานกลาง, ระดับ 4 พึงพอใจมาก และ ระดับ 5 พึงพอใจมากที่สุด

                             ดานการใหบริการของเจาหนาที่ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร
                    บริการที่เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก ดานใหบริการดวยความสุภาพ ออนนอม และเปนกันเอง, ดาน
                    มีความเอาใจใส กระตือรือรน และเต็มใจใหบริการ

                             ดานการเดินทางมาศึกษาเลาเรียน หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนครที่
                    เกี่ยวกับระยะทางในการเดินทางมาเรียน

                             ดานสถานที่ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่เกี่ยวของกับ
                    นักศึกษาไดแก อาคารเรียน, ที่จอดรถ, หองเรียน, โตะเรียน, สื่อการเรียนการสอน และที่พักผอน
                    กอนเขาเรียน

                             ดานอาจารยผูสอน หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่
                    เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก มีความเอาใจใส กระตือรือรน ในการสอน, มีความตรงตอเวลา, มีการ
                    ใชสื่อที่ทันสมัย

                             ดานโรงอาหาร หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่เกี่ยวของ
                    กับนักศึกษาไดแก สถานที่สะอาด, อาหารสะอาด อรอย ถูกหลักอนามัย, แมครัวพุดจาไพเราะ และ
                    มีโตรับประทานอาหารเพียงพอ

                             หองน้ํา – หองสวม หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่
                    เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก สถานที่สะอาด และมีหองเพียงพอตอจํานวนผูใช

                             ดานบริการหองสมุด / อินเตอรเน็ต หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร
                    บริการที่เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก มีเอกสารตําราใหศึกษาคนควา, เจาหนาที่พูดจาสุขภาพ, มี




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
16



                    คอมพิวเตอรเพียงพอตอนักศึกษา, มีระบบอินเตอรเน็ตรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และมีระบบไวไฟ
                    บริการ

                    ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากงานวิจัย

                             เพื่อใหมหาวิทยาลัยตระหนักถึงการยายสถานที่ศึกษาจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่ จังหวัด
                    สกลนคร เพื่อนําผลที่ไดมาวางแผนพัฒนาปรับปรุงในจุดออน รักษาจุดแข็งใหนักศึกษาพึงพอใจใน
                    การที่ตองยายสถานที่การเรียนในครั้งนี้

                             การวิจัยในครั้งนี้คาดวาจะไดรับประโยชนในดานตางๆ ดังนี้

                             1. เพื่อนําขอมูลไปใชเปนแนวทางในการสรางองคความรูในดานแรงจูงใจที่จะกอใหเกิด
                    ความพอใจใหกับนักศึกษารุนตอไปที่จะมาศึกษาที่มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร

                             2. เพื่อเปนขอมูลเสนอแนะผูที่เกี่ยวของกับการบริหารงานของมหาวิทยาลัยราชภัฎ
                    สกลนครประจําศูนยมุกดาหาร

                             3. ขอสรุปการวิจัยจะเปนประโยชนตอผูบริหาร ในระดับภาควิชา คณะมหาวิทยาลัย และ /
                    หรือ ทบวงมหาวิทยาลัย ในการพิจารณาปรับปรุงแกไขเปลี่ยนแปลงบรรยากาศของมหวิทยาลัย
                    เพื่อใหการเรียนการสอนและบริการอื่นๆ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
17



                                                                บทที่ 2

                                                  ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวของ
                                                                ั
                            ความพึงพอใจเปนความรูสึกหรือความคิดเห็นไมวาจะเปนทางบวกหรือลบ ซึ่งเปนผลจาก
                    ประสบการณ ความเชื่อ ซึ่งจะขอกลาวถึง ความหมาย และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ ดังนี้

                    ความหมายของความพึงพอใจ

                            พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542: 775) ไดใหความหมายของความพึงพอใจ
                    หมายถึง พอใจ ชอบใจ

                            พฤติกรรมเกี่ยวกับความพึงพอใจของมนุษยคือความพยายามที่จะขจัดความตึงเครียด หรือ
                    ความกระวนกระวาย หรือภาวะไมไดดุลยภาพในรางกาย ซึ่งเมื่อมนุษยสามารถขจัดสิ่งตาง ๆ
                    ดังกลาว ไดแลว มนุษยยอมไดรับความพึงพอใจในสิ่งที่ตนตองการ (เศกสิทธิ์, 2544: 6)

                            อุทัยพรรณ สุดใจ (2545:7) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มี
                    ตอ สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยอาจจะเปนไปในเชิงประเมินคา วาความรูสึกหรือทัศนคติตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้น
                    เปนไปในทางบวกหรือทางลบ

                            สุพล (2540: 27) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก ความคิดเห็นในลักษณะเชิง
                    บวกของบุคคลเมื่อไดรับการตอบสนองความตองการหรือไดรับสิ่งตอบแทนที่คาดหวังไว

                            สุภาลักษณ ชัยอนันต (2540: 17) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจ
                    เปนความรูสึกสวนตัวที่รูสึกเปนสุขหรือยินดีที่ไดรับการตอบสนองความตองการในสิ่งที่ขาด
                    หายไป หรือสิ่งที่ทําใหเกิดความไมสมดุล ความพึงพอใจเปนสิ่งที่กําหนดพฤติกรรมที่จะแสดงออก
                    ของบุคคล ซึ่งมีผลตอการเลือกที่จะปฏิบัติในกิจกรรมใดๆ นั้น

                            อรรถพร (2546: 29) ไดสรุปวา ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติหรือระดับความพึงพอใจ
                    ของบุคคลตอกิจกรรมตางๆ ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้นๆ โดยเกิดจาก




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
18



                    พื้นฐานของการรับรู คานิยมและประสบการณที่แตละบุคคลไดรับ ระดับของความพึงพอใจจะ
                    เกิดขึ้นเมื่อกิจกรรมนั้นๆ สามารถตอบสนองความตองการแกบคคลนั้นได
                                                                          ุ

                            สายจิตร (2546: 14) ไดสรุปวา ความพึงพอใจเปนความรูสึกที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเปนไป
                    ไดทั้งทางบวกและทางลบ แตถาเมื่อใดที่สิ่งนั้นสามารถตอบสนองความตองการหรือทําใหบรรลุ
                    จุดมุงหมายได ก็จะเกิดความรูสึกทางบวกแตในทางตรงกันขาม ถาสิ่งใดสรางความรูสึกผิดหวังไม
                    บรรลุจุดมุงหมาย ก็จะทําใหเกิดความรูสึกทางลบเปนความรูสึกไมพึงพอใจ

                            จากความหมายที่กลาวมา สรุปไดวา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนเรื่องของ
                    ความรูสึกที่มีความสึกของบุคคลที่มีตองานที่ปฏิบัติอยูและความพึงพอใจจะสงผลตอขวัญในการ
                    ปฏิบติงาน อยางไรก็ดีความพึงพอใจของแตละบุคคลไมมีวันสิ้นสุด เปลี่ยนแปลงไดเสมอ ตาม
                        ั
                    กาลเวลาและสภาพแวดลอมบุคคลจึงมีโอกาสที่จะไมพึงพอใจในสิ่งที่เคยพึงพอใจมาแลว ฉะนั้น
                    ผูบริหารจําเปนจะตองสํารวจตรวจสอบความพึงพอใจในการปฏิบัติใหสอดคลองกับความตองการ
                    ของบุคลากรตลอดไป ทั้งนี้เพื่อใหงานสําเร็จลุลวงตามเปาหมายขององคกรหรือหนวยงานที่ตั้งไว

                    ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ

                            นักวิชาการไดพัฒนาทฤษฎีที่อธิบายองคประกอบของความพึงพอใจ และอธิบาย
                    ความสัมพันธระหวางความพึงพอใจกับปจจัยอื่น ๆ ไวหลายทฤษฎี

                            โครแมน (Korman, A.K., 1977 อางอิงในสมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542:
                    161-162) ไดจําแนกทฤษฎีความพึงพอใจในงานออกเปน 2 กลุมคือ

                           1. ทฤษฎีการสนองความตองการ กลุมนี้ถือวาความพึงพอใจ ในงานเกิดจากความตองการ
                               สวนบุคคลที่มีความสัมพันธตอผลที่ไดรับจากงานกับการประสบความสําเร็จตาม
                               เปาหมายสวนบุคคล

                           2. ทฤษฎีการอางอิงกลุม ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธในทางบวกกับคุณลักษณะ
                               ของงานตามความปรารถนาของกลุม ซึ่งสมาชิกใหกลุมเปนแนวทางในการประเมินผล
                               การทํางาน




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
19



                           สวนมัมฟอรด (Manford, E., 1972 อางถึงใน สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง,
                    2542:162) ไดจําแนกความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจงานจากผลการวิจัยออกเปน 5 กลุมดังนี้

                           1. กลุมความตองการทางดานจิตวิทยา กลุมนี้ไดแก Maslow, A.H. , Herzberg. F และ
                               Likert R.โดยมองความพึงพอใจงานเกิดจากความตองการของบุคคลที่ตองการ
                               ความสําเร็จของงานและความตองการการยอมรับจากบุคคลอื่น

                           2. กลุมภาวะผูนํามองความพึงพอใจงานจากรูปแบบและการปฏิบัติของผูนําที่มีตอ
                               ผูใตบังคับบัญชา กลุมนี้ไดแก Blake R.R., Mouton J.S. และ Fiedler R.R.

                           3. กลุมความพยายามตอรองรางวัล เปนกลุมที่มองความพึงพอใจจากรายได เงินเดือน และ
                               ผลตอบแทนอื่น ๆ กลุมนี้ ไดแก กลุมบริหารธุรกิจของมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร
                               (Manchester Business School)

                           4. กลุมอุดมการณทางการจัดการมองความพึงพอใจจากพฤติกรรมการบริหารงานของ
                               องคกร ไดแก Crogier M. และ Coulder G.M.

                           5. กลุมเนื้อหาของงานและการออกแบบงาน ความพึงพอใจงานเกิดจากเนื้อหาของตัวงาน
                               กลุมแนวคิดนี้มาจากสถาบันทาวิสตอค (Tavistock Institute) มหาวิทยาลัยลอนดอน

                    ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมนุษยของมาสโลว

                            อับราฮัม มาสโลว (Abraham Maslow) เปนผูวางรากฐานจิตวิทยามนุษยนิยม เขาไดพัฒนา
                    ทฤษฎีแรงจูงใจ ซึ่งมีอิทธิพลตอระบบการศึกษาของอเมริกันเปนอันมาก ทฤษฎีของเขามีพื้นฐานอยู
                    บนความคิดที่วา การตอบสนองแรงขับเปนหลักการเพียงอันเดียวที่มีความสําคัญที่สุดซึ่งอยู
                    เบื้องหลังพฤติกรรมของมนุษย

                            มาสโลวมีหลักการที่สําคัญเกี่ยวกับแรงจูงใจ โดยเนนในเรื่องลําดับขั้นความตองการเขามี
                    ความเชื่อวา มนุษยมีแนวโนมที่จะมีความตองการอันใหมที่สูงขึ้นแรงจูงใจของคนเรามาจากความ
                    ตองการพฤติกรรมของคนเรา มุงไปสูการตอบสนอง ความพอใจ มาสโลว แบงความตองการ




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
20



                    พื้นฐานของมนุษยออกเปน 5 ระดับดวยกัน (http://web.rmut.ac.th/larts/phy/module7/unit7_7.html)
                    ไดแก

                             1. มนุษยมีความตองการ และความตองการมีอยูเสมอ ไมมีที่สิ้นสุด

                             2. ความตองการที่ไดรับการสนองแลว จะไมเปนสิ่งจูงใจสําหรับพฤติกรรมตอไป ความ
                                ตองการที่ไมไดรับการสนองเทานั้นที่เปนสิ่งจูงใจของพฤติกรรม

                             3. ความตองการของคนซ้ําซอนกัน บางทีความตองการหนึ่ง ไดรับการตอบสนองแลวยังไม
                                สิ้นสุดก็เกิดความตองการดานอื่นขึ้นอีก

                             4. ความตองการของคนมีลักษณะเปนลําดับขั้น ความสําคัญกลาวคือ เมื่อความตองการใน
                                ระดับต่ําไดรับการสนองแลว ความตองการระดับสูงก็จะเรียกรองใหมีการตอบสนอง

                             5. ความตองการเปนตัวตนที่แทจริงของตนเอง

                    ลําดับความตองการพื้นฐานของ Maslow เรียกวา Hierarchy of Needs มี 5 ลําดับขั้น ดังนี้

                             1. ความตองการดานรางกาย (Physiological needs) เปนตองการปจจัย 4 เชน ตองการ
                                อาหารใหอิ่มทอง เครื่องนุงหมเพื่อปองกันความรอน หนาวและอุจาดตา ยารักษาโรคภัย
                                ไขเจ็บ รวมทั้งที่อยูอาศัยเพื่อปองกันแดด ฝน ลม อากาศรอน หนาว และสัตวราย ความ
                                ตองการเหลานี้มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยทกคน จึงมีความตองการ
                                                                                      ุ
                                พื้นฐานขั้นแรกที่มนุษยทุกคนตองการบรรลุใหไดกอน

                             2. ความตองการความปลอดภัย (Safety needs) หลังจากที่มนุษยบรรลุความตองการดาน
                                รางกาย ทําใหชีวิตสามารถดํารงอยูในขั้นแรกแลว จะมีความตองการดานความปลอดภัย
                                ของชีวิตและทรัพยสินของตนเองเพิ่มขึ้นตอไป เชน หลังจากมนุษยมีอาหารรับประทาน
                                จนอิ่มทองแลวไดเริ่มหันมาคํานึงถึงความปลอดภัยของ อาหาร หรือสุขภาพ โดยหันมา
                                ใหความสําคัญกันเรื่องสารพิษที่ติดมากับอาหาร ซึ่งสารพิษเหลานี้อาจสรางความไม
                                ปลอดภัยใหกับชีวิตของเขา เปนตน




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
21



                           3. ความตองการความรักและการเปนเจาของ (Belonging and love needs) เปนความ
                               ตองการที่เกิดขึ้นหลังจากการที่มีชีวิตอยูรอดแลว มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
                               แลว มนุษยจะเริ่มมองหาความรักจากผูอื่น ตองการที่จะเปนจาของสิ่งตางๆ ที่ตนเอง
                               ครอบครองอยูตลอดไป เชน ตองการใหพอแม พี่นอง คนรัก รักเราและตองการใหเขา
                               เหลานั้นรักเราคนเดียว ไมตองการใหเขาเหลานั้นไปรักคนอื่น โดยการแสดงความเปน
                               เจาของ เปนตน

                           4. ความตองการการยอมรับนับถือจากผูอื่น (Esteem needs) เปนความตองการอีกขั้นหนึ่ง
                               หลังจากไดรับความตองการทางรางกาย ความปลอดภัย ความรักและเปนเจาของแลว
                               จะตองการการยอมรับนับถือจากผูอื่น ตองการไดรับเกียรติจากผูอื่น เชน ตองการการ
                               เรียกขานจากบุคคลทั่วไปอยางสุภาพ ใหความเคารพนับถือตามควรไมตองการการกดขี่
                               ขมเหงจากผูอื่น เนื่องจากทุกคนมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยเทาเทียมกัน

                           5. ความตองการความเปนตัวตนอันแทจริงของตนเอง (Self - actualization needs) เปน
                               ความตองการขั้นสุดทาย หลังจากที่ผานความตองการความเปนสวนตัว เปนความ
                               ตองการที่แทจริงของตนเอง ลดความตองการภายนอกลง หันมาตองการสิ่งที่ตนเองมี
                               และเปนอยู ซึ่งเปนความตองการขั้นสูงสุดของมนุษย แตความตองการในขั้นนี้มัก
                               เกิดขึ้นไดยาก เพราะตองผานความตองการในขั้นอื่นๆ มากอนและตองมีความเขาใจใน
                               ชีวิตเปนอยางยิ่ง
                               http://research.doae.go.th/data/%B7%C4%C9%AE%D5%B5%E8%D2%A7%E6.doc

                            เมื่อวิเคราะหโดยรอบดานแลวจะพบวาระดับความตองการทั้ง 5 ระดับของมนุษยตาม
                    แนวคิดของมาสโลวนั้น สามารถตอบคําถามเรื่องความมุงหมายของชีวิตไดครบถวน ในระดับหนึ่ง
                    เพราะมนุษยเราตามปกติจะมีระดับความตองการหลายระดับ และเมื่อความตองการระดับตนไดรับ
                    การสนองตอบก็จะเกิดความตองการในระดับสูงเพิ่มขึ้นเรื่อยไปตามลําดับจนถึงระดับสูงสุด การ
                    ตอบคําถามเรื่องเปาหมายและคุณคาของชีวิตมนุษยตามแนวของจิตวิทยาแขนงมานุษยนิยมจึงทําได
                    เราไดเห็นคําตอบในอีกแงมุมหนึ่ง




PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2

More Related Content

What's hot

จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู นายจักราวุธ คำทวี
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนkrusoon1103
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 

What's hot (8)

จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 

Similar to วิจัย 29 ม.ค. 2

9789740329411
97897403294119789740329411
9789740329411CUPress
 
9789740329374
97897403293749789740329374
9789740329374CUPress
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 

Similar to วิจัย 29 ม.ค. 2 (20)

9789740329411
97897403294119789740329411
9789740329411
 
9789740329374
97897403293749789740329374
9789740329374
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

วิจัย 29 ม.ค. 2

  • 1. 1 บทที่1 บทนํา ความสําคัญและที่มาของปญหางานวิจัย ในอดีตที่ผานมาการศึกษาในระดับสูงยังมีความตองการไมมาก จึงทําใหผูที่ศึกษาอยูนั้นไม มีความตองการที่จะเรียนตอในระดับที่สูงขึ้นและการเขาศึกษาในระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก มีสถาบันการศึกษาที่มีโครงการในระดับมหาบัณฑิตขึ้นไปนั้นเฉพาะในตางประเทศ ตอมาใน ประเทศไทยก็เริ่มที่จะมีสถาบันการศึกษาที่มีโครงการในระดับมหาบัณฑิต และไดมีการวางแผน การศึกษาในระดับสูงกวาปริญญาตรีมาอยางตอเนื่อง เพราะเห็นวาเปนการศึกษาที่มีจุดมุงหมายที่ จะพัฒนาความรู ความเชี่ยวชาญ แนวคิดวิธีการปฏิบัติเฉพาะสาขา เพื่อใหผูที่ไดรับการศึกษา สามารถปรับสภาพในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตองและเหมาะสม เปนการเพิ่มพูนศักยภาพและ มาตรฐานการทํางานของบุคคลใหมีประสิทธิภาพ ปจจุบันการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาใน สถาบันของรัฐและเอกชนมีเพิ่มมากขึ้น เปนการเปดโอกาสใหผูที่ตองการแสวงหาความรูและ ประสบการณ สามารถเลือกเขาศึกษาตอไดตามความตองการ เพื่อสามารถศึกษาตอควบคูไปกับ การทํางานได การศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนเสมือนแหลงความรูที่จะเสริมความกาวหนาทาง วิชาการ เพื่อใชเปนปจจัยในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย อันเปนปจจัยพื้นฐานในการพัฒนา ประเทศ บุคคลทั่วไปจึงใหความสําคัญแกการศึกษา โดยมีแนวคิดวาผูที่มีการศึกษาสูงจะมีโอกาส เจริญกาวหนาในดานตาง ๆ ไดดีกวา ดังนั้นบุคคลทั่วไปจึงพยายามที่จะศึกษาใหถึงระดับสูงที่สุด คือ ระดับอุดมศึกษา จนมีคํากลาววาสังคมไทยเปนสังคมที่นิยมคนที่มีปริญญา โดยเฉพาะอยางยิ่ง การศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรี ซึ่งเปนการศึกษาที่มุงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาความรูและทักษะ ในสาขาวิชาการเฉพาะทางใหมีความชํานาญยิ่งขึ้น มุงสรางสรรคความกาวหนาและความเปนเลิศ ทางวิชาการ โดยเฉพาะการศึกษาคนควาวิจัยและพัฒนาองคความรู ซึ่งปจจุบันการศึกษาตอใน ระดับปริญญาโทนั้น ไดมีผูนิยมเขาศึกษาตอกันมากขึ้น เนื่องจากระบบการศึกษาระดับตนๆ ใน ประเทศไทยไดขยายตัวมากขึ้น และปจจุบันมีอาจารยที่จบการศึกษาทั้งในระดับปริญญาโทและ ปริญญาเอกจากตางประเทศเปนจํานวนมาก ทําใหสามารถเปดสอนในระดับปริญญาโทได กวางขวางยิ่งขึ้น ปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอการเรียนทีสําคัญอีกอยางก็คือ คานิยมในปริญญา การ ่ ไดรับปริญญาขั้นสูงจะมีประโยชนในการทํางาน ลักษณะการทํางานหลายอยางในประเทศไทย PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 2. 2 ขึ้นอยูกับปริญญา ไมไดขึ้นอยูกับประสบการณและความรูความสามารถเพียงอยางเดียว คนที่มี ปริญญาสูงเทานั้นที่จะสามารถเลื่อนไปสูตําแหนงที่สูง ๆ บางตําแหนงได นอกจากนี้ยังมีสาเหตุ อื่น ๆ อีก เชน เรียนจบปริญญาตรีแลวยังหางานทําไมไดจึงเรียนตอระดับปริญญาโทเพื่อชะลอการ วางงาน นอกจากนี้การเรียนปริญญาโทเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน เพราะมี สถาบันการศึกษาหลายแหงเปดสอนปริญญาโทหลังเลิกงาน จึงมีผูที่ตองการศึกษาหาความรู เพิ่มเติมเปนจํานวนมาก นอกจากนี้บางคนยังเห็นวาการศึกษาตอระดับปริญญาโทเปนแฟชั่นอยาง หนึ่งในสังคมปจจุบันเปนเรื่องของนักศึกษาที่พยายามจะพัฒนาตัวเอง เพราะปจจุบันภาวะ เศรษฐกิจดีขึ้น ทําใหการแขงขันคอนขางสูง การไดพัฒนาตัวเองก็เปนสวนหนึ่งที่จะสามารถนําให กาวไปสูความสําเร็จในหนาที่การงานได ซึ่งการตัดสินใจในการศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษานั้นแต ละคนอาจมีเหตุผล มีแรงจูงใจแตกตางกันไป เชน ตองการไดรับความรูและประสบการณเพิ่มขึ้น เพื่อนําไปพัฒนางานในหนาที่ใหเจริญกาวหนา ตองการเพิ่มวุฒิทางการศึกษา เพื่อนําไป ประกอบการแสวงหาความกาวหนาและความมั่นคงในชีวิต บางคนอาจมีความมุงหวังเพื่อใหเปนที่ ยอมรับของสังคม และความมีชื่อเสียงเกียรติยศ นอกจากนี้เหตุจูงใจในการศึกษาตอของบุคคลในแต ละระดับจะแตกตางกันออกไปตามวัย ฐานะ และโอกาส ความคิดเกี่ยวกับการเรียนอาจจะเริ่มมีแนว หันเหเขาหาผลทางเศรษฐกิจ เชน เรียนในสาขาวิชาที่หางานทําไดงาย มีรายไดดี ไมตองทํางาน หนักและที่สําคัญตองเปนงานประเภทที่ตนมีใจรักและชอบที่จะทําดวย บางครั้งการเลือกเรียนตอ ในระดับบัณฑิตศึกษา มักขึ้นอยูกับคานิยมของผูปกครอง เนื่องจากมีความเห็นวาการเรียนในระดับ บัณฑิตศึกษานั้นจะทําใหบุตรหลานมีโอกาสไดงานดี ๆ ทํา มีเงินเดือนสูง เปนเจาคนนายคน เปน ที่เชิดหนาชูตาของวงศตระกูล ครอบครัวใดมีฐานะทางเศรษฐกิจดีก็จะพยายามสงบุตรหลานใหได เรียนจนถึงระดับสูงสุด อาจเรียนจนถึงระดับปริญญาเอก เทาทีสติปญญาจะเอื้ออํานวยใหเรียนได ่ จากความสําคัญของการศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา จึงมีนิสิตจํานวนมากมาศึกษาตอ เพราะตองการพัฒนาศักยภาพของตนเองใหมีความรูความสามารถ และประสบการณใหมากยิ่งขึ้น เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม ความกาวหนาทางวิชาการ ตลอดจนความเจริญทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เปนไปอยาง รวดเร็ว จึงตองพัฒนาตัวเองเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงดังกลาว มิฉะนั้นแลวจะกลายเปนผูลา หลัง นอกจากนี้ผูที่จบการศึกษาในระดับมหาบัณฑิตยังเปนที่ยอมรับของสังคม สงผลตอ PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 3. 3 ความกาวหนาในการทํางานในอนาคตตอไป จากการวิเคราะหรายดานพบวาเหตุจูงใจที่ทําใหนิสิต เขาศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษานั้นขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ดังนี้ 1. ปจจัยดานความครบถวนสมบูรณของสถาบันการศึกษา 1.1 มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรการเรียนการสอนตรงตามความตองการของนักศึกษา 1.2 มหาวิทยาลัยมีอุปกรณการสอนที่ทันสมัย 1.3 มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียง 1.4 อาจารยที่สอนมีชื่อเสียงและมีคุณภาพ 1.5 มีการทดลองปฏิบัติงานในสถานการณจริง 1.6 ความสะดวกสบายของหองเรียนและสวัสดิการของหองอเนกประสงคตาง ๆ 2. ปจจัยดานราคา 2.1 คาเลาเรียนมีความเหมาะสม 2.2 ระบบการจายคาเลาเรียนมีความสะดวก อาจมีการโอนผานบัญชีธนาคาร 3. ปจจัยดานสถานที่ 3.1 มหาวิทยาลัยมีที่จอดรถกวางขวางและสะดวกสบายแกนักศึกษา 3.2 มีพื้นที่บริเวณมหาวิทยาลัยกวางขวางและมีสภาพแวดลอมที่ดี 3.3 สถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมีความสะดวกในการเดินทางและเปนศูนยกลางในการเดินทาง 4. ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด 4.1 ทางมหาวิทยาลัยมีการโฆษณาและประชาสัมพันธในสื่อตาง ๆ อยางทั่วถึง 4.2 ทางมหาวิทยาลัยมีระบบการผอนผันคาเลาเรียนหรือมีทุนการศึกษาให PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 4. 4 5. ปจจัยดานหนาที่การงาน ผูที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโทสามารถเขาสูตําแหนงบางตําแหนงไดงายกวาผูจบ การศึกษาในระดับปริญญาตรี เนื่องจากบางหนวยงานจะกําหนดคุณสมบัติของผูเขาสอบไวตั้งแต ตอนเริ่มตน เนื่องจากเชื่อวาผูที่มีการศึกษาสูง นาจะมีวุฒิภาวะและประสบการณมากกวาผูที่มี การศึกษาต่ํา 6. ปจจัยดานเหตุผลสวนตัว ผูที่มาศึกษาตออาจมีเหตุผลสวนตัวในการเขาศึกษาตอ เพราะอยากมีชื่อเสียง เกียรติยศ อยากไดชื่อวาเปนผูจบปริญญาโท ตองการที่จะไดรับความรูและประสบการณที่เปนประโยชนจาก มหาวิทยาลัย โดยเนนที่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเนื้อหาวิชาเพื่อสามารถที่จะนําไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดจริง 7. ปจจัยดานอิทธิพลจากการชักจูงจากบุคคลและสื่อ นิสิตบางคนเขามาศึกษาตอโดยการสนับสนุนหรือไดรับคําชี้แจงจากเพื่อน ครู อาจารยที่ เคยสอนมา ญาติพี่นองหรือสามี ภรรยาใหการสนับสนุน ตลอดจนไดทราบขาวการรับสมัครจาก สื่อตางๆ เชน หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน เปนตน 8. ปจจัยดานการเปนสาขาวิชาที่ตรงกับความตองการของสังคม เนื่องจากนิสิตสวนใหญ กอนตัดสินใจเขาศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษานั้น ตองมี การศึกษาคนควาขอมูลเรื่องความตองการของตลาดแรงงานในปจจุบันวาเนนไปในสาขาวิชาใดและ มีความตองการนิสิตที่จบปริญญาโทมากกวาปริญญาตรีมากนอยแคไหน จังหวัดมุกดาหารเปนจังหวัดที่มีประชากรประมาณ 335880 คน และและยังมีประชาชนที่มี เขตติดตอใกลเคียงกันอีกหลายจังหวัด ตลอดจนมีอาราเขตติดตอกับสาธารณะรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว และมีความสําคัญในบานะเปนเมืองทาสําคัญในการติดตอคาขายและเปนเสนทาง คมนาคมเชื่อมตอระหวางเมืองสําคัญๆ ในกลุมประเทศลุมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion) ประกอบดวย 6 ประเทศคือ ไทย จีน (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม กัมพูชา ลาว พมา หรือ ระเบียง PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 5. 5 เศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(GMS Economic Corridors )อีกดวย ทําใหจังหวัดมุกดาหาร จําเปนที่จะตองมีสถาบันการศึกษาในระดับตางๆที่รองรับความตองการในการใหการศึกษาแก ประชาชนดังกลาวเพื่อเปนการเตรียมพรอมในการตอนรับในการเปนในป 2558 ประเทศไทยจะกาว เขาสูการเปนประชาคมอาเซียน ดังนั้นทุกภาคสวนจะตองรูเทาทันเพื่อปรับตัวใหทันตอเหตุการณ ดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจังหวัดชายแดนที่ติดตอกับประเทศเพื่อนบานจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง เรียนรูและปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของประเทศเพื่อนบานดวย จังหวัดมุกดาหารเปนจังหวัดที่มี พื้นที่ติดชายแดน มีสะพานขามแมน้ําโขงแหงที่ 2 เพื่อเชื่อมตอไปสูสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและเวียดนามยุทธศาสตรของจังหวัดมุกดาหารจึงไดกําหนดใหมีสวนเกี่ยวของกับ ตางประเทศทั้งดานการทองเที่ยวและการคา ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพัฒนาศักยภาพทรัพยากร มนุษยและประชาชนในจังหวัดเพื่อรองรับ โดยการจัดใหมีการศึกษาระดับอุดมศึกษาขึ้นในจังหวัด มุกดาหารเพื่อสามารถผลิตบัณฑิตรองรับตามยุทธศาสตรดังกลาวเนื่องจากจังหวัดมุกดาหารเปน จังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ยังไมมีสถาบันอุดมศึกษาทั้งที่มีพื้นที่เชื่อมตอกับ ตางประเทศดานทองเที่ยว ดานการคา เปนตน รายละเอียดเกี่ยวกับ ศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร ภาพที่ 1 ปายวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร สถานที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคือ วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 6. 6 ตั้งอยูที่ถนนเลี่ยงเมือง จังหวัดมุกดาหาร ถาหากเดินทางออกจากจังหวัดสกลนคร ใหเลี้ยวขวาไป ตามถนนเลี่ยงเมือง ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร จะอยูทางซายมือของถนน และหากเดินทางมา จากจังหวัดอุบลราชธานีใหเลี้ยวซายไปตามถนนเลี่ยงเมือง เจอสี่แยกคําชะอี ใหตรงไปขางหนา เรื่อยๆ สังเกตสถานที่เรียนจะอยูทางขวามือของถนน ภาพที่ 2 แผนที่ตั้งวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร ไดถูกเปดขึ้นเพื่อใหโอกาสสําหรับการพัฒนาบุคลากรในทองถิ่น จังหวัดมุกดาหารใหมีคุณวุฒิทางการศึกษา มีทักษะทางวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถ พัฒนาสังคม ชุมชนทองถิ่นใหกาวทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว โดยใชทรัพยากรรวมกันระหวางทองถิ่นและมหาวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาไมตองเดินทางไป เรียนไกลจากบานของตนเอง ทําใหสามารถผลิตบัณฑิตที่เปนคนดี เปนคนเกง และมีจิตใจงดงาม ออกไปรับใชชาติ สังคม ชุมชนทองถิ่น มหาวิทยาลัยไดเปดโอกาสดานการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแกบุคลากรตางประเทศที่อยู ในละแวกใกลเคียงอีกดวย PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 7. 7 รายละเอียดเกี่ยวกับ งานจัดการศึกษาภายนอกมหาวิทยาลัย สํานักสงเสริมวิชาการและงาน ทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 1. ขอมูลเบื้องตนของหนวยงาน ที่ตั้ง อาคาร10 ชั้น 6 เลขที่ 680 หมู 11 ถนนนิตโย ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง สกลนคร จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท 0-4274-3706, 0-4297-0021 2. ปรัชญา/ วิสัยทัศน/ พันธกิจ/ ปณิธาน/ จุดเนน ปรัชญา ใหโอกาสทางการศึกษา รวมสรางปญญาชนในทองถิ่น วิสัยทัศน เปนผูนําดานการจัดการอุดมศึกษาในทองถิ่นสรางเครือขายในการทํางาน ใหบริการทาง วิชาการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล แกชุมชนบนพื้นฐานของการมีสวนรวม เพื่อสรางสรรคประชาสังคมที่ดี พันธกิจ • รองรับความตองการทางการศึกษาของทองถิ่น โดยเปดโอกาสใหประชาชนไดรับ การศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ • ผลิตและพัฒนากําลังคนเพื่อสนองความจําเปนในการพัฒนาทองถิ่นและประเทศชาติ • สรางเครือขายการเรียนรูและการทํางานรวมกันระหวางสถาบันอุดมศึกษากับทองถิ่น ชุมชนตลอดจนประเทศเพื่อนบาน • บริการงานวิชาการแกอาจารยและนักศึกษาทั้งที่กําลังศึกษาอยูและที่สําเร็จการศึกษา ไปแลวโดยยึดหลักความถูกตองเปนสําคัญ PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 8. 8 ปณิธาน • ตอบสนองนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร • จัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น • เพื่อบริการทางการศึกษาใหทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการศึกษา จุดเนน • บัณฑิตเปนคนดี มีจิตสาธารณะ และมีทักษะวิชาชีพ โดยมีอาจารยและบุคลากรเปน แบบอยาง • นักศึกษามีจริยธรรม โดยเนนเชิงปฏิบัติ • นักศึกษามีเอกลักษณ/จุดเดน/สูงาน/เปนคนดี • นักศึกษามีระเบียบวินัย 3. ประวัติความเปนมา ในภาคเรียนที่ 3/2543 เปดศูนยการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อตอบสนองความตองการ ของชุมชนทองถิ่นโดยเฉพาะสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ในอําเภอวานรนิวาสและ อําเภอขางเคียง โดยใชศูนยการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอวานรนิวาสเปนที่ตั้งศูนยฯ เปดการเรียน การสอนในโปรแกรมวิชาพัฒนาชุมชน หลักสูตรอนุปริญญา 2 ปตอเนื่อง ตอมาในภาคเรียนที่ 1/2544 ผศ.นิพนธ อินสินและคณะ ไดทําการเปดศูนยอุดมศึกษา มุกดาหารขึ้นอีก โดยทานผูวาราชการจังหวัดมุกดาหาร ทานผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพนวมินท ราชินีมุกดาหาร ประชาชนชาวจังหวัดมุกดาหารใหความรวมมือและใหการสนับสนุนเปนอยางดี เปดการเรียนการสอนในตอนแรกคือ โปรแกรมวิชาประถมศึกษา โปรแกรมวิชาการศึกษาประถม วัย โปรแกรมวิชาการจัดการทั่วไป จํานวน 3 หมูเรียนและในภาคเรียนที่ 2/2544 จึงไดเปดโปรแกรม วิชารัฐประศาสนศาสตร (รปศ.) อีก 1 หมูเรียน ศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร ไดถูกเปดขึ้นเพื่อใหโอกาสสําหรับการพัฒนาบุคลากรในทองถิ่น จังหวัดมุกดาหารใหมีคุณวุฒิทางการศึกษา มีทักษะทางวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถ PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 9. 9 พัฒนาสังคม ชุมชนทองถิ่นใหกาวทันโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วโดยใชทรัพยากรรวมกัน ระหวางทองถิ่นและมหาวิทยาลัย ซึ่งนักศึกษาไมตองเดินทางไปเรียนไกลจากบานของตนเอง ทําให สามารถผลิตบัณฑิตที่เปนคนดี เปนคนเกง และมีจิตใจงดงาม ออกไปรับใชชาติ สังคม ชุมชน ทองถิ่นมหาวิทยาลัยไดเปดโอกาสดานการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแกบุคลากรตางประเทศที่อยูใน ละแวกใกลเคียงอีกดวย คณะที่เปด คณะวิทยาการจัดการ การบัญชี ปวสหรืออนุปริญญา ระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา เรียนที่ศูนยอุดมศึกษา มุกดาหาร การจัดการทั่วไป ปวสหรืออนุปริญญา ระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา เรียนที่ศูนย อุดมศึกษามุกดาหาร คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวสหรืออนุปริญญา ระยะเวลาเรียน 2 ปการศึกษา เรียนที่ศูนย อุดมศึกษามุกดาหาร ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พ.ศ. 2552เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาของรัฐใชเปนแนวทางในการจัด การศึกษานอกสถานที่ตั้ง อยางมีคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา โดยมีรายละเอียด คือ “นอกสถานที่ตั้ง ” หมายความวา สถานที่จัดการศึกษาอื่นใดของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งมิใช เปนที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา “ สภาสถาบัน ” หมายความวา สภาสถาบันอุดมศึกษาแตละแหง สถาบันอุดมศึกษาจะจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งดวยวิธีการเรียนการสอนในชั้นเรียนหรือวิธีการ เรียนการสอนในระบบ การศึกษาทางไกลทั้งหลักสูตรหรือเฉพาะบางสวนตามที่สภาสถาบัน กําหนดก็ได  การจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ใหจัดการศึกษาในที่ตั้งเปนหลักเวนแต มี PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 10. 10 เหตุผลและความจําเปนเพื่อประโยชนตอการจัดการเรียนการสอน แกผ ูเรียน สถาบันอุดมศึกษาจะ จัด การศึกษานอกสถานที่ตั้งก็ไดตามเงื่อนไข ดังตอไปนี้ 1. จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรเดิมที่ไดเปดสอนในที่ตั้งแลว 2. ดําเนินการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานครบถวนตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ 3. จัดการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงคของหลักสูตรและ มี การประเมินผลเพื่อพัฒนาหลักสูตร จัดสิ่งสนับสนุนทางการศึกษาใหเพียงพอ เชนเดียวกับการจัดการศึกษาในที่ตั้ง 4. จัดสิ่งสนับสนุนทางการศึกษาใหเพียงพอเชนเดียวกับการจัดการศึกษาในที่ตั้ง 5. จัดใหมีการใหคําปรึกษาทางวิชาการ การแนะแนวอาชีพ การจัดบริการสวัสดิการ นักศึกษา และบริการดานอื่นใหมีมาตรฐานเชนเดียวกับการจัดการศึกษาในที่ตั้ง 6. จัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการจัดการศึกษา มีความปลอดภัยและมีสิ่งอํานวย ความสะดวกอยางเพียงพอ 7. ปฏิบัติตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัด การศึกษาตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด ใหอธิการบดีขออนุญาตจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งตอสภาสถาบัน พรอมทั้งเสนอ เอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณา โครงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งที่มีรายละเอียด เกี่ยวกับรูปแบบ วิธ ีการและ ระยะเวลาจัดการศึกษา พรอมทั้งที่ตั้งและแผนผังแสดงบริเวณและ อาคาร โดยจะตองมีเอกสารแสดงการเปนผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จะใชเปนที่จัดการเรียนการสอน หรือ หลักฐานแสดงการเปนผูมีสิทธิในการเชาที่ดิน หรือหลักฐานแสดงการเปนผูมีสิทธิในการใช ที่ดินหรือ อาคารสถานที่ตามระยะเวลาที่กําหนด PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 11. 11 สาเหตุที่นักศึกษาเลือกมาศึกษาที่ศูนยมุกดาหาร 1. เนื่องจากนักศึกษาสวนใหญนั้น ในวันจันทร ถึง ศุกร ตองไปทํางาน แตตองการพัฒนา ศักยภาพของตนเองโดยศึกษาตอในระดับปริญญาตรีในวันเสาร อาทิตย ที่วางจากการ ทํางาน 2. มีความสะดวกกวาที่จะตองเดินทางไปศึกษาที่จังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 3. ประหยัดคาใชจายมากกวาที่จะตองเดินทางไปศึกษาที่จังหวัดสกลนคร ซึ่งเปนที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 4. เชื่อมั่นในสถาบัน ซึ่งมีชื่อเสียงและคุณภาพทางวิชาการ และการศึกษา ซึ่งผลิตบัณฑิตที่ มีความรู ความสามารถออกมามากมาย ตั้งแตในอดีต จนถึงปจจุบัน เขตพื้นที่อาศัยของนักศึกษาที่มาศึกษาที่ศูนยมุกดาหาร 1. อําเภอเมืองมุกดาหาร 2. อําเภอนิคมคําสรอย 3. อําเภอดอนตาล 4. อําเภอดงหลวง 5. อําเภอคําชะอี 6. อําเภอหวานใหญ 7. อําเภอหนองสูง 8. แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 9. อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 12. 12 10. อําเภอกุฉินารายณ และ อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ สาเหตุการยุบศูนยอุดมศึกษามุกดาหาร จากรายงานขาวมติชน เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม นายพินิติ รตะนานุกูล รองเลขาธิการ คณะกรรมการการอุดมศึกษา(กกอ.) เปดเผยวาสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) มี แนวคิดที่จะยุบเลิกศูนยการจัดการศึกษานอกที่ตั้ง หรือศูนยนอกที่ตั้ง ที่มหาวิทยาลัยรัฐและ มหาวิทยาลัยเอกชนเปดอยูในปจจุบัน ซึ่งตัวเลขศูนยนอกที่ตั้ง ยังไมทราบแนชัดวามีอยูเทาใด เพราะ บางมหาวิทยาลัยก็ไมไดรายงานตั้งเขามา สาเหตุที่จะปด ยอมรับวาสวนหนึ่งมาจากปญหาการซื้อ ขายประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) วิชาชีพครูของมหาวิทยาลัยอีสาน (มอส.) และอีกสวนหนึ่ง มองวามหาวิทยาลัยที่กระจัดกระจายอยูทั่วประเทศในขณะนี้เพียงพอที่จะรองรับตอความตองการ ของนักศึกษา ฉะนั้นจึงเห็นวามหาวิทยาลัยควรจัดการเรียนการสอนในที่ตั้งเทานั้น หรือหากจะเปด นอกที่ตั้ง ก็ตองเปนในลักษณะวิทยาเขตเทานั้น เพราะมีการบริหารจัดการที่เปนระบบ รอง เลขาธิการ กกอ. กลาวตอวา อนาคตอาจจะตองสอบถามจากมหาวิทยาลัยที่เปดศูนยนอกที่ตั้งดวยวา หากจะตองยุบเลิก จะไดรับผลกระทบอยางไรหรือไม ที่สําคัญกําลังอยูระหวางการศึกษากฎหมาย และกฎกระทรวงที่เกี่ยวของทั้งหมดวาจะดําเนินการอยางไร เพราะถาจะตองมีการยุบเลิกศูนยนอก ที่ตั้ง ก็จะตองไปแกไขกฎหมาย สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) หนวยงานที่กํากับดูแลเขาตรวจสอบศูนยนอก ที่ตั้ง เมื่อ การจัดศูนยนอกที่ตั้งที่ไมมีคุณภาพและไมมีมาตรฐานอยางมาก สาเหตุของปญหาทั้งหมด นาจะเกิดจากการใหอํานาจและสิทธิ์ขาดกับผูอํานวยการศูนยนอกที่ตั้งมากเกินไป โดยสภา มหาวิทยาลัยและอธิการบดีเองไมไดเขาไปดูแล ทําใหเกิดปญหาการจัดการศึกษาที่ไมมีคุณภาพ อยางปจจุบัน อีกทั้งขาดความรับผิดชอบในกรณีที่มีผูมาเสนอเปดศูนยนอกที่ตั้ง แตสภาฯ และ อธิการบดีก็อนุมัติไป ทั้งนี้ สกอ.ไดจัดคณะกรรมการลงพื้นที่ตรวจสอบการเปดศูนยนอกที่ตั้ง ของ แตละมหาวิทยาลัยทั้งรัฐและเอกชนแลว ตามที่สภาฯ แจงเปดศูนยนอกที่ตั้ง เขามา พบความจริงที่ นาเปนหวงอีกวา ถึงแมสภาฯ จะมั่นใจความพรอมในการเปดศูนยนอกที่ตั้ง แลวแตเมื่อลงไป ตรวจสอบก็พบวา ยังไมดีเทาที่ควร ซึ่งบางที่ก็ไมผานไปเลย ปจจุบันมีสถาบันอุดมศึกษาจํานวน มากกระจายอยูครอบคลุมพื้นที่ตางๆ และจัดการเรียนการสอนหลักสูตรตางๆ จํานวนมากอยูแลว PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 13. 13 เวนแตมีเหตุผลและความจําเปน ดังนี้ ตองจัดการศึกษาในสาขาขาดแคลนและสนองความตองการ ของประเทศ ควรมีระยะเวลาสิ้นสุดในการจัดหลักสูตรนั้นๆ ดวย ตองไมจัดการศึกษาในหลักสูตรที่ สถาบันอุดมศึกษาอื่นในพื้นที่นั้นจัดอยูแลวและสถาบันตองเชี่ยวชาญในหลักสูตรที่เปดสอนดวย เหตุผลที่ตองทําการวิจัย จากการที่ตองยุบศูนยมุกดาหารทําใหเกิดผลกระทบตอนักศึกษาขึ้นมาโดยปญหาที่สําคัญ ในการยายที่เรียนจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษาหลักใหญก็ คือระยะทางการเดินทางที่จะตองมาเรียนตองเพิ่มขึ้น จากที่เรียนอยูภายในจังหวัด ก็ตองเดินทางมา เปนระยะทางประมาณ 80 – 130 กิโลเมตร (นักศึกษาอยูคนละที) ซึ่งทําใหเสียเวลาเดินทาง และ ่ คาใชจายเพิ่มขึ้นในการมาเรียน เชนคารถ คาที่พัก เปนตน จากปญหาที่เกิดขึ้นจึงเปนสาเหตุที่จะทําการวิจัยเพื่อใหทราบถึงระดับความพึงพอใจในการ ยายที่เรียนจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษา ซึ่งจะเปนขอมูล พื้นฐานที่จําเปนในการปรับปรุงและพัฒนาการใหบริการของมหาวิทยาลัยเพื่อความเหมาะสมตอไป ผลที่คาดวาจะไดรับ เพื่อใหทางมหาวิทยาลัยตระหนักถึงการปดสถานศึกษาที่ศูนยมุกมีผลกระทบตอนักศึกษาที่ ตองทําการยายมาศึกษาที่จังหวัดสกลนครและทําการเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับมหาวิทยาลัย ในดานการใหบริการของเจาหนาที่ การเดินทางมาศึกษาเลาเรียน สถานที่ อาจารยผูสอน โรงอาหาร หองน้ํา – หองสวม และดานบริการหองสมุด / อินเตอรเน็ต เพื่อนําผลที่ไดมาวางแผนพัฒนา ปรับปรุงในจุดออน รักษามาตรฐานการบริการในจุดแข็งใหนักศึกษาพึงพอใจในการไดรับบริการ จากมหาวิทยาลัยที่ดี วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการยายที่เรียนจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนครของนักศึกษาในดานตางๆ ระหวางศูนยมุกดาหารกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 14. 14 คือ ดานการใหบริการของเจาหนาที, ดานการเดินทางมาศึกษาเลาเรียน, ดานสถานที่, ดานอาจารย ผูสอน, ดานโรงอาหาร, ดานหองน้ํา – หองสวม และดานบริการหองสมุด / อินเตอรเน็ต ขอบเขตการวิจัย 1. การวิจัยในครั้งนี้จะทําการสํารวจความพึงพอใจและความตองการในการยายที่เรียน จากศูนยมุกดาหารมาเปนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษา 2. ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ศูนย มุกดาหาร 3. พื้นที่เปาหมายที่ใชในครั้งนี้คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และ วิทยาลัยการ อาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร 4. ระยะเวลาที่ใชศึกษาวิจัยคือ ภาคเรียนที่ 2/2554 นิยามศัพทเฉพาะ นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาภาคสมทบระดับ บธ.บ. 4 ป (เทียบโอน) ของมหาวิทยาลัยราช ภัฏสกลนครที่ศึกษาอยูศูนยมุกดาหาร ศูนยมุกดาหาร หมายถึง สถานที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครใชเปดการเรียนการสอนที่ จังหวัดมุกดาหาร ที่วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ตั้งอยูที่ถนนเลี่ยงเมือง จังหวัด มุกดาหาร มหาวิทยาลัย หมายถึง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ศูนยมุกกับสกลนคร หมายถึง สถานที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครใชเปดการเรียนการ สอนที่จังหวัดมุกดาหาร ที่วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร กับมหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 15. 15 ความพึงพอใจของนักศึกษา หมายถึง คาเฉลี่ยจากการบอกความรูสึกในการเปรียบเทียบ ระหวางศูนยมุกกับสกลนครในดานตางๆ ของนักศึกษาจากการสุมตอบแบบสํารวจ ความพึงพอใจ  ที่มีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ คือ ระดับ 1 พึงพอใจนอยที่สุด, ระดับ 2 พึงพอใจนอย, ระดับ 3 พึง พอใจปานกลาง, ระดับ 4 พึงพอใจมาก และ ระดับ 5 พึงพอใจมากที่สุด ดานการใหบริการของเจาหนาที่ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก ดานใหบริการดวยความสุภาพ ออนนอม และเปนกันเอง, ดาน มีความเอาใจใส กระตือรือรน และเต็มใจใหบริการ ดานการเดินทางมาศึกษาเลาเรียน หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนครที่ เกี่ยวกับระยะทางในการเดินทางมาเรียน ดานสถานที่ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่เกี่ยวของกับ นักศึกษาไดแก อาคารเรียน, ที่จอดรถ, หองเรียน, โตะเรียน, สื่อการเรียนการสอน และที่พักผอน กอนเขาเรียน ดานอาจารยผูสอน หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่ เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก มีความเอาใจใส กระตือรือรน ในการสอน, มีความตรงตอเวลา, มีการ ใชสื่อที่ทันสมัย ดานโรงอาหาร หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่เกี่ยวของ กับนักศึกษาไดแก สถานที่สะอาด, อาหารสะอาด อรอย ถูกหลักอนามัย, แมครัวพุดจาไพเราะ และ มีโตรับประทานอาหารเพียงพอ หองน้ํา – หองสวม หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่ เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก สถานที่สะอาด และมีหองเพียงพอตอจํานวนผูใช ดานบริการหองสมุด / อินเตอรเน็ต หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางศูนยมุกกับสกลนคร บริการที่เกี่ยวของกับนักศึกษาไดแก มีเอกสารตําราใหศึกษาคนควา, เจาหนาที่พูดจาสุขภาพ, มี PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 16. 16 คอมพิวเตอรเพียงพอตอนักศึกษา, มีระบบอินเตอรเน็ตรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และมีระบบไวไฟ บริการ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากงานวิจัย เพื่อใหมหาวิทยาลัยตระหนักถึงการยายสถานที่ศึกษาจากศูนยมุกดาหารมาเปนที่ จังหวัด สกลนคร เพื่อนําผลที่ไดมาวางแผนพัฒนาปรับปรุงในจุดออน รักษาจุดแข็งใหนักศึกษาพึงพอใจใน การที่ตองยายสถานที่การเรียนในครั้งนี้ การวิจัยในครั้งนี้คาดวาจะไดรับประโยชนในดานตางๆ ดังนี้ 1. เพื่อนําขอมูลไปใชเปนแนวทางในการสรางองคความรูในดานแรงจูงใจที่จะกอใหเกิด ความพอใจใหกับนักศึกษารุนตอไปที่จะมาศึกษาที่มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 2. เพื่อเปนขอมูลเสนอแนะผูที่เกี่ยวของกับการบริหารงานของมหาวิทยาลัยราชภัฎ สกลนครประจําศูนยมุกดาหาร 3. ขอสรุปการวิจัยจะเปนประโยชนตอผูบริหาร ในระดับภาควิชา คณะมหาวิทยาลัย และ / หรือ ทบวงมหาวิทยาลัย ในการพิจารณาปรับปรุงแกไขเปลี่ยนแปลงบรรยากาศของมหวิทยาลัย เพื่อใหการเรียนการสอนและบริการอื่นๆ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 17. 17 บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวของ ั ความพึงพอใจเปนความรูสึกหรือความคิดเห็นไมวาจะเปนทางบวกหรือลบ ซึ่งเปนผลจาก ประสบการณ ความเชื่อ ซึ่งจะขอกลาวถึง ความหมาย และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ ดังนี้ ความหมายของความพึงพอใจ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542: 775) ไดใหความหมายของความพึงพอใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ พฤติกรรมเกี่ยวกับความพึงพอใจของมนุษยคือความพยายามที่จะขจัดความตึงเครียด หรือ ความกระวนกระวาย หรือภาวะไมไดดุลยภาพในรางกาย ซึ่งเมื่อมนุษยสามารถขจัดสิ่งตาง ๆ ดังกลาว ไดแลว มนุษยยอมไดรับความพึงพอใจในสิ่งที่ตนตองการ (เศกสิทธิ์, 2544: 6) อุทัยพรรณ สุดใจ (2545:7) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มี ตอ สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยอาจจะเปนไปในเชิงประเมินคา วาความรูสึกหรือทัศนคติตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้น เปนไปในทางบวกหรือทางลบ สุพล (2540: 27) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก ความคิดเห็นในลักษณะเชิง บวกของบุคคลเมื่อไดรับการตอบสนองความตองการหรือไดรับสิ่งตอบแทนที่คาดหวังไว สุภาลักษณ ชัยอนันต (2540: 17) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจ เปนความรูสึกสวนตัวที่รูสึกเปนสุขหรือยินดีที่ไดรับการตอบสนองความตองการในสิ่งที่ขาด หายไป หรือสิ่งที่ทําใหเกิดความไมสมดุล ความพึงพอใจเปนสิ่งที่กําหนดพฤติกรรมที่จะแสดงออก ของบุคคล ซึ่งมีผลตอการเลือกที่จะปฏิบัติในกิจกรรมใดๆ นั้น อรรถพร (2546: 29) ไดสรุปวา ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติหรือระดับความพึงพอใจ ของบุคคลตอกิจกรรมตางๆ ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้นๆ โดยเกิดจาก PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 18. 18 พื้นฐานของการรับรู คานิยมและประสบการณที่แตละบุคคลไดรับ ระดับของความพึงพอใจจะ เกิดขึ้นเมื่อกิจกรรมนั้นๆ สามารถตอบสนองความตองการแกบคคลนั้นได ุ สายจิตร (2546: 14) ไดสรุปวา ความพึงพอใจเปนความรูสึกที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเปนไป ไดทั้งทางบวกและทางลบ แตถาเมื่อใดที่สิ่งนั้นสามารถตอบสนองความตองการหรือทําใหบรรลุ จุดมุงหมายได ก็จะเกิดความรูสึกทางบวกแตในทางตรงกันขาม ถาสิ่งใดสรางความรูสึกผิดหวังไม บรรลุจุดมุงหมาย ก็จะทําใหเกิดความรูสึกทางลบเปนความรูสึกไมพึงพอใจ จากความหมายที่กลาวมา สรุปไดวา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนเรื่องของ ความรูสึกที่มีความสึกของบุคคลที่มีตองานที่ปฏิบัติอยูและความพึงพอใจจะสงผลตอขวัญในการ ปฏิบติงาน อยางไรก็ดีความพึงพอใจของแตละบุคคลไมมีวันสิ้นสุด เปลี่ยนแปลงไดเสมอ ตาม ั กาลเวลาและสภาพแวดลอมบุคคลจึงมีโอกาสที่จะไมพึงพอใจในสิ่งที่เคยพึงพอใจมาแลว ฉะนั้น ผูบริหารจําเปนจะตองสํารวจตรวจสอบความพึงพอใจในการปฏิบัติใหสอดคลองกับความตองการ ของบุคลากรตลอดไป ทั้งนี้เพื่อใหงานสําเร็จลุลวงตามเปาหมายขององคกรหรือหนวยงานที่ตั้งไว ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ นักวิชาการไดพัฒนาทฤษฎีที่อธิบายองคประกอบของความพึงพอใจ และอธิบาย ความสัมพันธระหวางความพึงพอใจกับปจจัยอื่น ๆ ไวหลายทฤษฎี โครแมน (Korman, A.K., 1977 อางอิงในสมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542: 161-162) ไดจําแนกทฤษฎีความพึงพอใจในงานออกเปน 2 กลุมคือ 1. ทฤษฎีการสนองความตองการ กลุมนี้ถือวาความพึงพอใจ ในงานเกิดจากความตองการ สวนบุคคลที่มีความสัมพันธตอผลที่ไดรับจากงานกับการประสบความสําเร็จตาม เปาหมายสวนบุคคล 2. ทฤษฎีการอางอิงกลุม ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธในทางบวกกับคุณลักษณะ ของงานตามความปรารถนาของกลุม ซึ่งสมาชิกใหกลุมเปนแนวทางในการประเมินผล การทํางาน PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 19. 19 สวนมัมฟอรด (Manford, E., 1972 อางถึงใน สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542:162) ไดจําแนกความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจงานจากผลการวิจัยออกเปน 5 กลุมดังนี้ 1. กลุมความตองการทางดานจิตวิทยา กลุมนี้ไดแก Maslow, A.H. , Herzberg. F และ Likert R.โดยมองความพึงพอใจงานเกิดจากความตองการของบุคคลที่ตองการ ความสําเร็จของงานและความตองการการยอมรับจากบุคคลอื่น 2. กลุมภาวะผูนํามองความพึงพอใจงานจากรูปแบบและการปฏิบัติของผูนําที่มีตอ ผูใตบังคับบัญชา กลุมนี้ไดแก Blake R.R., Mouton J.S. และ Fiedler R.R. 3. กลุมความพยายามตอรองรางวัล เปนกลุมที่มองความพึงพอใจจากรายได เงินเดือน และ ผลตอบแทนอื่น ๆ กลุมนี้ ไดแก กลุมบริหารธุรกิจของมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร (Manchester Business School) 4. กลุมอุดมการณทางการจัดการมองความพึงพอใจจากพฤติกรรมการบริหารงานของ องคกร ไดแก Crogier M. และ Coulder G.M. 5. กลุมเนื้อหาของงานและการออกแบบงาน ความพึงพอใจงานเกิดจากเนื้อหาของตัวงาน กลุมแนวคิดนี้มาจากสถาบันทาวิสตอค (Tavistock Institute) มหาวิทยาลัยลอนดอน ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมนุษยของมาสโลว อับราฮัม มาสโลว (Abraham Maslow) เปนผูวางรากฐานจิตวิทยามนุษยนิยม เขาไดพัฒนา ทฤษฎีแรงจูงใจ ซึ่งมีอิทธิพลตอระบบการศึกษาของอเมริกันเปนอันมาก ทฤษฎีของเขามีพื้นฐานอยู บนความคิดที่วา การตอบสนองแรงขับเปนหลักการเพียงอันเดียวที่มีความสําคัญที่สุดซึ่งอยู เบื้องหลังพฤติกรรมของมนุษย มาสโลวมีหลักการที่สําคัญเกี่ยวกับแรงจูงใจ โดยเนนในเรื่องลําดับขั้นความตองการเขามี ความเชื่อวา มนุษยมีแนวโนมที่จะมีความตองการอันใหมที่สูงขึ้นแรงจูงใจของคนเรามาจากความ ตองการพฤติกรรมของคนเรา มุงไปสูการตอบสนอง ความพอใจ มาสโลว แบงความตองการ PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 20. 20 พื้นฐานของมนุษยออกเปน 5 ระดับดวยกัน (http://web.rmut.ac.th/larts/phy/module7/unit7_7.html) ไดแก 1. มนุษยมีความตองการ และความตองการมีอยูเสมอ ไมมีที่สิ้นสุด 2. ความตองการที่ไดรับการสนองแลว จะไมเปนสิ่งจูงใจสําหรับพฤติกรรมตอไป ความ ตองการที่ไมไดรับการสนองเทานั้นที่เปนสิ่งจูงใจของพฤติกรรม 3. ความตองการของคนซ้ําซอนกัน บางทีความตองการหนึ่ง ไดรับการตอบสนองแลวยังไม สิ้นสุดก็เกิดความตองการดานอื่นขึ้นอีก 4. ความตองการของคนมีลักษณะเปนลําดับขั้น ความสําคัญกลาวคือ เมื่อความตองการใน ระดับต่ําไดรับการสนองแลว ความตองการระดับสูงก็จะเรียกรองใหมีการตอบสนอง 5. ความตองการเปนตัวตนที่แทจริงของตนเอง ลําดับความตองการพื้นฐานของ Maslow เรียกวา Hierarchy of Needs มี 5 ลําดับขั้น ดังนี้ 1. ความตองการดานรางกาย (Physiological needs) เปนตองการปจจัย 4 เชน ตองการ อาหารใหอิ่มทอง เครื่องนุงหมเพื่อปองกันความรอน หนาวและอุจาดตา ยารักษาโรคภัย ไขเจ็บ รวมทั้งที่อยูอาศัยเพื่อปองกันแดด ฝน ลม อากาศรอน หนาว และสัตวราย ความ ตองการเหลานี้มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยทกคน จึงมีความตองการ ุ พื้นฐานขั้นแรกที่มนุษยทุกคนตองการบรรลุใหไดกอน 2. ความตองการความปลอดภัย (Safety needs) หลังจากที่มนุษยบรรลุความตองการดาน รางกาย ทําใหชีวิตสามารถดํารงอยูในขั้นแรกแลว จะมีความตองการดานความปลอดภัย ของชีวิตและทรัพยสินของตนเองเพิ่มขึ้นตอไป เชน หลังจากมนุษยมีอาหารรับประทาน จนอิ่มทองแลวไดเริ่มหันมาคํานึงถึงความปลอดภัยของ อาหาร หรือสุขภาพ โดยหันมา ใหความสําคัญกันเรื่องสารพิษที่ติดมากับอาหาร ซึ่งสารพิษเหลานี้อาจสรางความไม ปลอดภัยใหกับชีวิตของเขา เปนตน PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com
  • 21. 21 3. ความตองการความรักและการเปนเจาของ (Belonging and love needs) เปนความ ตองการที่เกิดขึ้นหลังจากการที่มีชีวิตอยูรอดแลว มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน แลว มนุษยจะเริ่มมองหาความรักจากผูอื่น ตองการที่จะเปนจาของสิ่งตางๆ ที่ตนเอง ครอบครองอยูตลอดไป เชน ตองการใหพอแม พี่นอง คนรัก รักเราและตองการใหเขา เหลานั้นรักเราคนเดียว ไมตองการใหเขาเหลานั้นไปรักคนอื่น โดยการแสดงความเปน เจาของ เปนตน 4. ความตองการการยอมรับนับถือจากผูอื่น (Esteem needs) เปนความตองการอีกขั้นหนึ่ง หลังจากไดรับความตองการทางรางกาย ความปลอดภัย ความรักและเปนเจาของแลว จะตองการการยอมรับนับถือจากผูอื่น ตองการไดรับเกียรติจากผูอื่น เชน ตองการการ เรียกขานจากบุคคลทั่วไปอยางสุภาพ ใหความเคารพนับถือตามควรไมตองการการกดขี่ ขมเหงจากผูอื่น เนื่องจากทุกคนมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยเทาเทียมกัน 5. ความตองการความเปนตัวตนอันแทจริงของตนเอง (Self - actualization needs) เปน ความตองการขั้นสุดทาย หลังจากที่ผานความตองการความเปนสวนตัว เปนความ ตองการที่แทจริงของตนเอง ลดความตองการภายนอกลง หันมาตองการสิ่งที่ตนเองมี และเปนอยู ซึ่งเปนความตองการขั้นสูงสุดของมนุษย แตความตองการในขั้นนี้มัก เกิดขึ้นไดยาก เพราะตองผานความตองการในขั้นอื่นๆ มากอนและตองมีความเขาใจใน ชีวิตเปนอยางยิ่ง http://research.doae.go.th/data/%B7%C4%C9%AE%D5%B5%E8%D2%A7%E6.doc เมื่อวิเคราะหโดยรอบดานแลวจะพบวาระดับความตองการทั้ง 5 ระดับของมนุษยตาม แนวคิดของมาสโลวนั้น สามารถตอบคําถามเรื่องความมุงหมายของชีวิตไดครบถวน ในระดับหนึ่ง เพราะมนุษยเราตามปกติจะมีระดับความตองการหลายระดับ และเมื่อความตองการระดับตนไดรับ การสนองตอบก็จะเกิดความตองการในระดับสูงเพิ่มขึ้นเรื่อยไปตามลําดับจนถึงระดับสูงสุด การ ตอบคําถามเรื่องเปาหมายและคุณคาของชีวิตมนุษยตามแนวของจิตวิทยาแขนงมานุษยนิยมจึงทําได เราไดเห็นคําตอบในอีกแงมุมหนึ่ง PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com