SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
คู่มือทุน
โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษา
ในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประเภททุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก
หลักสูตรปริญญาเอกภายในประเทศ
และหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ
ประจาปี พ.ศ. 2558
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
มิถุนายน 2558
คานา
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้ความสาคัญในการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนา
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างจริงจัง ได้กาหนดให้การพัฒนาอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญประเด็นหนึ่งของแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี (พ.ศ. 2551 –
2565) และได้นาประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาจัดทาเป็นแผนพัฒนาการอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมาย มาตรการและโครงการ เพื่อให้สามารถนาแผนฯ
ไปสู่การปฏิบัติได้ทันที จึงได้ดาเนินการจัดสรรทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก โครงการพัฒนาอาจารย์และ
บุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
เป็นต้นมา
เพื่อให้สถาบันต้นสังกัด และผู้ได้รับทุนได้มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดาเนินการได้อย่างถูกต้อง
จึงได้จัดทาคู่มือทุนโครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศและหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศขึ้น
เพื่อถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน
สานักส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
มิถุนายน 2558
สารบัญ
หน้า
หลักการและเหตุผล 1
วัตถุประสงค์ 1
วิธีดาเนินการ 1
หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1
คานิยาม 2
คุณสมบัติของผู้สมัครขอรับทุน 2
ระดับการให้ทุน 3
การสรรหาผู้รับทุน 3
รูปแบบของทุน 3
การทาสัญญารับทุน 4
การเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4
คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษา 4
หน้าที่ของสถาบันต้นสังกัด 4
หน้าที่ของผู้รับทุน 6
การดาเนินการเกี่ยวกับผู้รับทุน 6
การเสนอขอทุนวิจัย ณ ต่างประเทศสาหรับทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ 7
การเปลี่ยนแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ 8
รายละเอียดการรับทุน 8
การชดใช้ทุน 9
เอกสารภาคผนวก 10
คู่มือทุน
โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ
และหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ
---------------------------------
หลักการและเหตุผล
เป็นที่ยอมรับในปัจจุบันว่าการแก้ไขปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งและความรุนแรงที่เกิดขึ้น
ในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต้องเป็นการแก้ไขปัญหาในเชิงบูรณาการของทุกภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สาคัญที่สุดในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และรัฐบาลได้มีนโยบายเร่งรัดให้เกิด
การขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาในทุกระดับที่สอดคล้องกับความต้องการ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของพื้นที่
อย่างแท้จริง
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนา
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างจริงจัง ได้กาหนดให้การพัฒนาอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญประเด็นหนึ่งของแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี (พ.ศ. 2551 –
2556) และได้นาประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาจัดทาเป็นแผนพัฒนาการอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ในรายละเอียดที่ประกอบด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมาย มาตรการและโครงการ
เพื่อให้สามารถนาแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติได้ทันที รวมทั้งสามารถใช้เป็นกรอบในการขอตั้งงบประมาณประจาปี
ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อผลิตและพัฒนาอาจารย์ให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการและความสามารถในการสอน
โดยเฉพาะในสาขาที่รองรับการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย – มาเลเซีย - ไทย
2. เพื่อผลิตผลงานวิจัยในการแก้ปัญหาเพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ์ในภาคใต้
และช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจ
3. เพื่อวางระบบบริหารโครงการที่มีความคล่องตัวและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
วิธีดาเนินการ
แต่งตั้งคณะทางานจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนา
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทาหน้าที่เสนอแนะแผนการจัดสรรทุนให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์และ
วัตถุประสงค์ของโครงการฯ ดาเนินการพิจารณาจัดสรรทุน ติดตามและประเมินผลการดาเนินการจัดสรรทุน
นาผลการจัดสรรทุนและผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนารูปแบบการจัดสรรทุนให้มีความเหมาะสมเพื่อเสนอ
ให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเห็นชอบ รวมทั้งปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กลุ่มพัฒนาศักยภาพคณาจารย์และบุคลากรอุดมศึกษา สานักส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2
คานิยาม
1. “ผู้รับทุน” หมายถึง ผู้ที่ได้รับการประกาศรายชื่อให้เป็นผู้รับทุนโครงการพัฒนาอาจารย์และ
บุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อศึกษาในประเทศ หลักสูตร
ปริญญาเอกในประเทศ และหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ
2. “ทุนประเภทอาจารย์” หมายถึง ข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์
ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
3. “ทุนประเภทบุคคลทั่วไป” หมายถึง ผู้รับทุนที่มิได้เป็นอาจารย์ หรือตาแหน่งอื่นใน
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
4. “ต้นสังกัด” หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งผู้รับทุนจะต้องไปปฏิบัติงานตามสัญญา
การรับทุนหลังจากสาเร็จการศึกษาแล้ว
5. “สถาบันฝ่ายผลิต” หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งรวมถึงสถาบันนานาชาติ
ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) ที่เป็นสถานศึกษาที่ผู้รับทุนเข้าศึกษา
6. “ผู้ให้ทุน” หมายถึง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือผู้ที่เลขาธิการคณะกรรมการ
การอุดมศึกษามอบอานาจให้ดาเนินการแทน
7. “นักศึกษาสามัญ” หมายถึง นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งได้รับการตอบรับให้เข้าศึกษา
ในฐานะนักศึกษาสามัญ ซึ่งมิใช่นักศึกษาทดลองเรียน
คุณสมบัติของผู้สมัครขอรับทุน
1. เป็นอาจารย์ในสังกัดมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา,
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตปัตตานี/วิทยาเขตหาดใหญ่), มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (วิทยาเขตสตูล/
วิทยาเขตสงขลา), มหาวิทยาลัยทักษิณ (วิทยาเขตสงขลา) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (วิทยาเขต
สงขลา) หรือเป็นบุคคลทั่วไป ซึ่งต้องสามารถหาต้นสังกัด ได้แก่ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, มหาวิทยาลัย
ราชภัฎยะลา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตปัตตานี/วิทยาเขตหาดใหญ่), มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา
(วิทยาเขตสตูล/วิทยาเขตสงขลา), มหาวิทยาลัยทักษิณ (วิทยาเขตสงขลา) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ศรีวิชัย (วิทยาเขตสงขลา) ก่อนสมัครขอรับทุน
2. อายุ
กรณีบุคคลทั่วไป
ทุนปริญญาเอก ไม่เกิน 40 ปี นับถึงวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558
กรณีอาจารย์
ทุนปริญญาเอก ไม่เกิน 45 ปี นับถึงวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558
3. ค่าคะแนนเฉลี่ยสะสม
จะต้องมี GPA ตลอดหลักสูตรระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าไม่น้อยกว่า 3.50 ผู้ที่ผ่านระบบ
การศึกษาที่มีการให้คะแนนเป็นระบบอื่น จะต้องมีผลการเรียนที่เทียบได้กับคะแนนเฉลี่ยสะสมของไทย (GPA)
หรือ กรณีอาจารย์ ที่มี GPA ตลอดหลักสูตร ไม่เป็นไปตามที่กาหนดจะต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ตาม
เกณฑ์ ก.พ.อ. กาหนด อย่างน้อย 2 เรื่อง
3
4. ผู้สมัครรับทุนประเภทอาจารย์จะต้องมีหลักฐานการได้รับอนุญาตจากสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด
ให้ลาราชการเพื่อศึกษาเต็มเวลา
5. ผู้รับทุนต้องเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก ในหลักสูตรเต็มเวลาภาคปกติ ภายในภาคการศึกษา
ที่ 1/2558 ของแต่ละหลักสูตรในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรองและเป็น
สถาบันอุดมศึกษาที่มีสัดส่วนอาจารย์วุฒิปริญญาเอกมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 ของจานวนอาจารย์
ประจาทั้งหมดในสถาบัน
6. ผู้สมัครที่เคยได้รับทุนรัฐบาลไทยหรือทุนอื่นใดเพื่อศึกษา ณ ต่างประเทศ หรือศึกษาใน
ประเทศมาแล้ว จะต้องเป็นผู้ที่หมดภาระผูกพันในการชดใช้ทุนตามสัญญาที่ได้ทาไว้กับส่วนราชการ หรือหน่วยงาน
เจ้าของทุนแล้ว ก่อนกาหนดวันทาสัญญารับทุน เว้นแต่จะมีหนังสือยินยอมจากต้นสังกัด หรือหน่วยงานเจ้าของทุน
ให้สมัครรับทุนและยินยอมให้ชะลอการชดใช้ทุนไว้ก่อน ผู้ที่อยู่ระหว่างรับทุนรัฐบาลไทยโครงการอื่นอยู่แล้ว
ไม่มีสิทธิ์เป็นผู้รับทุนในโครงการนี้
7. การพิจารณาจะพิจารณาตามหลักเกณฑ์การสมัครขอรับทุนการศึกษาระดับปริญญาเอก
ในประเทศ และระดับปริญญาเอกร่วมในประเทศ – ต่างประเทศ โดยผลการพิจารณาตัดสินของคณะทางาน
จัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
ถือเป็นที่สุด
ระดับการให้ทุน
ทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ที่รับเข้าศึกษาโดยวุฒิปริญญาโท
การสรรหาผู้รับทุน
- ผู้สมัครขอรับทุนสามารถสมัครทางเว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr
(โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้)
ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
- คณะทางานจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนา
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ดาเนินการพิจารณาคัดเลือกผู้ได้รับทุน และเสนอให้สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา
- สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดทาประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุน
และแจ้งประกาศทางเว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr (โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร
สาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้) พร้อมทั้งแจ้งสถาบันต้นสังกัดเพื่อทราบ
รูปแบบของทุน
- ทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ (Sandwich Program) หมายถึง ทุนที่ผู้รับทุน
ศึกษาในประเทศ และมีสิทธิ์รับเงินไปทาวิจัยในต่างประเทศ เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี
- ทุนปริญญาเอกในประเทศ หมายถึง ทุนที่ผู้รับทุนศึกษาในประเทศตลอดหลักสูตร ไม่มีสิทธิ์
รับเงินไปทาวิจัยในต่างประเทศตามโครงการนี้
4
การทาสัญญารับทุน
ผู้มีรายชื่อตามประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ ให้จัดทาสัญญารับทุนกับสถาบัน
ต้นสังกัด ภายในระยะเวลาที่กาหนดตามประกาศ
การเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้รับทุนส่งแบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจากสถาบันฝ่ายผลิตที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด
ตามแบบ ทต.น/1 (เอกสารผนวก 3) ไปยังสถาบันต้นสังกัดเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและแต่งตั้งเป็นอาจารย์
ที่ปรึกษา ทั้งนี้ ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้รับประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ
คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษา
หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ
- สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระดับนานาชาติ
ในฐานสากล อย่างต่อเนื่องในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่ต่ากว่า 0.5 เรื่องต่อปี
- สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ต้องมีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่า
กับผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่อิงเกณฑ์ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล
ให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 สามารถ Download
ประกาศ ก.พ.อ. ได้ที่ เว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr (เอกสารผนวก 1)
หลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ – ต่างประเทศ
- สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระดับนานาชาติ
ในฐานสากล อย่างต่อเนื่องในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่ต่ากว่า 1 เรื่องต่อปี
- สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ต้องมีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่า
กับผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่อิงเกณฑ์ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล
ให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 สามารถ Download
ประกาศ ก.พ.อ. ได้ที่ เว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr (เอกสารผนวก 1)
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระดับนานาชาติในฐานสากล ได้แก่ ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์บนฐาน ISI และ Scopus
หน้าที่ของสถาบันต้นสังกัด
1. รับรายงานตัว (เอกสารผนวก 2) และจัดทาสัญญารับทุนกับผู้รับทุนในสังกัด กรณีผู้รับทุน
ขอสละสิทธิ์ ต้องมีหนังสือแจ้งให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบ
2. สถาบันต้นสังกัดจะต้องจัดส่งใบรายงานตัว สัญญารับทุน พร้อมทั้งรายงานให้สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบว่า ผู้รับทุนที่อยู่ในสังกัด ในช่วงเวลาที่ศึกษาได้รับเงินเดือนหรือไม่
ขั้นเงินเดือนเท่าใด และได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาเต็มเวลาหรือไม่ (เอกสารผนวก 5) พร้อมแนบคาสั่งที่อนุมัติ
ให้ลาศึกษา
3. ติดตามผู้รับทุนในสังกัด ให้ส่งแบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา (เอกสารผนวก 3) ทั้งนี้ ภายใน
1 ปี นับตั้งแต่วันประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ และพิจารณาเห็นชอบอาจารย์ที่ปรึกษาตามที่
5
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มอบอานาจ พร้อมทั้งรายงานการอนุมัติให้สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน
4. เสนอของบประมาณประจาปี สาหรับผู้รับทุนในสังกัด และส่งให้สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ภายในวันที่ 1 เมษายน ของทุกปี (เอกสารผนวก 10)
5. จัดส่งแผนการวิจัยในสถาบันต่างประเทศ ของผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ-
ต่างประเทศ ที่ผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณา
เห็นชอบแผนวิจัยในสถาบันต่างประเทศและอนุมัติงบประมาณ ก่อนวันเดินทาง 3 เดือน
6. ในกรณีที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โอนเงินงบประมาณผ่านบัญชี
ธนาคารกรุงไทย หรือ สั่งจ่ายเช็คให้แก่สถาบันต้นสังกัด หลังจากที่สถาบันต้นสังกัดได้รับเงินทุนจากสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาแล้ว จะต้องจัดส่งใบเสร็จการรับเงินทุนดังกล่าว ให้แก่ สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับเงิน
7. ติดตามและรายงานผลการศึกษาประจาภาคของผู้รับทุน ทุกภาคการศึกษา เสนอสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่ทราบผลการศึกษา (เอกสารผนวก 7)
8. ต้องทาบัญชีสรุปค่าใช้จ่ายประจางวดของผู้รับทุนเสนอสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันจ่ายเงินประจางวดของแต่ละภาคการศึกษา (เอกสารผนวก 8)
9. ต้องรวบรวมแบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้าของผู้รับทุน ส่งให้สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาทราบ ทุก 6 เดือน (ตามเอกสารผนวก 9)
10. ต้องรายงานการสาเร็จการศึกษาของผู้รับทุน โดยแนบแบบรายงานการสาเร็จการศึกษา
(เอกสารผนวก 11) พร้อมหลักฐานการตอบรับตีพิมพ์ผลงานของผู้รับทุนในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ใน
ฐานข้อมูล ISI หรือ Scopus พร้อมผลงานดุษฎีนิพนธ์ในรูปแบบไฟล์ *.pdf จานวน 1 ชุด ให้แก่ สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่สาเร็จการศึกษา โดยผลงานนั้นจะต้องมีคาขอบคุณแหล่งทุนจาก
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด้วย และผู้รับทุนจะต้องเป็นชื่อแรกของผลงานนั้น เพื่อประกอบการอนุมัติ
ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษา งวดสุดท้าย 50,000 บาท
11. รับรายงานตัวเพื่อปฏิบัติงานชดใช้ทุนของผู้รับทุนที่สาเร็จการศึกษา โดยให้ผู้รับทุนกรอก
ข้อมูล (เอกสารผนวก 12)
12. เมื่อผู้รับทุนสาเร็จการศึกษา สถาบันต้นสังกัดต้องรายงานผลการเบิกจ่ายเงินทุนทั้งหมด
ที่ผู้รับทุนได้รับจากโครงการ และระยะเวลาที่ต้องชดใช้ทุนให้สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน
นับตั้งแต่วันที่รับรายงานตัวเข้าปฏิบัติงาน (เอกสารผนวก 13)
13. กรณีผู้รับทุนไม่สามารถสาเร็จการศึกษา ให้รายงานสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ทราบภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ทราบ
14. ติดตามการชดใช้ทุน หรือให้ผู้รับทุนปฏิบัติตามสัญญารับทุน ติดตามเร่งรัดดาเนินคดี
กับผู้ผิดสัญญารับทุนที่อยู่ในสังกัด หรือมีสัญญาว่าจะสังกัด
15. จัดเก็บสัญญาผู้รับทุนและเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น รายงานผลการศึกษา เอกสารรายงานตัว
สาหรับผู้รับทุน เอกสารรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานหลังสาเร็จการศึกษา เป็นต้น
6
16. ในระหว่างที่รับทุน สถาบันต้นสังกัดจะทาหน้าที่ดูแล ประสานงาน และติดตามผลการศึกษา
จนกระทั่งผู้รับทุนสาเร็จการศึกษาและรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานชดใช้ทุน
หน้าที่ของผู้รับทุน
1. ผู้ที่ได้รับการประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ รายงานตัว (เอกสารผนวก 2)
และจัดทาสัญญากับสถาบันต้นสังกัด โดยจัดเตรียมเอกสาร (เอกสารผนวก 4)
2. ผู้รับทุนส่งแบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด ตามแบบ ทต.น/1
(เอกสารผนวก 3) ไปยังสถาบันต้นสังกัด ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ
3. ต้องรายงานผลการศึกษาทุกภาคการศึกษา (เอกสารผนวก 7) รวมทั้ง รายงานความก้าวหน้า
(เอกสารผนวก 9) ให้สถาบันต้นสังกัดทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่ทราบผลการศึกษา เพื่อให้สถาบันต้นสังกัด
รวบรวมส่งให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
4. ผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ – ต่างประเทศ จัดทาแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ
ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา และเสนอแผนวิจัยพร้อมหลักฐานตอบรับจากต่างประเทศ ผู้ที่ศึกษาในหลักสูตรที่มี
course work จะต้องสอบผ่านรายวิชา โดยแสดงหลักฐานที่แสดงว่าสอบผ่านรายวิชาตามที่กาหนด และแผน
ของเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ และผลคะแนนภาษาอังกฤษ TOEFL ไม่ต่ากว่า
500 คะแนน หรือผลสอบที่เทียบเท่า TOEFL โดยสถาบันอื่น ซึ่งระยะเวลาการวิจัย ณ ต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า
6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี โดยช่วงเวลาการวิจัย ณ ต่างประเทศ ต้องอยู่ในช่วงเวลาที่ได้รับทุนตามสิทธิ์ ไปยังสถาบัน
ต้นสังกัดเพื่อตรวจสอบเอกสารหลักฐานเบื้องต้น ก่อนส่งให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาอนุมัติ
แผนการศึกษาวิจัย ณ ต่างประเทศ และอนุมัติงบประมาณ (เอกสารผนวก 6)
5. ผู้รับทุนที่จัดทาสัญญาการรับทุนแล้ว จะต้องเบิกจ่ายเงินทุนการศึกษาจากสถาบันต้นสังกัด
ภายในกาหนดเวลา โดยนาหลักฐานแบบรายงานตัวต่อสถาบันต้นสังกัด หลักฐานที่ได้รับความเห็นชอบอาจารย์ที่
ปรึกษา และสัญญาการรับทุนไปแสดงในการเบิกจ่ายเงินทุนงวดแรก แต่สาหรับผู้รับทุนที่เป็นอาจารย์จะต้องแสดง
หลักฐานการได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาเต็มเวลาราชการด้วย
6. ผู้รับทุนต้องตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI หรือ Scopus
โดยผลงานนั้นผู้รับทุนจะต้องเป็นชื่อแรก และต้องมีคาขอบคุณสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด้วย
7. ผู้รับทุนที่ได้รับการตอบรับจากบรรณาธิการของวารสารที่ให้ตีพิมพ์ผลงานแล้ว และสาเร็จ
การศึกษาแล้ว ให้แจ้งตามแบบรายงานการสาเร็จการศึกษา (เอกสารผนวก 11) พร้อมส่งดุษฎีนิพนธ์ในรูปของไฟล์
*.pdf จานวน 1 ชุด ให้แก่สถาบันต้นสังกัด เพื่อให้สถาบันต้นสังกัดส่งให้แก่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
8. ผู้รับทุนต้องรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานต่อสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด ภายใน 7 วัน หลังจาก
สาเร็จการศึกษา ตามแบบรายงานตัว (เอกสารผนวก 12)
การดาเนินการเกี่ยวกับผู้รับทุน
ผู้รับทุนโครงการทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจาปี 2558 จะต้องให้สถาบันต้นสังกัดพิจารณาเห็นชอบในกรณี ดังต่อไปนี้
1. การพิจารณาให้ความเห็นชอบอาจารย์ที่ปรึกษาและการเปลี่ยนอาจารย์ที่ปรึกษาตามเกณฑ์
ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด
2. การเปลี่ยนสาขาวิชาที่ศึกษาต้องอยู่ในกลุ่มสาขาวิชาเดียวกัน
7
3. การเปลี่ยนหัวข้อวิทยานิพนธ์ต้องอยู่ภายใต้กรอบของสาขาวิชาที่รับทุน
4. การเปลี่ยนสถาบันการศึกษาจะต้องเป็นสถาบันการศึกษาของรัฐในสังกัดหรือในกากับ
กระทรวงศึกษาธิการที่อยู่ในบัญชีรายชื่อตามเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด
5. การเปลี่ยนแผนการศึกษาวิจัย ณ ต่างประเทศของผู้รับทุนที่ศึกษาในหลักสูตรปริญญาเอกร่วม
ในประเทศ-ต่างประเทศ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและอยู่ในช่วงเวลาของการรับทุนตามเกณฑ์
ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด
6. การสละสิทธิ์และยุติการรับทุนการศึกษา
นอกเหนือจากนี้ให้เสนอคณะทางานจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับ
สถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ พิจารณาให้ความเห็นเสนอต่อ
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณีไป
การพิจารณาอนุมัติในทุกกรณีต้องมีเหตุผลความจาเป็นที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาการด้านการเรียน
การสอน การวิจัย และการบริหารทางวิชาการของภาควิชา หรือหน่วยงานที่เทียบเท่าที่จะมอบหมายให้ผู้รับทุน
รับผิดชอบหลังสาเร็จการศึกษาแล้ว และจะต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าภาควิชาและคณบดี หรือหัวหน้า
หน่วยงานที่เทียบเท่า และเมื่ออธิการบดีได้อนุมัติแล้วให้รายงานโดยส่งสาเนาหลักฐานการอนุมัติให้สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติ
การเสนอขอทุนวิจัย ณ ต่างประเทศ สาหรับผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ
- ผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ จัดทาแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ
ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา (เอกสารผนวก 6)
- ต้องมีหลักฐานตอบรับจากอาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศ
- ต้องมีผลคะแนนภาษาอังกฤษ TOEFL ไม่ต่ากว่า 500 หรือผลสอบที่เทียบเท่าโดยสถาบันอื่น
(เช่น IELTS, CU-TEP ฯลฯ) ยกเว้น กรณีผู้รับทุนไปทาวิจัย ณ ประเทศ ซึ่งไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน
ให้ใช้ผลสอบภาษาที่ใช้ในประเทศนั้น ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด
- ต้องมีระยะเวลาทาวิจัยไม่น้อยกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี
- ต้องไม่เดินทางไปทาวิจัยในปีแรกของการศึกษา
- ช่วงเวลาของการทาวิจัย ณ ต่างประเทศ ต้องอยู่ในช่วงเวลาที่ได้รับทุนตามสิทธิ์
- สาหรับผู้ที่ศึกษาในหลักสูตร ที่มี Course work จะต้องสอบผ่านรายวิชา ตามที่กาหนดใน
Course work ครบถ้วนแล้ว โดยจะต้องมีหลักฐานมาแสดงด้วย
- ต้องมีแผนของเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ
- ส่งแผนงานวิจัยพร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้องได้แก่ หลักฐานตอบรับผลสอบภาษาอังกฤษ ผลสอบ
Course work แผนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ ไปยังสถาบันต้นสังกัด
- กรณีอาจารย์ที่ปรึกษาไทยจะเดินทางไปต่างประเทศ หรืออาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศจะ
เดินทางมาประเทศไทย กรณีนี้ให้จัดทาแผนค่าใช้จ่ายพร้อมกับแผนวิจัยของผู้รับทุน ซึ่งรวมค่าใช้จ่าย 3 รายการแล้ว
ไม่เกิน 800,000 บาท ส่วนการเบิกเงินสามารถที่จะแยกเบิกได้ตามกาหนดการจริง
8
การเปลี่ยนแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ
- กรณีที่มีเปลี่ยนแปลงแผนการวิจัยตามที่ได้รับอนุมัติเดิม เช่น เปลี่ยนมหาวิทยาลัย หรือเปลี่ยน
ประเทศ หรือเปลี่ยนกาหนดการเดินทาง จะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน และเสนอแผนวิจัย
ที่ปรับปรุงใหม่ให้อธิการบดีสถาบันต้นสังกัดเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ และเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิการบดีแล้ว สถาบัน
ต้นสังกัดต้องรายงานให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่อนุมัติเปลี่ยน
แผนวิจัย ณ ต่างประเทศ
รายละเอียดการรับทุน
- ระยะเวลาการรับทุน
- ทุนการศึกษาไม่เกิน 4 ปี
- สาหรับผู้ที่ศึกษาระดับปริญญาเอก ก่อนภาคการศึกษา 1/2558 จะได้รับทุนตั้งแต่ ภาค
การศึกษา 1/2558 เป็นต้นไป เป็นเวลาเท่ากับระยะเวลาที่เหลืออยู่ของทุนการศึกษา 4 ปี
ตัวอย่าง การคานวณระยะเวลาการรับทุนกรณีเข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก ก่อนภาคการศึกษา 1/2558 เช่น
เข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก ภาคการศึกษา 1/2557 ผู้รับทุนมีสิทธิ์ได้รับเงินทุนการศึกษา จานวน 3 ปี นับตั้งแต่
ภาคการศึกษา 1/2558 เป็นต้นไป
- อัตราค่าใช้จ่ายทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ
- ค่าใช้จ่ายประจาเดือน
บุคคลทั่วไป วุฒิปริญญาโท 10,000 บาท/เดือน
อาจารย์ ที่ได้รับเงินเดือนต่ากว่าค่าใช้จ่ายประจาเดือนของบุคคลทั่วไป ให้เฉพาะส่วนต่าง
และอาจารย์ที่รับเงินเดือนจากต้นสังกัดในช่วงเวลาที่ลาศึกษา หากเรียนต่างท้องที่ได้รับเพิ่ม เดือนละ 4,400 บาท/เดือน
- ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าเล่าเรียน ค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
และค่าธรรมเนียมวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 165,000 บาท/ปี
- ค่าใช้จ่ายในการวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 50,000 บาท/ปี
- ค่าใช้จ่ายในการทาวิจัย ณ ต่างประเทศ ไม่เกิน 800,000 บาท ได้แก่ ค่าใช้จ่ายของนักศึกษา
ที่ไปทาวิจัย ณ ต่างประเทศ, ค่าใช้จ่ายของอาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศเดินทางมาประเทศไทย และค่าใช้จ่ายของ
อาจารย์ที่ปรึกษาไทยเดินทางไปต่างประเทศ
- ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทย 30,000 บาท/ปี ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี
- ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทยเมื่อผู้รับทุนสาเร็จการศึกษา และมีผลงานตีพิมพ์เป็นไปตาม
เงื่อนไขที่ทุนกาหนด 50,000 บาท
- อัตราค่าใช้จ่ายทุนปริญญาเอกในประเทศ
- ค่าใช้จ่ายประจาเดือน
บุคคลทั่วไป วุฒิปริญญาโท 10,000 บาท/เดือน
อาจารย์ ที่ได้รับเงินเดือนต่ากว่าค่าใช้จ่ายประจาเดือนของบุคคลทั่วไป ให้เฉพาะส่วนต่าง
และอาจารย์ที่รับเงินเดือนจากต้นสังกัดในช่วงเวลาที่ลาศึกษา หากเรียนต่างท้องที่ได้รับเพิ่มเดือนละ 4,400 บาท
9
- ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าเล่าเรียน ค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนวิทยานิพนธ์และ
ค่าธรรมเนียมวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 165,000 บาท/ปี
- ค่าใช้จ่ายในการวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 50,000 บาท/ปี
- ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทย 30,000 บาท/ปี ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี
- ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทยเมื่อนักศึกษาสาเร็จการศึกษา และมีผลงานตีพิมพ์เป็นไป
ตามเงื่อนไขที่ทุนกาหนด 50,000 บาท
หมายเหตุ
ค่าใช้จ่ายในการวิจัยตามที่จ่ายจริง หมายถึง ค่าวัสดุสิ้นเปลืองเพื่อการทาวิจัย ค่าหนังสือ
ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ซึ่งอาจารย์ที่ปรึกษาต้องรับทราบ โดยมีลายมือชื่อ
ของอาจารย์ที่ปรึกษาในใบเสร็จหรือใบสาคัญรับเงิน
การชดใช้ทุน
ผู้รับทุนต้องชดใช้ทุน ดังนี้
1. กรณีศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ ซึ่งศึกษาในประเทศตลอดหลักสูตร จะต้อง
ปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด หรือหน่วยงานอื่น ตามที่ผู้ให้ทุนกาหนดเป็นเวลาเท่ากับระยะเวลาที่
ผู้รับทุนได้รับทุนอุดหนุนการศึกษา กรณีผู้รับทุนไม่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรในระยะเวลาตามสัญญา
ในข้อ 1 และได้รับอนุมัติจากผู้ให้ทุนให้ขยายเวลาการศึกษา โดยได้รับเงินทุนเพิ่มเติมหรือไม่ก็ตามให้ถือว่า
ระยะเวลาที่ขยายออกไปนั้นเป็นระยะเวลารับทุนตามสัญญานี้ด้วย หากผู้รับทุนไม่ยอมปฏิบัติงานชดใช้ทุนหรือ
ผู้รับทุนไม่ประพฤติหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญานี้ไม่ว่ากรณีใดๆ หรือผู้ให้ทุนสั่งงดให้ทุนอุดหนุนการศึกษา เนื่องจาก
ความผิดหรือความบกพร่องของผู้รับทุน หรือผู้รับทุนบอกงดการรับทุน ผู้ให้ทุนมีสิทธิบอกเลิกและงดการให้ทุน
ตามสัญญานี้ทันที โดยผู้รับทุนต้องชดใช้เงินทุนทั้งหมดที่ได้รับตามสัญญานี้ รวมทั้งเงินในส่วนของอาจารย์
ที่ปรึกษาได้รับด้วย พร้อมเบี้ยปรับอีกเป็นจานวนหนึ่งเท่าของเงินจานวนดังกล่าวคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
2. กรณีศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ ซึ่งมีโอกาสไปวิจัย ณ ต่างประเทศ
ไม่น้อยกว่า 6 เดือน จะต้องปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด หรือหน่วยงานอื่น ตามที่ผู้ให้ทุนกาหนด
เป็นเวลาเท่ากับระยะเวลาที่ผู้รับทุนได้รับทุนอุดหนุนการศึกษาภายในประเทศ และอีกสองเท่าของระยะเวลา
ที่ผู้รับทุนได้รับทุนอุดหนุนการศึกษาหรือวิจัย ณ ต่างประเทศ กรณีผู้รับทุนไม่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
ในระยะเวลาตามสัญญาในข้อ 1 และได้รับอนุมัติจากผู้ให้ทุนให้ขยายเวลาการศึกษา โดยได้รับเงินทุนเพิ่มเติม
หรือไม่ก็ตามให้ถือว่าระยะเวลาที่ขยายออกไปนั้นเป็นระยะเวลารับทุนตามสัญญานี้ด้วย หากผู้รับทุนไม่ยอม
ปฏิบัติงานชดใช้ทุนหรือผู้รับทุนไม่ประพฤติหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญานี้ไม่ว่ากรณีใดๆ หรือผู้ให้ทุนสั่งงดให้
ทุนอุดหนุนการศึกษาเนื่องจากความผิดหรือความบกพร่องของผู้รับทุน หรือผู้รับทุนบอกงดการรับทุน ผู้ให้ทุน
มีสิทธิ์บอกเลิกและงดการให้ทุนตามสัญญานี้ทันที โดยผู้รับทุนต้องชดใช้เงินทุนทั้งหมดที่ได้รับตามสัญญานี้
รวมทั้งเงินในส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาได้รับด้วย พร้อมทั้งชาระเบี้ยปรับให้แก่ผู้ให้ทุนเป็นเงินอีกจานวน
หนึ่งเท่าของเงินดังกล่าว และจานวนสองเท่าของเงินทุนอุดหนุนการศึกษาหรือวิจัย ณ ต่างประเทศที่ผู้รับทุน
ได้รับไปคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
10
เอกสารภาคผนวก
1. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่ากับผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กาหนด
2. ใบรายงานตัวผู้รับทุน
3. แบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา แบบ ทต.น./1
4. การจัดทาสัญญารับทุน
5. แบบแสดงรายละเอียดผู้รับทุนปริญญาเอกในประเทศ
6. แบบฟอร์มเสนอแผนการวิจัย ณ ต่างประเทศ ของผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ -
ต่างประเทศ
7. แบบรายงานผลการศึกษา
8. รายงานการเงินสรุปการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายผู้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก
9. แบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้าหรือผลการดาเนินการของโครงการของผู้รับทุน
10. แบบเสนอรายการงบประมาณผู้รับทุนศึกษาระดับปริญญาเอกโครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร
สาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ สาหรับสถาบันต้นสังกัด
11. แบบรายงานการสาเร็จการศึกษายื่นต่อสถาบันต้นสังกัด
12. แบบรายงานตัวเพื่อปฏิบัติงานที่สถาบันต้นสังกัดหลังสาเร็จการศึกษา
13. แบบรายงานสรุปผลการเบิกจ่ายเงินทุน
11
เอกสารผนวก 1
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่ากับผลงานวิจัย ที่ได้รับการเผยแพร่
ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กาหนด
คานิยาม ผลงานทางวิชาการอย่างอื่นที่มิใช่เอกสารประกอบการสอน เอกสารคาสอน บทความทาง
วิชาการ หนังสือ ตารา หรืองานวิจัย โดยปกติหมายถึงสิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์ อาทิ การประดิษฐ์เครื่อง
ทุ่นแรง ผลงานการสร้างสิ่งมีชีวิตพันธุ์ใหม่ วัคซีน สิ่งก่อสร้าง หรือผลงานด้านศิลปะ หรือสารานุกรม
รวมถึงงานแปลจากตัวงานต้นแบบที่เป็นวรรณกรรม หรืองานด้านปรัชญา หรือประวัติศาสตร์ หรือ
วิทยาการสาขาอื่นบางสาขาที่มีความสาคัญและทรงคุณค่าในสาขาวิชานั้นๆซึ่งเมื่อนามาแปลแล้วจะเป็นการเสริม
ความก้าวหน้าทางวิชาการที่ประจักษ์ชัด เป็นการแปลจากภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย หรือจากภาษาไทยเป็น
ภาษาต่างประเทศ หรือแปลจากภาษาต่างประเทศหนึ่งเป็นภาษาต่างประเทศอีกภาษาหนึ่ง
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เสนอจะต้องประกอบด้วยบทวิเคราะห์ที่อธิบาย และชี้ให้เห็นว่างาน
ดังกล่าวทาให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเสริมสร้างองค์ความรู้ หรือให้วิธีการที่จะเป็นประโยชน์ต่อ
สาขาวิชานั้น และแสดงถึงความสามารถในการบุกเบิกในสาขาวิชานั้น สาหรับผลงานที่มุ่งเชิงปฏิบัติจะต้องผ่าน
การพิสูจน์หรือมีหลักฐานรายละเอียดต่างๆประกอบแสดงให้เห็นคุณค่าของผลงาน
รูปแบบ
1. อาจจัดเพิ่มได้หลายรูปแบบทั้งที่เป็นรูปเล่ม หรือการบันทึกเป็นภาพยนตร์ หรือแถบเสียง
2. มีคาอธิบาย / ชี้แจงโดยชัดเจนประกอบผลงานนั้น เพื่อชี้ให้เห็นว่าเป็นผลงานที่ทาให้เกิดการพัฒนา และ
ความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเสริมสร้างความรู้หรือก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาหนึ่งๆหรือหลาย
สาขาวิชาได้อย่างไร ในแง่ใด
3. กรณีผลงานที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือผลงานที่มุ่งในเชิงปฏิบัติจะต้องผ่านการพิสูจน์ หรือแสดงหลักฐานเป็น
รายละเอียดให้ครบถ้วนที่แสดงถึงคุณค่าของผลงานนั้นด้วย
12
ใบรายงานตัวผู้รับทุนปริญญาเอกในประเทศ และปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ ประจําปี ...............
ภายใต้โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
นาย นาง นางสาว ................................................................................... อายุ .................. ปี
Mr. Mrs. Miss ………………………………………………………………..
เลขที่บัตรประชาชน
ประเภทของทุนที่ได้รับ : ทุนปริญญาเอกในประเทศ ทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ
ยืนยันการรับทุน : ยืนยันการรับทุน สละสิทธิ์การรับทุน
คุณวุฒิการศึกษา :
ปริญญาตรี วุฒิที่ได้รับ......................................................ม/ส..................................................GPA……………ปีที่สําเร็จ.....................
ปริญญาโท วุฒิที่ได้รับ......................................................ม/ส..................................................GPA……………ปีที่สําเร็จ.....................
ปัจจุบัน กําลังศึกษาในหลักสูตร............................................................ สาขาวิชา .................................................................
คณะ...................................................มหาวิทยาลัย ..................................................วิทยาเขต.........................................
เป็นหลักสูตร ปกติ ภาคพิเศษ หลักสูตรนานาชาติ ปริญญาเอกร่วมสถาบัน
เริ่มเข้าศึกษาตั้งแต่ภาคการศึกษาที่..........................ปีการศึกษา ..............................
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาหลัก..........................................................ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม..................................................
มีสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด ภาควิชา.........................................................คณะ .........................................................
มหาวิทยาลัย.........................................................................วิทยาเขต............................................................................
ตําแหน่ง ข้าราชการตําแหน่งอาจารย์ ข้าราชการสาย ข.
พนักงานราชการตําแหน่งอาจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัยตําแหน่งอาจารย์
อาจารย์อัตราจ้าง อื่นๆ โปรดระบุ..............................................
ระหว่างการรับทุน ต้นสังกัดอนุมัติให้ลาศึกษา ต้นสังกัดไม่อนุมัติให้ลาศึกษา
ได้รับเงินเดือนจากต้นสังกัด ขั้นเงินเดือน....................................... บาท
ไม่ได้รับเงินเดือนจากต้นสังกัด
สังกัดหน่วยงานอื่น/บริษัทเอกชน ชื่อหน่วยงาน/บริษัท.............................................................
ตําแหน่ง.........................................................โทรศัพท์.......................................................................
อยู่ระหว่างการรับทุนการศึกษา/ทุนอื่น ๆ ชื่อทุนที่ได้รับ..............................................................
หน่วยงานที่ให้ทุน................................................ระยะเวลาที่ได้รับทุน..............................................
ความสนใจและความเชี่ยวชาญ
มีความสนใจในงานวิจัยด้าน………………………………………………………………………….………….……………
ความเชี่ยวชาญด้าน…………….…………………………………………………………………………………...…………
ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้สะดวกที่สุด
บ้านเลขที่ ....................... หมู่ที่ ............. ตรอก/ซอย ................................................ ถนน .................................................................
ตําบล/แขวง .......................................อําเภอ/เขต ........................................ จังหวัด .......................................รหัสไปรษณีย์
................. โทรศัพท์บ้าน ............................... มือถือ.....................................โทรสาร……….………..e-mail…………………………………….
กรณีเร่งด่วนสามารถติดต่อได้ที่ (ชื่อ-นามสกุล).............................................ความสัมพันธ์..........................โทรศัพท์ ...........................
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลดังกล่าวข้างต้นเป็นจริงทุกประการ
ลายมือชื่อ......................................................(คณบดีสถาบันต้นสังกัด) ลายมือชื่อ..............................................................ผู้รับทุน
(.......................................................) (..............................................................)
............./.........../.................. ............./.........../..................
กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อประโยชน์ของตัวท่านเอง หากแจ้งข้อมูลเท็จจะยกเลิกการให้ทุน
ติดรูปถ่าย
ขนาด 1 นิ้ว
เอกสารผนวก 2
แบบ ทต.น/1
แบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
นักศึกษาเป็นผู้ผ่านการคัดเลือกได้รับทุนประเภท
ทุนปริญญาเอกในประเทศ CHE-SSR-PhD-THA
ทุนปริญญาเอกใน-ร่วมต่างประเทศ CHE-SSR-PhD-SW
โดยนักศึกษาเข้าศึกษาใน หลักสูตร..................................................................................................
สาขา....................................................................................... ...............
ภาควิชา.................................................................................. ...............
คณะ....................................................................................... ...............
มหาวิทยาลัย........................................................................... ...............
1. ข้อมูลทั่วไปของอาจารย์ที่ปรึกษา
1.1 ชื่อ ………………………………...………………นามสกุล………………………………………………
1.2 ตําแหน่งทางวิชาการ………………………………………………………………………………..……..
1.3 สถานที่ทํางาน
(กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วน)
สังกัดภาควิชา…………………………………………..คณะ……………………………………..……………..
สถาบัน……………………………………………………………………………………………………………
ที่อยู่เลขที่…………………………ถนน……………………………แขวง…………………………..…………..
เขต…………………………………จังหวัด…………………………….รหัสไปรษณีย์ ……………………..…
โทรศัพท์ ………………………………………..โทรสาร .................……..……………………………………
มือถือ………………………………………. E-mail………………..…………….........……………………….
1.4 ข้อมูลภาษาอังกฤษ
Name…………………………………….Last name………………………………………..………………….
Department…………………………………………….Faculty………………………………………………..
University…………………………………………………………………………………………………..……..
Street……………………………..District………………………………Province…………….………………
Postcode……………..
เอกสารผนวก 3
13
2. ประวัติส่วนตัว การได้รับรางวัลและ/หรือทุนวิจัย
2.1 ประวัติส่วนตัว
อายุ……….ปี เพศ ชาย หญิง วันเดือนปีเกิด………………………………….
มีตําแหน่งบริหาร ระบุ ......................................................................................................................
ซึ่งมีวาระตั้งแต่เดือน………………..…….พ.ศ. …………ถึงเดือน…………..………….พ.ศ………………
2.2 ประวัติการศึกษา
ชื่อย่อปริญญา สาขา สถาบันที่จบ ปีที่จบ
2.3 ประสบการณ์วิจัยหลังปริญญาเอก (Post-Doc)
สถาบัน เมือง/ประเทศ ชื่อนักวิจัยที่ร่วมงานด้วย ปีที่เริ่ม-สิ้นสุด
ประสบการณ์วิจัย ……………………………………………………………………..…………………
สาขาที่ชํานาญ……………………………………………………………………….……………………
2.4 รางวัลด้านวิชาการ/ด้านวิจัยที่ได้รับ
ปี พ.ศ. ชื่อรางวัล หน่วยงานที่ให้
2.5 ทุนวิจัยที่เคยได้รับในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา
ชื่อโครงการ แหล่งทุน งบประมาณรวม ปีที่ได้-สิ้นสุด เป็นหัวหน้า /
ผู้ร่วมวิจัย
จํานวน
นักวิจัย
2.6 ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติในฐานสากล ย้อนหลัง 5 ปี (ระบุ Impact Factor)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
14
2.7 งานเขียนตํารา หรือ หนังสือ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………
2.8 งานจดสิทธิบัตร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………….………....................................
3. ประสบการณ์ด้านการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และภาระงาน
3.1 ประสบการณ์ด้านการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (เฉพาะที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักเท่านั้น)
ระดับปริญญาโท
หลักสูตรสาขา………………………….. มหาวิทยาลัย ………………………….………ตั้งแต่ปี พ.ศ……….
รวมนักศึกษา……..คน สําเร็จการศึกษาแล้ว……………..คน กําลังศึกษาอยู่……….คน
ระดับปริญญาเอก
หลักสูตรสาขา………………………..มหาวิทยาลัย……………………ตั้งแต่ปี พ.ศ………….
รวมนักศึกษา………..คน สําเร็จการศึกษาแล้ว………..คน กําลังศึกษาอยู่……….คน
3.2 ภาระงานสอนและคุมวิทยานิพนธ์
ปัจจุบันมีภาระงานสอนเฉลี่ย..............ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ระดับปริญญาตรี.............ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ระดับบัณฑิตศึกษา...............ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ปัจจุบันท่านเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ทั้งที่ปรึกษาหลัก และที่ปรึกษาร่วม)
ให้กับนักศึกษารวม………………………………………คน
เป็นระดับปริญญาโท..............คน เป็นระดับปริญญาเอก..............คน
3.3 ทุนปริญญาเอกที่ได้รับ
ขณะนี้อาจารย์ที่ปรึกษาได้รับทุนผลิตนักศึกษาระดับปริญญาเอกรวมทั้งสิ้น ..............ทุน
ทุน คปก. จํานวน .............ทุน ทุน คปก.-สกอ. จํานวน..............ทุน
ทุน RG-สกอ. จํานวน..............ทุน ทุนหลักสูตร-สกอ. จํานวน..............ทุน
ทุนส่งเสริม-สกอ.จํานวน..............ทุน ทุนสวทช. จํานวน..............ทุน
ทุนอื่นๆ (เทียบเท่า) จํานวน..............ทุน
ลงชื่อ…………………………………………. (อาจารย์ที่ปรึกษา)
( )
วันที่
ลงชื่อ…………………………………………. (นักศึกษาผู้สมัครขอรับทุน)
( )
วันที่
รับทราบโดยคณบดี ลงชื่อ ………………............…………………. (คณบดีสถาบันอุดมศึกษาฝ่ายผลิต)
( )
วันที่
* หมายเหตุ กรณีที่อาจารย์ที่ปรึกษาหลักไม่ผ่านความเห็นชอบ ให้นักศึกษาเสนออาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโดยใช้แบบฟอร์มนี้
15
เอกสารผนวก 4
การจัดทําสัญญารับทุน
- ให้ดาวน์โหลดแบบฟอร์มสัญญาจาก http://www.research.mua.go.th/ssr (โครงการพัฒนาอาจารย์และ
บุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้)
- ผู้รับทุนต้องทําสัญญากับสถาบันต้นสังกัด
หลักฐานที่ผู้รับทุนต้องเตรียม
1.ผู้รับทุน ทํากับ ม/ส
1.1 สําเนาทะเบียนบ้าน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) จํานวน 3 ชุด
1.2 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้รับทุน จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
1.3 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของผู้รับทุน จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
1.4 อากรแสตมป์ติดสัญญาค้ําประกันดวงละ 5 บาท จํานวน 6 ดวง
1.5 อากรแสตมป์ติดสัญญาดวงละ 1 บาท จํานวน 3 ดวง
กรณีผู้รับทุนสมรสแล้ว
1.6 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด
ของผู้รับทุน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
1.7 สําเนาทะเบียนสมรสหรือใบหย่าของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
1.8 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
1.9 ใบยินยอมคู่สมรสของผู้รับทุน
1. ผู้ค้ําประกัน ทํากับ ม/ส
2.1 สําเนาทะเบียนบ้านของผู้ค้ําประกัน จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
2.2 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้ค้ําประกัน จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
2.3 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของคู่สมรสที่ยินยอม จํานวน 3 ชุด
ให้เป็นผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
2.4 สําเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรสที่ยินยอม จํานวน 3 ชุด
ให้เป็นผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
2.5 สําเนาทะเบียนสมรสหรือใบหย่า จํานวน 3 ชุด
ของผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
2.6 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของผู้ค้ําประกัน จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
16
2.7 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด
ที่ยินยอมให้เป็นผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
2.8 กรณีคู่สมรสเสียชีวิตให้นําสําเนามรณะบัตร จํานวน 3 ชุด
(พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง)
หมายเหตุ
1. ผู้ค้ําประกันจะต้องไม่อยู่ในสภาพของบุคคลที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์
2. ผู้ค้ําประกันไม่สามารถเพิกถอนการค้ําประกันระหว่างที่ผู้รับทุนกําลังศึกษา
3. ผู้ค้ําประกันต้องเป็นบิดาหรือมารดาของผู้ทําสัญญา กรณีที่บิดามารดาอยู่กินในฐานะสามีภรรยา
โดยมิได้จดทะเบียนสมรส แต่มีทะเบียนบ้านปรากฏอยู่ทะเบียนบ้านเดียวกัน ผู้ค้ําประกันจะต้องมาเซ็นสัญญาค้ํา
ประกันทั้งสามีและภรรยา โดยจะต้องทําบันทึกการอยู่กินในฐานะสามี ภรรยา โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส โดยไม่
ต้องแสดงหลักทรัพย์
4. กรณีที่บิดาและมารดาหายสาบสูญ โดยตามตัวไม่พบเป็นระยะเวลานาน สามารถให้พี่หรือน้องร่วม
บิดาหรือมารดาของผู้ทําสัญญาเป็นผู้ค้ําประกันได้ โดยไม่ต้องแสดงหลักทรัพย์ แต่ต้องมี
- บันทึกการแจ้งความว่าเป็นผู้หายสาบสูญตามตัวไม่พบจากสถานีตํารวจ หรือสํานักงานเขต
- คําสั่งศาลว่าเป็นผู้ที่สาบสูญ
5. ถ้าไม่มีบุคคลตามข้อ 3 และ ข้อ 4 จะให้บุคคลอื่นเป็นผู้ค้ําประกัน โดยแสดงหลักทรัพย์ก็ได้ เว้นแต่
ในกรณีที่ไม่สามารถแสดงหลักทรัพย์ได้ ให้พิจารณาตามความสามารถในการใช้หนี้จากฐานะและรายได้ แทนการ
แสดงหลักทรัพย์ได้
6. ถ้าไม่มีบุคคลตามข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 5 ให้ส่วนราชการตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง
หากผลการตรวจสอบปรากฎว่าผู้ทําสัญญาไม่มีบุคคลดังกล่าว ตามข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 5 จริง ก็ให้ทําสัญญาโดยไม่
ต้องมีผู้ค้ําประกัน
7. ให้ผู้ทําสัญญาลงลายมือชื่อในเอกสารสัญญาในเอกสารสัญญาและสัญญาค้ําประกันที่มุมขวาด้านล่าง
ทุกแผ่น
17
รายละเอียดผู้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในประเทศ ประจําปี …………………..
โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด........................................................................
ลําดับที่
ชื่อ-สกุล
ผู้รับทุน
สถานภาพ
(ขรก./พนง.ม./
พนง.รก./อ.อัตรา
จ้าง/ฯลฯ)
อนุมัติให้ลาศึกษาเต็มเวลา
ขั้นเงินเดือน
(บาท)
การได้รับเงินเดือนระหว่างลา
ศึกษา
ลาเพื่อศึกษาที่
คณะ/
มหาวิทยาลัย
ลาตั้งแต่ภาค/
ปีการศึกษา
หมายเหตุ
อนุมัติ ไม่อนุมัติ ได้รับ
ไม่ได้รับ
เนื่องจาก
หลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศและต่างประเทศ
1
2
3
4
5
หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ
1
2
3
4
5
หมายเหตุ : กรณีอนุมัติให้ผู้รับทุนลาศึกษาจะต้องแนบหนังสือ/คําสั่งอนุมัติมาให้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพร้อมแบบฟอร์มนี้ด้วย
ขรก. หมายถึง “ข้าราชการ”
พนง.ม. หมายถึง “พนักงานมหาวิทยาลัย”
พนง.รก. หมายถึง “พนักงานราชการ”
อ.อัตราจ้าง หมายถึง “อาจารย์อัตราจ้าง”
18
เอกสารผนวก 5
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU
Manual58 STOU

More Related Content

Similar to Manual58 STOU

นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
weerabong
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
sasiton sangangam
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
TooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
kamonnet
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
sawitreesantawee
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
TooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
TooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
TooNz Chatpilai
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
Trai Traiphop
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
narongsak promwang
 
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวชมาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
Kongkrit Pimpa
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
somdetpittayakom school
 

Similar to Manual58 STOU (20)

King Thailand
King Thailand King Thailand
King Thailand
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11Higher Education Plan # 11
Higher Education Plan # 11
 
1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตร
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
สพฐ
สพฐสพฐ
สพฐ
 
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลการดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวชมาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพัฒนเวช
 
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตวิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับนร Smart class
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart classประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร Smart class
 

Manual58 STOU

  • 2. คานา สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้ความสาคัญในการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนา เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างจริงจัง ได้กาหนดให้การพัฒนาอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญประเด็นหนึ่งของแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี (พ.ศ. 2551 – 2565) และได้นาประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาจัดทาเป็นแผนพัฒนาการอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมาย มาตรการและโครงการ เพื่อให้สามารถนาแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติได้ทันที จึงได้ดาเนินการจัดสรรทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก โครงการพัฒนาอาจารย์และ บุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา เพื่อให้สถาบันต้นสังกัด และผู้ได้รับทุนได้มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดาเนินการได้อย่างถูกต้อง จึงได้จัดทาคู่มือทุนโครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศและหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศขึ้น เพื่อถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน สานักส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มิถุนายน 2558
  • 3. สารบัญ หน้า หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 1 วิธีดาเนินการ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1 คานิยาม 2 คุณสมบัติของผู้สมัครขอรับทุน 2 ระดับการให้ทุน 3 การสรรหาผู้รับทุน 3 รูปแบบของทุน 3 การทาสัญญารับทุน 4 การเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4 คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษา 4 หน้าที่ของสถาบันต้นสังกัด 4 หน้าที่ของผู้รับทุน 6 การดาเนินการเกี่ยวกับผู้รับทุน 6 การเสนอขอทุนวิจัย ณ ต่างประเทศสาหรับทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ 7 การเปลี่ยนแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ 8 รายละเอียดการรับทุน 8 การชดใช้ทุน 9 เอกสารภาคผนวก 10
  • 4. คู่มือทุน โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ และหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ --------------------------------- หลักการและเหตุผล เป็นที่ยอมรับในปัจจุบันว่าการแก้ไขปัญหาความไม่สงบ ความขัดแย้งและความรุนแรงที่เกิดขึ้น ในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต้องเป็นการแก้ไขปัญหาในเชิงบูรณาการของทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สาคัญที่สุดในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และรัฐบาลได้มีนโยบายเร่งรัดให้เกิด การขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาในทุกระดับที่สอดคล้องกับความต้องการ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของพื้นที่ อย่างแท้จริง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนา เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างจริงจัง ได้กาหนดให้การพัฒนาอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญประเด็นหนึ่งของแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี (พ.ศ. 2551 – 2556) และได้นาประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาจัดทาเป็นแผนพัฒนาการอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ในรายละเอียดที่ประกอบด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าหมาย มาตรการและโครงการ เพื่อให้สามารถนาแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติได้ทันที รวมทั้งสามารถใช้เป็นกรอบในการขอตั้งงบประมาณประจาปี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อผลิตและพัฒนาอาจารย์ให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการและความสามารถในการสอน โดยเฉพาะในสาขาที่รองรับการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย – มาเลเซีย - ไทย 2. เพื่อผลิตผลงานวิจัยในการแก้ปัญหาเพื่อลดความรุนแรงของสถานการณ์ในภาคใต้ และช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจ 3. เพื่อวางระบบบริหารโครงการที่มีความคล่องตัวและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด วิธีดาเนินการ แต่งตั้งคณะทางานจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนา เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทาหน้าที่เสนอแนะแผนการจัดสรรทุนให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์และ วัตถุประสงค์ของโครงการฯ ดาเนินการพิจารณาจัดสรรทุน ติดตามและประเมินผลการดาเนินการจัดสรรทุน นาผลการจัดสรรทุนและผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนารูปแบบการจัดสรรทุนให้มีความเหมาะสมเพื่อเสนอ ให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเห็นชอบ รวมทั้งปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มพัฒนาศักยภาพคณาจารย์และบุคลากรอุดมศึกษา สานักส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
  • 5. 2 คานิยาม 1. “ผู้รับทุน” หมายถึง ผู้ที่ได้รับการประกาศรายชื่อให้เป็นผู้รับทุนโครงการพัฒนาอาจารย์และ บุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อศึกษาในประเทศ หลักสูตร ปริญญาเอกในประเทศ และหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ 2. “ทุนประเภทอาจารย์” หมายถึง ข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 3. “ทุนประเภทบุคคลทั่วไป” หมายถึง ผู้รับทุนที่มิได้เป็นอาจารย์ หรือตาแหน่งอื่นใน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 4. “ต้นสังกัด” หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งผู้รับทุนจะต้องไปปฏิบัติงานตามสัญญา การรับทุนหลังจากสาเร็จการศึกษาแล้ว 5. “สถาบันฝ่ายผลิต” หมายถึง สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งรวมถึงสถาบันนานาชาติ ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) ที่เป็นสถานศึกษาที่ผู้รับทุนเข้าศึกษา 6. “ผู้ให้ทุน” หมายถึง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือผู้ที่เลขาธิการคณะกรรมการ การอุดมศึกษามอบอานาจให้ดาเนินการแทน 7. “นักศึกษาสามัญ” หมายถึง นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งได้รับการตอบรับให้เข้าศึกษา ในฐานะนักศึกษาสามัญ ซึ่งมิใช่นักศึกษาทดลองเรียน คุณสมบัติของผู้สมัครขอรับทุน 1. เป็นอาจารย์ในสังกัดมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตปัตตานี/วิทยาเขตหาดใหญ่), มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (วิทยาเขตสตูล/ วิทยาเขตสงขลา), มหาวิทยาลัยทักษิณ (วิทยาเขตสงขลา) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (วิทยาเขต สงขลา) หรือเป็นบุคคลทั่วไป ซึ่งต้องสามารถหาต้นสังกัด ได้แก่ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, มหาวิทยาลัย ราชภัฎยะลา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตปัตตานี/วิทยาเขตหาดใหญ่), มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (วิทยาเขตสตูล/วิทยาเขตสงขลา), มหาวิทยาลัยทักษิณ (วิทยาเขตสงขลา) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย (วิทยาเขตสงขลา) ก่อนสมัครขอรับทุน 2. อายุ กรณีบุคคลทั่วไป ทุนปริญญาเอก ไม่เกิน 40 ปี นับถึงวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558 กรณีอาจารย์ ทุนปริญญาเอก ไม่เกิน 45 ปี นับถึงวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558 3. ค่าคะแนนเฉลี่ยสะสม จะต้องมี GPA ตลอดหลักสูตรระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าไม่น้อยกว่า 3.50 ผู้ที่ผ่านระบบ การศึกษาที่มีการให้คะแนนเป็นระบบอื่น จะต้องมีผลการเรียนที่เทียบได้กับคะแนนเฉลี่ยสะสมของไทย (GPA) หรือ กรณีอาจารย์ ที่มี GPA ตลอดหลักสูตร ไม่เป็นไปตามที่กาหนดจะต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ตาม เกณฑ์ ก.พ.อ. กาหนด อย่างน้อย 2 เรื่อง
  • 6. 3 4. ผู้สมัครรับทุนประเภทอาจารย์จะต้องมีหลักฐานการได้รับอนุญาตจากสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด ให้ลาราชการเพื่อศึกษาเต็มเวลา 5. ผู้รับทุนต้องเข้าศึกษาระดับปริญญาเอก ในหลักสูตรเต็มเวลาภาคปกติ ภายในภาคการศึกษา ที่ 1/2558 ของแต่ละหลักสูตรในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรองและเป็น สถาบันอุดมศึกษาที่มีสัดส่วนอาจารย์วุฒิปริญญาเอกมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 ของจานวนอาจารย์ ประจาทั้งหมดในสถาบัน 6. ผู้สมัครที่เคยได้รับทุนรัฐบาลไทยหรือทุนอื่นใดเพื่อศึกษา ณ ต่างประเทศ หรือศึกษาใน ประเทศมาแล้ว จะต้องเป็นผู้ที่หมดภาระผูกพันในการชดใช้ทุนตามสัญญาที่ได้ทาไว้กับส่วนราชการ หรือหน่วยงาน เจ้าของทุนแล้ว ก่อนกาหนดวันทาสัญญารับทุน เว้นแต่จะมีหนังสือยินยอมจากต้นสังกัด หรือหน่วยงานเจ้าของทุน ให้สมัครรับทุนและยินยอมให้ชะลอการชดใช้ทุนไว้ก่อน ผู้ที่อยู่ระหว่างรับทุนรัฐบาลไทยโครงการอื่นอยู่แล้ว ไม่มีสิทธิ์เป็นผู้รับทุนในโครงการนี้ 7. การพิจารณาจะพิจารณาตามหลักเกณฑ์การสมัครขอรับทุนการศึกษาระดับปริญญาเอก ในประเทศ และระดับปริญญาเอกร่วมในประเทศ – ต่างประเทศ โดยผลการพิจารณาตัดสินของคณะทางาน จัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ถือเป็นที่สุด ระดับการให้ทุน ทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ที่รับเข้าศึกษาโดยวุฒิปริญญาโท การสรรหาผู้รับทุน - ผู้สมัครขอรับทุนสามารถสมัครทางเว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr (โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้) ตามแบบฟอร์มที่กาหนด - คณะทางานจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนา เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ดาเนินการพิจารณาคัดเลือกผู้ได้รับทุน และเสนอให้สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา - สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจัดทาประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุน และแจ้งประกาศทางเว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr (โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร สาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้) พร้อมทั้งแจ้งสถาบันต้นสังกัดเพื่อทราบ รูปแบบของทุน - ทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ (Sandwich Program) หมายถึง ทุนที่ผู้รับทุน ศึกษาในประเทศ และมีสิทธิ์รับเงินไปทาวิจัยในต่างประเทศ เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี - ทุนปริญญาเอกในประเทศ หมายถึง ทุนที่ผู้รับทุนศึกษาในประเทศตลอดหลักสูตร ไม่มีสิทธิ์ รับเงินไปทาวิจัยในต่างประเทศตามโครงการนี้
  • 7. 4 การทาสัญญารับทุน ผู้มีรายชื่อตามประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ ให้จัดทาสัญญารับทุนกับสถาบัน ต้นสังกัด ภายในระยะเวลาที่กาหนดตามประกาศ การเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผู้รับทุนส่งแบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจากสถาบันฝ่ายผลิตที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด ตามแบบ ทต.น/1 (เอกสารผนวก 3) ไปยังสถาบันต้นสังกัดเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและแต่งตั้งเป็นอาจารย์ ที่ปรึกษา ทั้งนี้ ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้รับประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษา หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ - สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ในฐานสากล อย่างต่อเนื่องในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่ต่ากว่า 0.5 เรื่องต่อปี - สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ต้องมีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่า กับผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่อิงเกณฑ์ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล ให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 สามารถ Download ประกาศ ก.พ.อ. ได้ที่ เว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr (เอกสารผนวก 1) หลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ – ต่างประเทศ - สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องมีประสบการณ์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ในฐานสากล อย่างต่อเนื่องในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ไม่ต่ากว่า 1 เรื่องต่อปี - สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ต้องมีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่า กับผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่อิงเกณฑ์ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล ให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 สามารถ Download ประกาศ ก.พ.อ. ได้ที่ เว็บไซต์ http://www.research.mua.go.th/ssr (เอกสารผนวก 1) ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระดับนานาชาติในฐานสากล ได้แก่ ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์บนฐาน ISI และ Scopus หน้าที่ของสถาบันต้นสังกัด 1. รับรายงานตัว (เอกสารผนวก 2) และจัดทาสัญญารับทุนกับผู้รับทุนในสังกัด กรณีผู้รับทุน ขอสละสิทธิ์ ต้องมีหนังสือแจ้งให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบ 2. สถาบันต้นสังกัดจะต้องจัดส่งใบรายงานตัว สัญญารับทุน พร้อมทั้งรายงานให้สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบว่า ผู้รับทุนที่อยู่ในสังกัด ในช่วงเวลาที่ศึกษาได้รับเงินเดือนหรือไม่ ขั้นเงินเดือนเท่าใด และได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาเต็มเวลาหรือไม่ (เอกสารผนวก 5) พร้อมแนบคาสั่งที่อนุมัติ ให้ลาศึกษา 3. ติดตามผู้รับทุนในสังกัด ให้ส่งแบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา (เอกสารผนวก 3) ทั้งนี้ ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ และพิจารณาเห็นชอบอาจารย์ที่ปรึกษาตามที่
  • 8. 5 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มอบอานาจ พร้อมทั้งรายงานการอนุมัติให้สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน 4. เสนอของบประมาณประจาปี สาหรับผู้รับทุนในสังกัด และส่งให้สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ภายในวันที่ 1 เมษายน ของทุกปี (เอกสารผนวก 10) 5. จัดส่งแผนการวิจัยในสถาบันต่างประเทศ ของผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ- ต่างประเทศ ที่ผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณา เห็นชอบแผนวิจัยในสถาบันต่างประเทศและอนุมัติงบประมาณ ก่อนวันเดินทาง 3 เดือน 6. ในกรณีที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โอนเงินงบประมาณผ่านบัญชี ธนาคารกรุงไทย หรือ สั่งจ่ายเช็คให้แก่สถาบันต้นสังกัด หลังจากที่สถาบันต้นสังกัดได้รับเงินทุนจากสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาแล้ว จะต้องจัดส่งใบเสร็จการรับเงินทุนดังกล่าว ให้แก่ สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับเงิน 7. ติดตามและรายงานผลการศึกษาประจาภาคของผู้รับทุน ทุกภาคการศึกษา เสนอสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่ทราบผลการศึกษา (เอกสารผนวก 7) 8. ต้องทาบัญชีสรุปค่าใช้จ่ายประจางวดของผู้รับทุนเสนอสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันจ่ายเงินประจางวดของแต่ละภาคการศึกษา (เอกสารผนวก 8) 9. ต้องรวบรวมแบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้าของผู้รับทุน ส่งให้สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาทราบ ทุก 6 เดือน (ตามเอกสารผนวก 9) 10. ต้องรายงานการสาเร็จการศึกษาของผู้รับทุน โดยแนบแบบรายงานการสาเร็จการศึกษา (เอกสารผนวก 11) พร้อมหลักฐานการตอบรับตีพิมพ์ผลงานของผู้รับทุนในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล ISI หรือ Scopus พร้อมผลงานดุษฎีนิพนธ์ในรูปแบบไฟล์ *.pdf จานวน 1 ชุด ให้แก่ สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่สาเร็จการศึกษา โดยผลงานนั้นจะต้องมีคาขอบคุณแหล่งทุนจาก สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด้วย และผู้รับทุนจะต้องเป็นชื่อแรกของผลงานนั้น เพื่อประกอบการอนุมัติ ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษา งวดสุดท้าย 50,000 บาท 11. รับรายงานตัวเพื่อปฏิบัติงานชดใช้ทุนของผู้รับทุนที่สาเร็จการศึกษา โดยให้ผู้รับทุนกรอก ข้อมูล (เอกสารผนวก 12) 12. เมื่อผู้รับทุนสาเร็จการศึกษา สถาบันต้นสังกัดต้องรายงานผลการเบิกจ่ายเงินทุนทั้งหมด ที่ผู้รับทุนได้รับจากโครงการ และระยะเวลาที่ต้องชดใช้ทุนให้สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่รับรายงานตัวเข้าปฏิบัติงาน (เอกสารผนวก 13) 13. กรณีผู้รับทุนไม่สามารถสาเร็จการศึกษา ให้รายงานสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทราบภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ทราบ 14. ติดตามการชดใช้ทุน หรือให้ผู้รับทุนปฏิบัติตามสัญญารับทุน ติดตามเร่งรัดดาเนินคดี กับผู้ผิดสัญญารับทุนที่อยู่ในสังกัด หรือมีสัญญาว่าจะสังกัด 15. จัดเก็บสัญญาผู้รับทุนและเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น รายงานผลการศึกษา เอกสารรายงานตัว สาหรับผู้รับทุน เอกสารรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานหลังสาเร็จการศึกษา เป็นต้น
  • 9. 6 16. ในระหว่างที่รับทุน สถาบันต้นสังกัดจะทาหน้าที่ดูแล ประสานงาน และติดตามผลการศึกษา จนกระทั่งผู้รับทุนสาเร็จการศึกษาและรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานชดใช้ทุน หน้าที่ของผู้รับทุน 1. ผู้ที่ได้รับการประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ รายงานตัว (เอกสารผนวก 2) และจัดทาสัญญากับสถาบันต้นสังกัด โดยจัดเตรียมเอกสาร (เอกสารผนวก 4) 2. ผู้รับทุนส่งแบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กาหนด ตามแบบ ทต.น/1 (เอกสารผนวก 3) ไปยังสถาบันต้นสังกัด ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับทุนฯ 3. ต้องรายงานผลการศึกษาทุกภาคการศึกษา (เอกสารผนวก 7) รวมทั้ง รายงานความก้าวหน้า (เอกสารผนวก 9) ให้สถาบันต้นสังกัดทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่ทราบผลการศึกษา เพื่อให้สถาบันต้นสังกัด รวบรวมส่งให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. ผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ – ต่างประเทศ จัดทาแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา และเสนอแผนวิจัยพร้อมหลักฐานตอบรับจากต่างประเทศ ผู้ที่ศึกษาในหลักสูตรที่มี course work จะต้องสอบผ่านรายวิชา โดยแสดงหลักฐานที่แสดงว่าสอบผ่านรายวิชาตามที่กาหนด และแผน ของเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ และผลคะแนนภาษาอังกฤษ TOEFL ไม่ต่ากว่า 500 คะแนน หรือผลสอบที่เทียบเท่า TOEFL โดยสถาบันอื่น ซึ่งระยะเวลาการวิจัย ณ ต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี โดยช่วงเวลาการวิจัย ณ ต่างประเทศ ต้องอยู่ในช่วงเวลาที่ได้รับทุนตามสิทธิ์ ไปยังสถาบัน ต้นสังกัดเพื่อตรวจสอบเอกสารหลักฐานเบื้องต้น ก่อนส่งให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาอนุมัติ แผนการศึกษาวิจัย ณ ต่างประเทศ และอนุมัติงบประมาณ (เอกสารผนวก 6) 5. ผู้รับทุนที่จัดทาสัญญาการรับทุนแล้ว จะต้องเบิกจ่ายเงินทุนการศึกษาจากสถาบันต้นสังกัด ภายในกาหนดเวลา โดยนาหลักฐานแบบรายงานตัวต่อสถาบันต้นสังกัด หลักฐานที่ได้รับความเห็นชอบอาจารย์ที่ ปรึกษา และสัญญาการรับทุนไปแสดงในการเบิกจ่ายเงินทุนงวดแรก แต่สาหรับผู้รับทุนที่เป็นอาจารย์จะต้องแสดง หลักฐานการได้รับอนุมัติให้ลาศึกษาเต็มเวลาราชการด้วย 6. ผู้รับทุนต้องตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI หรือ Scopus โดยผลงานนั้นผู้รับทุนจะต้องเป็นชื่อแรก และต้องมีคาขอบคุณสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาด้วย 7. ผู้รับทุนที่ได้รับการตอบรับจากบรรณาธิการของวารสารที่ให้ตีพิมพ์ผลงานแล้ว และสาเร็จ การศึกษาแล้ว ให้แจ้งตามแบบรายงานการสาเร็จการศึกษา (เอกสารผนวก 11) พร้อมส่งดุษฎีนิพนธ์ในรูปของไฟล์ *.pdf จานวน 1 ชุด ให้แก่สถาบันต้นสังกัด เพื่อให้สถาบันต้นสังกัดส่งให้แก่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 8. ผู้รับทุนต้องรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานต่อสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด ภายใน 7 วัน หลังจาก สาเร็จการศึกษา ตามแบบรายงานตัว (เอกสารผนวก 12) การดาเนินการเกี่ยวกับผู้รับทุน ผู้รับทุนโครงการทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจาปี 2558 จะต้องให้สถาบันต้นสังกัดพิจารณาเห็นชอบในกรณี ดังต่อไปนี้ 1. การพิจารณาให้ความเห็นชอบอาจารย์ที่ปรึกษาและการเปลี่ยนอาจารย์ที่ปรึกษาตามเกณฑ์ ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 2. การเปลี่ยนสาขาวิชาที่ศึกษาต้องอยู่ในกลุ่มสาขาวิชาเดียวกัน
  • 10. 7 3. การเปลี่ยนหัวข้อวิทยานิพนธ์ต้องอยู่ภายใต้กรอบของสาขาวิชาที่รับทุน 4. การเปลี่ยนสถาบันการศึกษาจะต้องเป็นสถาบันการศึกษาของรัฐในสังกัดหรือในกากับ กระทรวงศึกษาธิการที่อยู่ในบัญชีรายชื่อตามเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 5. การเปลี่ยนแผนการศึกษาวิจัย ณ ต่างประเทศของผู้รับทุนที่ศึกษาในหลักสูตรปริญญาเอกร่วม ในประเทศ-ต่างประเทศ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและอยู่ในช่วงเวลาของการรับทุนตามเกณฑ์ ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด 6. การสละสิทธิ์และยุติการรับทุนการศึกษา นอกเหนือจากนี้ให้เสนอคณะทางานจัดสรรทุนพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาหรับ สถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ พิจารณาให้ความเห็นเสนอต่อ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณีไป การพิจารณาอนุมัติในทุกกรณีต้องมีเหตุผลความจาเป็นที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาการด้านการเรียน การสอน การวิจัย และการบริหารทางวิชาการของภาควิชา หรือหน่วยงานที่เทียบเท่าที่จะมอบหมายให้ผู้รับทุน รับผิดชอบหลังสาเร็จการศึกษาแล้ว และจะต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าภาควิชาและคณบดี หรือหัวหน้า หน่วยงานที่เทียบเท่า และเมื่ออธิการบดีได้อนุมัติแล้วให้รายงานโดยส่งสาเนาหลักฐานการอนุมัติให้สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติ การเสนอขอทุนวิจัย ณ ต่างประเทศ สาหรับผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ - ผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ จัดทาแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา (เอกสารผนวก 6) - ต้องมีหลักฐานตอบรับจากอาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศ - ต้องมีผลคะแนนภาษาอังกฤษ TOEFL ไม่ต่ากว่า 500 หรือผลสอบที่เทียบเท่าโดยสถาบันอื่น (เช่น IELTS, CU-TEP ฯลฯ) ยกเว้น กรณีผู้รับทุนไปทาวิจัย ณ ประเทศ ซึ่งไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน ให้ใช้ผลสอบภาษาที่ใช้ในประเทศนั้น ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด - ต้องมีระยะเวลาทาวิจัยไม่น้อยกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี - ต้องไม่เดินทางไปทาวิจัยในปีแรกของการศึกษา - ช่วงเวลาของการทาวิจัย ณ ต่างประเทศ ต้องอยู่ในช่วงเวลาที่ได้รับทุนตามสิทธิ์ - สาหรับผู้ที่ศึกษาในหลักสูตร ที่มี Course work จะต้องสอบผ่านรายวิชา ตามที่กาหนดใน Course work ครบถ้วนแล้ว โดยจะต้องมีหลักฐานมาแสดงด้วย - ต้องมีแผนของเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ - ส่งแผนงานวิจัยพร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้องได้แก่ หลักฐานตอบรับผลสอบภาษาอังกฤษ ผลสอบ Course work แผนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ ไปยังสถาบันต้นสังกัด - กรณีอาจารย์ที่ปรึกษาไทยจะเดินทางไปต่างประเทศ หรืออาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศจะ เดินทางมาประเทศไทย กรณีนี้ให้จัดทาแผนค่าใช้จ่ายพร้อมกับแผนวิจัยของผู้รับทุน ซึ่งรวมค่าใช้จ่าย 3 รายการแล้ว ไม่เกิน 800,000 บาท ส่วนการเบิกเงินสามารถที่จะแยกเบิกได้ตามกาหนดการจริง
  • 11. 8 การเปลี่ยนแผนวิจัย ณ ต่างประเทศ - กรณีที่มีเปลี่ยนแปลงแผนการวิจัยตามที่ได้รับอนุมัติเดิม เช่น เปลี่ยนมหาวิทยาลัย หรือเปลี่ยน ประเทศ หรือเปลี่ยนกาหนดการเดินทาง จะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน และเสนอแผนวิจัย ที่ปรับปรุงใหม่ให้อธิการบดีสถาบันต้นสังกัดเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ และเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิการบดีแล้ว สถาบัน ต้นสังกัดต้องรายงานให้สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่อนุมัติเปลี่ยน แผนวิจัย ณ ต่างประเทศ รายละเอียดการรับทุน - ระยะเวลาการรับทุน - ทุนการศึกษาไม่เกิน 4 ปี - สาหรับผู้ที่ศึกษาระดับปริญญาเอก ก่อนภาคการศึกษา 1/2558 จะได้รับทุนตั้งแต่ ภาค การศึกษา 1/2558 เป็นต้นไป เป็นเวลาเท่ากับระยะเวลาที่เหลืออยู่ของทุนการศึกษา 4 ปี ตัวอย่าง การคานวณระยะเวลาการรับทุนกรณีเข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก ก่อนภาคการศึกษา 1/2558 เช่น เข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก ภาคการศึกษา 1/2557 ผู้รับทุนมีสิทธิ์ได้รับเงินทุนการศึกษา จานวน 3 ปี นับตั้งแต่ ภาคการศึกษา 1/2558 เป็นต้นไป - อัตราค่าใช้จ่ายทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ - ค่าใช้จ่ายประจาเดือน บุคคลทั่วไป วุฒิปริญญาโท 10,000 บาท/เดือน อาจารย์ ที่ได้รับเงินเดือนต่ากว่าค่าใช้จ่ายประจาเดือนของบุคคลทั่วไป ให้เฉพาะส่วนต่าง และอาจารย์ที่รับเงินเดือนจากต้นสังกัดในช่วงเวลาที่ลาศึกษา หากเรียนต่างท้องที่ได้รับเพิ่ม เดือนละ 4,400 บาท/เดือน - ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าเล่าเรียน ค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ และค่าธรรมเนียมวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 165,000 บาท/ปี - ค่าใช้จ่ายในการวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 50,000 บาท/ปี - ค่าใช้จ่ายในการทาวิจัย ณ ต่างประเทศ ไม่เกิน 800,000 บาท ได้แก่ ค่าใช้จ่ายของนักศึกษา ที่ไปทาวิจัย ณ ต่างประเทศ, ค่าใช้จ่ายของอาจารย์ที่ปรึกษาต่างประเทศเดินทางมาประเทศไทย และค่าใช้จ่ายของ อาจารย์ที่ปรึกษาไทยเดินทางไปต่างประเทศ - ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทย 30,000 บาท/ปี ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี - ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทยเมื่อผู้รับทุนสาเร็จการศึกษา และมีผลงานตีพิมพ์เป็นไปตาม เงื่อนไขที่ทุนกาหนด 50,000 บาท - อัตราค่าใช้จ่ายทุนปริญญาเอกในประเทศ - ค่าใช้จ่ายประจาเดือน บุคคลทั่วไป วุฒิปริญญาโท 10,000 บาท/เดือน อาจารย์ ที่ได้รับเงินเดือนต่ากว่าค่าใช้จ่ายประจาเดือนของบุคคลทั่วไป ให้เฉพาะส่วนต่าง และอาจารย์ที่รับเงินเดือนจากต้นสังกัดในช่วงเวลาที่ลาศึกษา หากเรียนต่างท้องที่ได้รับเพิ่มเดือนละ 4,400 บาท
  • 12. 9 - ค่าธรรมเนียมการศึกษา ค่าเล่าเรียน ค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนวิทยานิพนธ์และ ค่าธรรมเนียมวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 165,000 บาท/ปี - ค่าใช้จ่ายในการวิจัย ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 50,000 บาท/ปี - ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทย 30,000 บาท/ปี ระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี - ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาไทยเมื่อนักศึกษาสาเร็จการศึกษา และมีผลงานตีพิมพ์เป็นไป ตามเงื่อนไขที่ทุนกาหนด 50,000 บาท หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายในการวิจัยตามที่จ่ายจริง หมายถึง ค่าวัสดุสิ้นเปลืองเพื่อการทาวิจัย ค่าหนังสือ ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ซึ่งอาจารย์ที่ปรึกษาต้องรับทราบ โดยมีลายมือชื่อ ของอาจารย์ที่ปรึกษาในใบเสร็จหรือใบสาคัญรับเงิน การชดใช้ทุน ผู้รับทุนต้องชดใช้ทุน ดังนี้ 1. กรณีศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ ซึ่งศึกษาในประเทศตลอดหลักสูตร จะต้อง ปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด หรือหน่วยงานอื่น ตามที่ผู้ให้ทุนกาหนดเป็นเวลาเท่ากับระยะเวลาที่ ผู้รับทุนได้รับทุนอุดหนุนการศึกษา กรณีผู้รับทุนไม่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรในระยะเวลาตามสัญญา ในข้อ 1 และได้รับอนุมัติจากผู้ให้ทุนให้ขยายเวลาการศึกษา โดยได้รับเงินทุนเพิ่มเติมหรือไม่ก็ตามให้ถือว่า ระยะเวลาที่ขยายออกไปนั้นเป็นระยะเวลารับทุนตามสัญญานี้ด้วย หากผู้รับทุนไม่ยอมปฏิบัติงานชดใช้ทุนหรือ ผู้รับทุนไม่ประพฤติหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญานี้ไม่ว่ากรณีใดๆ หรือผู้ให้ทุนสั่งงดให้ทุนอุดหนุนการศึกษา เนื่องจาก ความผิดหรือความบกพร่องของผู้รับทุน หรือผู้รับทุนบอกงดการรับทุน ผู้ให้ทุนมีสิทธิบอกเลิกและงดการให้ทุน ตามสัญญานี้ทันที โดยผู้รับทุนต้องชดใช้เงินทุนทั้งหมดที่ได้รับตามสัญญานี้ รวมทั้งเงินในส่วนของอาจารย์ ที่ปรึกษาได้รับด้วย พร้อมเบี้ยปรับอีกเป็นจานวนหนึ่งเท่าของเงินจานวนดังกล่าวคืนให้แก่ผู้ให้ทุน 2. กรณีศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ ซึ่งมีโอกาสไปวิจัย ณ ต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน จะต้องปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด หรือหน่วยงานอื่น ตามที่ผู้ให้ทุนกาหนด เป็นเวลาเท่ากับระยะเวลาที่ผู้รับทุนได้รับทุนอุดหนุนการศึกษาภายในประเทศ และอีกสองเท่าของระยะเวลา ที่ผู้รับทุนได้รับทุนอุดหนุนการศึกษาหรือวิจัย ณ ต่างประเทศ กรณีผู้รับทุนไม่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ในระยะเวลาตามสัญญาในข้อ 1 และได้รับอนุมัติจากผู้ให้ทุนให้ขยายเวลาการศึกษา โดยได้รับเงินทุนเพิ่มเติม หรือไม่ก็ตามให้ถือว่าระยะเวลาที่ขยายออกไปนั้นเป็นระยะเวลารับทุนตามสัญญานี้ด้วย หากผู้รับทุนไม่ยอม ปฏิบัติงานชดใช้ทุนหรือผู้รับทุนไม่ประพฤติหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญานี้ไม่ว่ากรณีใดๆ หรือผู้ให้ทุนสั่งงดให้ ทุนอุดหนุนการศึกษาเนื่องจากความผิดหรือความบกพร่องของผู้รับทุน หรือผู้รับทุนบอกงดการรับทุน ผู้ให้ทุน มีสิทธิ์บอกเลิกและงดการให้ทุนตามสัญญานี้ทันที โดยผู้รับทุนต้องชดใช้เงินทุนทั้งหมดที่ได้รับตามสัญญานี้ รวมทั้งเงินในส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาได้รับด้วย พร้อมทั้งชาระเบี้ยปรับให้แก่ผู้ให้ทุนเป็นเงินอีกจานวน หนึ่งเท่าของเงินดังกล่าว และจานวนสองเท่าของเงินทุนอุดหนุนการศึกษาหรือวิจัย ณ ต่างประเทศที่ผู้รับทุน ได้รับไปคืนให้แก่ผู้ให้ทุน
  • 13. 10 เอกสารภาคผนวก 1. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่ากับผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กาหนด 2. ใบรายงานตัวผู้รับทุน 3. แบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา แบบ ทต.น./1 4. การจัดทาสัญญารับทุน 5. แบบแสดงรายละเอียดผู้รับทุนปริญญาเอกในประเทศ 6. แบบฟอร์มเสนอแผนการวิจัย ณ ต่างประเทศ ของผู้รับทุนหลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ 7. แบบรายงานผลการศึกษา 8. รายงานการเงินสรุปการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายผู้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก 9. แบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้าหรือผลการดาเนินการของโครงการของผู้รับทุน 10. แบบเสนอรายการงบประมาณผู้รับทุนศึกษาระดับปริญญาเอกโครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร สาหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ สาหรับสถาบันต้นสังกัด 11. แบบรายงานการสาเร็จการศึกษายื่นต่อสถาบันต้นสังกัด 12. แบบรายงานตัวเพื่อปฏิบัติงานที่สถาบันต้นสังกัดหลังสาเร็จการศึกษา 13. แบบรายงานสรุปผลการเบิกจ่ายเงินทุน
  • 14. 11 เอกสารผนวก 1 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เทียบเท่ากับผลงานวิจัย ที่ได้รับการเผยแพร่ ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กาหนด คานิยาม ผลงานทางวิชาการอย่างอื่นที่มิใช่เอกสารประกอบการสอน เอกสารคาสอน บทความทาง วิชาการ หนังสือ ตารา หรืองานวิจัย โดยปกติหมายถึงสิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์ อาทิ การประดิษฐ์เครื่อง ทุ่นแรง ผลงานการสร้างสิ่งมีชีวิตพันธุ์ใหม่ วัคซีน สิ่งก่อสร้าง หรือผลงานด้านศิลปะ หรือสารานุกรม รวมถึงงานแปลจากตัวงานต้นแบบที่เป็นวรรณกรรม หรืองานด้านปรัชญา หรือประวัติศาสตร์ หรือ วิทยาการสาขาอื่นบางสาขาที่มีความสาคัญและทรงคุณค่าในสาขาวิชานั้นๆซึ่งเมื่อนามาแปลแล้วจะเป็นการเสริม ความก้าวหน้าทางวิชาการที่ประจักษ์ชัด เป็นการแปลจากภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย หรือจากภาษาไทยเป็น ภาษาต่างประเทศ หรือแปลจากภาษาต่างประเทศหนึ่งเป็นภาษาต่างประเทศอีกภาษาหนึ่ง ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เสนอจะต้องประกอบด้วยบทวิเคราะห์ที่อธิบาย และชี้ให้เห็นว่างาน ดังกล่าวทาให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเสริมสร้างองค์ความรู้ หรือให้วิธีการที่จะเป็นประโยชน์ต่อ สาขาวิชานั้น และแสดงถึงความสามารถในการบุกเบิกในสาขาวิชานั้น สาหรับผลงานที่มุ่งเชิงปฏิบัติจะต้องผ่าน การพิสูจน์หรือมีหลักฐานรายละเอียดต่างๆประกอบแสดงให้เห็นคุณค่าของผลงาน รูปแบบ 1. อาจจัดเพิ่มได้หลายรูปแบบทั้งที่เป็นรูปเล่ม หรือการบันทึกเป็นภาพยนตร์ หรือแถบเสียง 2. มีคาอธิบาย / ชี้แจงโดยชัดเจนประกอบผลงานนั้น เพื่อชี้ให้เห็นว่าเป็นผลงานที่ทาให้เกิดการพัฒนา และ ความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเสริมสร้างความรู้หรือก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาหนึ่งๆหรือหลาย สาขาวิชาได้อย่างไร ในแง่ใด 3. กรณีผลงานที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือผลงานที่มุ่งในเชิงปฏิบัติจะต้องผ่านการพิสูจน์ หรือแสดงหลักฐานเป็น รายละเอียดให้ครบถ้วนที่แสดงถึงคุณค่าของผลงานนั้นด้วย
  • 15. 12 ใบรายงานตัวผู้รับทุนปริญญาเอกในประเทศ และปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ ประจําปี ............... ภายใต้โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ นาย นาง นางสาว ................................................................................... อายุ .................. ปี Mr. Mrs. Miss ……………………………………………………………….. เลขที่บัตรประชาชน ประเภทของทุนที่ได้รับ : ทุนปริญญาเอกในประเทศ ทุนปริญญาเอกร่วมในประเทศ - ต่างประเทศ ยืนยันการรับทุน : ยืนยันการรับทุน สละสิทธิ์การรับทุน คุณวุฒิการศึกษา : ปริญญาตรี วุฒิที่ได้รับ......................................................ม/ส..................................................GPA……………ปีที่สําเร็จ..................... ปริญญาโท วุฒิที่ได้รับ......................................................ม/ส..................................................GPA……………ปีที่สําเร็จ..................... ปัจจุบัน กําลังศึกษาในหลักสูตร............................................................ สาขาวิชา ................................................................. คณะ...................................................มหาวิทยาลัย ..................................................วิทยาเขต......................................... เป็นหลักสูตร ปกติ ภาคพิเศษ หลักสูตรนานาชาติ ปริญญาเอกร่วมสถาบัน เริ่มเข้าศึกษาตั้งแต่ภาคการศึกษาที่..........................ปีการศึกษา .............................. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาหลัก..........................................................ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม.................................................. มีสถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด ภาควิชา.........................................................คณะ ......................................................... มหาวิทยาลัย.........................................................................วิทยาเขต............................................................................ ตําแหน่ง ข้าราชการตําแหน่งอาจารย์ ข้าราชการสาย ข. พนักงานราชการตําแหน่งอาจารย์ พนักงานมหาวิทยาลัยตําแหน่งอาจารย์ อาจารย์อัตราจ้าง อื่นๆ โปรดระบุ.............................................. ระหว่างการรับทุน ต้นสังกัดอนุมัติให้ลาศึกษา ต้นสังกัดไม่อนุมัติให้ลาศึกษา ได้รับเงินเดือนจากต้นสังกัด ขั้นเงินเดือน....................................... บาท ไม่ได้รับเงินเดือนจากต้นสังกัด สังกัดหน่วยงานอื่น/บริษัทเอกชน ชื่อหน่วยงาน/บริษัท............................................................. ตําแหน่ง.........................................................โทรศัพท์....................................................................... อยู่ระหว่างการรับทุนการศึกษา/ทุนอื่น ๆ ชื่อทุนที่ได้รับ.............................................................. หน่วยงานที่ให้ทุน................................................ระยะเวลาที่ได้รับทุน.............................................. ความสนใจและความเชี่ยวชาญ มีความสนใจในงานวิจัยด้าน………………………………………………………………………….………….…………… ความเชี่ยวชาญด้าน…………….…………………………………………………………………………………...………… ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้สะดวกที่สุด บ้านเลขที่ ....................... หมู่ที่ ............. ตรอก/ซอย ................................................ ถนน ................................................................. ตําบล/แขวง .......................................อําเภอ/เขต ........................................ จังหวัด .......................................รหัสไปรษณีย์ ................. โทรศัพท์บ้าน ............................... มือถือ.....................................โทรสาร……….………..e-mail……………………………………. กรณีเร่งด่วนสามารถติดต่อได้ที่ (ชื่อ-นามสกุล).............................................ความสัมพันธ์..........................โทรศัพท์ ........................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลดังกล่าวข้างต้นเป็นจริงทุกประการ ลายมือชื่อ......................................................(คณบดีสถาบันต้นสังกัด) ลายมือชื่อ..............................................................ผู้รับทุน (.......................................................) (..............................................................) ............./.........../.................. ............./.........../.................. กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อประโยชน์ของตัวท่านเอง หากแจ้งข้อมูลเท็จจะยกเลิกการให้ทุน ติดรูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ว เอกสารผนวก 2
  • 16. แบบ ทต.น/1 แบบเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ นักศึกษาเป็นผู้ผ่านการคัดเลือกได้รับทุนประเภท ทุนปริญญาเอกในประเทศ CHE-SSR-PhD-THA ทุนปริญญาเอกใน-ร่วมต่างประเทศ CHE-SSR-PhD-SW โดยนักศึกษาเข้าศึกษาใน หลักสูตร.................................................................................................. สาขา....................................................................................... ............... ภาควิชา.................................................................................. ............... คณะ....................................................................................... ............... มหาวิทยาลัย........................................................................... ............... 1. ข้อมูลทั่วไปของอาจารย์ที่ปรึกษา 1.1 ชื่อ ………………………………...………………นามสกุล……………………………………………… 1.2 ตําแหน่งทางวิชาการ………………………………………………………………………………..…….. 1.3 สถานที่ทํางาน (กรุณากรอกข้อมูลให้ครบถ้วน) สังกัดภาควิชา…………………………………………..คณะ……………………………………..…………….. สถาบัน…………………………………………………………………………………………………………… ที่อยู่เลขที่…………………………ถนน……………………………แขวง…………………………..………….. เขต…………………………………จังหวัด…………………………….รหัสไปรษณีย์ ……………………..… โทรศัพท์ ………………………………………..โทรสาร .................……..…………………………………… มือถือ………………………………………. E-mail………………..…………….........………………………. 1.4 ข้อมูลภาษาอังกฤษ Name…………………………………….Last name………………………………………..…………………. Department…………………………………………….Faculty……………………………………………….. University…………………………………………………………………………………………………..…….. Street……………………………..District………………………………Province…………….……………… Postcode…………….. เอกสารผนวก 3 13
  • 17. 2. ประวัติส่วนตัว การได้รับรางวัลและ/หรือทุนวิจัย 2.1 ประวัติส่วนตัว อายุ……….ปี เพศ ชาย หญิง วันเดือนปีเกิด…………………………………. มีตําแหน่งบริหาร ระบุ ...................................................................................................................... ซึ่งมีวาระตั้งแต่เดือน………………..…….พ.ศ. …………ถึงเดือน…………..………….พ.ศ……………… 2.2 ประวัติการศึกษา ชื่อย่อปริญญา สาขา สถาบันที่จบ ปีที่จบ 2.3 ประสบการณ์วิจัยหลังปริญญาเอก (Post-Doc) สถาบัน เมือง/ประเทศ ชื่อนักวิจัยที่ร่วมงานด้วย ปีที่เริ่ม-สิ้นสุด ประสบการณ์วิจัย ……………………………………………………………………..………………… สาขาที่ชํานาญ……………………………………………………………………….…………………… 2.4 รางวัลด้านวิชาการ/ด้านวิจัยที่ได้รับ ปี พ.ศ. ชื่อรางวัล หน่วยงานที่ให้ 2.5 ทุนวิจัยที่เคยได้รับในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา ชื่อโครงการ แหล่งทุน งบประมาณรวม ปีที่ได้-สิ้นสุด เป็นหัวหน้า / ผู้ร่วมวิจัย จํานวน นักวิจัย 2.6 ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติในฐานสากล ย้อนหลัง 5 ปี (ระบุ Impact Factor) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 14
  • 18. 2.7 งานเขียนตํารา หรือ หนังสือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………… 2.8 งานจดสิทธิบัตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………….……….................................... 3. ประสบการณ์ด้านการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และภาระงาน 3.1 ประสบการณ์ด้านการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (เฉพาะที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักเท่านั้น) ระดับปริญญาโท หลักสูตรสาขา………………………….. มหาวิทยาลัย ………………………….………ตั้งแต่ปี พ.ศ………. รวมนักศึกษา……..คน สําเร็จการศึกษาแล้ว……………..คน กําลังศึกษาอยู่……….คน ระดับปริญญาเอก หลักสูตรสาขา………………………..มหาวิทยาลัย……………………ตั้งแต่ปี พ.ศ…………. รวมนักศึกษา………..คน สําเร็จการศึกษาแล้ว………..คน กําลังศึกษาอยู่……….คน 3.2 ภาระงานสอนและคุมวิทยานิพนธ์ ปัจจุบันมีภาระงานสอนเฉลี่ย..............ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ระดับปริญญาตรี.............ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ระดับบัณฑิตศึกษา...............ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ปัจจุบันท่านเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ทั้งที่ปรึกษาหลัก และที่ปรึกษาร่วม) ให้กับนักศึกษารวม………………………………………คน เป็นระดับปริญญาโท..............คน เป็นระดับปริญญาเอก..............คน 3.3 ทุนปริญญาเอกที่ได้รับ ขณะนี้อาจารย์ที่ปรึกษาได้รับทุนผลิตนักศึกษาระดับปริญญาเอกรวมทั้งสิ้น ..............ทุน ทุน คปก. จํานวน .............ทุน ทุน คปก.-สกอ. จํานวน..............ทุน ทุน RG-สกอ. จํานวน..............ทุน ทุนหลักสูตร-สกอ. จํานวน..............ทุน ทุนส่งเสริม-สกอ.จํานวน..............ทุน ทุนสวทช. จํานวน..............ทุน ทุนอื่นๆ (เทียบเท่า) จํานวน..............ทุน ลงชื่อ…………………………………………. (อาจารย์ที่ปรึกษา) ( ) วันที่ ลงชื่อ…………………………………………. (นักศึกษาผู้สมัครขอรับทุน) ( ) วันที่ รับทราบโดยคณบดี ลงชื่อ ………………............…………………. (คณบดีสถาบันอุดมศึกษาฝ่ายผลิต) ( ) วันที่ * หมายเหตุ กรณีที่อาจารย์ที่ปรึกษาหลักไม่ผ่านความเห็นชอบ ให้นักศึกษาเสนออาจารย์ที่ปรึกษาร่วมโดยใช้แบบฟอร์มนี้ 15
  • 19. เอกสารผนวก 4 การจัดทําสัญญารับทุน - ให้ดาวน์โหลดแบบฟอร์มสัญญาจาก http://www.research.mua.go.th/ssr (โครงการพัฒนาอาจารย์และ บุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้) - ผู้รับทุนต้องทําสัญญากับสถาบันต้นสังกัด หลักฐานที่ผู้รับทุนต้องเตรียม 1.ผู้รับทุน ทํากับ ม/ส 1.1 สําเนาทะเบียนบ้าน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) จํานวน 3 ชุด 1.2 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้รับทุน จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 1.3 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของผู้รับทุน จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 1.4 อากรแสตมป์ติดสัญญาค้ําประกันดวงละ 5 บาท จํานวน 6 ดวง 1.5 อากรแสตมป์ติดสัญญาดวงละ 1 บาท จํานวน 3 ดวง กรณีผู้รับทุนสมรสแล้ว 1.6 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด ของผู้รับทุน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 1.7 สําเนาทะเบียนสมรสหรือใบหย่าของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 1.8 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 1.9 ใบยินยอมคู่สมรสของผู้รับทุน 1. ผู้ค้ําประกัน ทํากับ ม/ส 2.1 สําเนาทะเบียนบ้านของผู้ค้ําประกัน จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 2.2 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้ค้ําประกัน จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 2.3 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของคู่สมรสที่ยินยอม จํานวน 3 ชุด ให้เป็นผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 2.4 สําเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรสที่ยินยอม จํานวน 3 ชุด ให้เป็นผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 2.5 สําเนาทะเบียนสมรสหรือใบหย่า จํานวน 3 ชุด ของผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 2.6 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของผู้ค้ําประกัน จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 16
  • 20. 2.7 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล ของคู่สมรส จํานวน 3 ชุด ที่ยินยอมให้เป็นผู้ค้ําประกัน (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) 2.8 กรณีคู่สมรสเสียชีวิตให้นําสําเนามรณะบัตร จํานวน 3 ชุด (พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง) หมายเหตุ 1. ผู้ค้ําประกันจะต้องไม่อยู่ในสภาพของบุคคลที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ 2. ผู้ค้ําประกันไม่สามารถเพิกถอนการค้ําประกันระหว่างที่ผู้รับทุนกําลังศึกษา 3. ผู้ค้ําประกันต้องเป็นบิดาหรือมารดาของผู้ทําสัญญา กรณีที่บิดามารดาอยู่กินในฐานะสามีภรรยา โดยมิได้จดทะเบียนสมรส แต่มีทะเบียนบ้านปรากฏอยู่ทะเบียนบ้านเดียวกัน ผู้ค้ําประกันจะต้องมาเซ็นสัญญาค้ํา ประกันทั้งสามีและภรรยา โดยจะต้องทําบันทึกการอยู่กินในฐานะสามี ภรรยา โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส โดยไม่ ต้องแสดงหลักทรัพย์ 4. กรณีที่บิดาและมารดาหายสาบสูญ โดยตามตัวไม่พบเป็นระยะเวลานาน สามารถให้พี่หรือน้องร่วม บิดาหรือมารดาของผู้ทําสัญญาเป็นผู้ค้ําประกันได้ โดยไม่ต้องแสดงหลักทรัพย์ แต่ต้องมี - บันทึกการแจ้งความว่าเป็นผู้หายสาบสูญตามตัวไม่พบจากสถานีตํารวจ หรือสํานักงานเขต - คําสั่งศาลว่าเป็นผู้ที่สาบสูญ 5. ถ้าไม่มีบุคคลตามข้อ 3 และ ข้อ 4 จะให้บุคคลอื่นเป็นผู้ค้ําประกัน โดยแสดงหลักทรัพย์ก็ได้ เว้นแต่ ในกรณีที่ไม่สามารถแสดงหลักทรัพย์ได้ ให้พิจารณาตามความสามารถในการใช้หนี้จากฐานะและรายได้ แทนการ แสดงหลักทรัพย์ได้ 6. ถ้าไม่มีบุคคลตามข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 5 ให้ส่วนราชการตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง หากผลการตรวจสอบปรากฎว่าผู้ทําสัญญาไม่มีบุคคลดังกล่าว ตามข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 5 จริง ก็ให้ทําสัญญาโดยไม่ ต้องมีผู้ค้ําประกัน 7. ให้ผู้ทําสัญญาลงลายมือชื่อในเอกสารสัญญาในเอกสารสัญญาและสัญญาค้ําประกันที่มุมขวาด้านล่าง ทุกแผ่น 17
  • 21. รายละเอียดผู้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในประเทศ ประจําปี ………………….. โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสําหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ มหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษาต้นสังกัด........................................................................ ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ผู้รับทุน สถานภาพ (ขรก./พนง.ม./ พนง.รก./อ.อัตรา จ้าง/ฯลฯ) อนุมัติให้ลาศึกษาเต็มเวลา ขั้นเงินเดือน (บาท) การได้รับเงินเดือนระหว่างลา ศึกษา ลาเพื่อศึกษาที่ คณะ/ มหาวิทยาลัย ลาตั้งแต่ภาค/ ปีการศึกษา หมายเหตุ อนุมัติ ไม่อนุมัติ ได้รับ ไม่ได้รับ เนื่องจาก หลักสูตรปริญญาเอกร่วมในประเทศและต่างประเทศ 1 2 3 4 5 หลักสูตรปริญญาเอกในประเทศ 1 2 3 4 5 หมายเหตุ : กรณีอนุมัติให้ผู้รับทุนลาศึกษาจะต้องแนบหนังสือ/คําสั่งอนุมัติมาให้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพร้อมแบบฟอร์มนี้ด้วย ขรก. หมายถึง “ข้าราชการ” พนง.ม. หมายถึง “พนักงานมหาวิทยาลัย” พนง.รก. หมายถึง “พนักงานราชการ” อ.อัตราจ้าง หมายถึง “อาจารย์อัตราจ้าง” 18 เอกสารผนวก 5