SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
โครงงาน เรื่อง การเจริญเติบโตของราก จัดทำโดย นายอำพล นาคูณ ม.6/3 เสนอ อ.คเชนทร์ กองพิลา
การเจริญเติบโตของราก รากมีการเจิญเติบโต  2  ขั้น คือ 1. การเจริญเติบโตขั้นแรก หมายถึง  การเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงของนื้อเยื่อในส่วนต่างๆ ของพืชตั้งแต่ระยะที่พืชมีเนื้อเยื่อชนิ ด   Promeristem  ไปจนกระทั่ง  primary pernent tissue  เพื่อทำให้ส่วนเหล่านั้นยาวขึ้น รากที่งอกออกจากเมล็ดนั้น จะมีเนื้อเยื่อเป็นเนื้อเยื่อเจริญทั้งสิ้นซึ่งจะมีการแบ่งตัวอยู่ตลอดเวลา เนื้อเยื่อเจริญจะเลื่อนลงไปอยู่ที่ปลายของราก ส่วนเซลล์ตอนบน จะค่อยๆเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อถาวร
บริเวณของรากทั้งหมดคือ  Primar growth ซึ่งแบ่งออกเป็น  4  บริเวณ นับจากปลายสุดของรากขึ้นมา ดังนี้ 1. บริเวณหมวกราก ประกอบด้วยเซลล์ พาเรงคิมา หลายชั้ที่ปกคลุม เนื้อเยื่อที่ปลายรากที่อ่อนแอไว้ เซลล์ในบริเวณนี้มีอายุสั้น เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีการฉีกขาดอยู่เสมอ เพราะส่วนนี้จะยาวออกไปและชอนลึกลงไปในเซลล์เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ 2. บริเวณเซลล์กำลังแบ่งตัว อยู่ถัดจากบริเวณหมวกรากขึ้นไปประกอบด้วยเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายราก เซลล์มีขนาดเล็กมีผนังเซลล์บาง ในแต่ละเซลล์จะมีโพรโทพลาซึมเข้มข้นและมีปริมาณมาก เป็นบริเวณที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว ประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่างยาว ซึ่งเกิดจากเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวแล้ว อยู่ในบริเวณที่สูงกว่าบริเวณเนื้อเยื่อเจริญการที่เซลล์ขยายตัวตามยาวทำให้รากเพิ่มขึ้น 4. บริเวณเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลไปทำหน้าที่เฉพาะ และเจริญเติบโตเต็มที่ ในบริเวณนี้มีเซลล์ขนรากเป็น เซลล์เดียวที่มีขนรากเป็นส่วนหนึ่งของผนังเซลลืยื่นออกไปเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมน้ำและแร่ธาตุ เซลล์ขนรากเกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ เอพิเดอร์มิสบางเซลล์ เซลล์ขนรากเกิดจะมีอยู่เฉพาะบริเวณนี้เท่านั้นเซลล์ขนรากมีอายุประมาณไม่เกิน  7-8 วัน และเหี่ยวแห้งตายไป
2. การเจริญเติบโตขั้นที่สอง หมายถึง การเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงของนื้อเยื่อในส่วนต่างๆ ของพืชตั้งแต่ระยะที่พืชมีเนื้อเยื่อชนิด  Promeristem  ไปจนกระทั่ง  primary pernent tissue  เพื่อทำให้ส่วนเหล่านั้น ให้อ้วนหรือกว้างขึ้น จะเกิดขึ้นหลังจาก  primary growth  ยุติลงแล้ว และมักมีการเปลี่ยนแปลงใน vascular tissue  มากกว่าในเนื้อเยื่ออื่นๆที่มี  secondary growth  ได้แก่ รากของพืชบเลี้ยงคู่ส่วนใหญ่ และรากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมีย เข็มกุดั่น ว่านหางจระเข้ ศรนารายณ์หรือร้อยปีและจันทน์แดง
เนื้อเยื่อของพืช เนื้อเยื่อคือกลุ่มเซลล์ที่มาทำงานร่วมกัน สำหรับเนื้อเยื่อของพืช จะกล่าวถึงเนื้อเยื่อของพืชชั้นสูงทั่วๆไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกไม้ดอก แบ่งออกเป็น  2  ชนิดใหญ่ๆเท่านั้น คือ เนื้อเยื่อเจริญกับเนื้อเยื่อถาวร เนื้อเยื่อทั้ง 2 ชนิดนี้มีความแตกต่างกันที่  เนื้อเยื่อ  เจริญยังคงมีการแบ่งเซลล์ได้อยู่ ทำให้มีการเจริญเติบโตต่อไปอีก ส่วนเนื้อเยื่อถาวรจะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกหรือไม่มีการเจริญเติบโตต่อไปอีก
1. เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญ หมายถึง เนื้อเยื่อพืชซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา มักจะพบตามบริเวณปลายราก ที่มีเซลล์กำลังแบ่งตัวแบบไมโทซิสเพื่อ สร้างเซลล์ใหม่ พบมากตามบริเวณปลายยอด  หรือปลายราก ลักษณะเด่นของเซลล์ที่มีในกลุ่มเนื้อเยื่อเจริญ คือ เซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ มีโพรโทพลาสซึมที่ข้นมาก ผนังเซลล์บาง และมักเป็นสารประกอบลูโลสเป็นส่วนใหญ่
เนื้อเยื่อเจริญแบ่งออกได้เป็น 3  กลุ่ม คือ 1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่อยู่บริเวณปลายยอดหรือราก รวมทั้งที่ตาของลำต้น 2. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่อยู่ด้านข้างของรากหรือลำต้นจะมีการแบ่งเซลล์หรือเพิ่มขนาด  ของลำต้นพบในใบเลี้ยงคู่ทั่วๆไป 3. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่อยู่เหนือปล้องหรือโคนปล้อง ทำให้ปล้องยืดยาวขึ้นพบได้ในใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด
2. เนื้อเยื่อถาวร เนื้อเยื่อถาวร คือ เนื้อเยื่อพืชที่ประกอบด้วยเซลล์ที่แบ่งตัวไม่ได้และมีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีรูปร่างและหน้าที่แตกต่างกันไปแยกออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้  2  กลุ่ม คือ เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว และเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน 1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว  เป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดียวกัน ทำหน้าที่ และส่วนประกอบอยู่ภายในเซลล์คือ เอพิเดอร์มิส คือเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านนอกสุดของส่วนต่างๆ พาเรงคิมา เนื้อเยื่อชนิดนี้พบได้ทั่วไปพบมากสุดในพืชเป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่มีรูปร่างหลายแบบได้แก่ค่อนข้างกลมรี หรือรูปทรงกระบอก
คอลเลงคิมา เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายคลึงกันกับพาเรงคิมา ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลล์ลูโลส แต่ผนังเซลล์จะมีความหนาไม่เท่ากัน สเกลอเรงคิมา เป็นเนื้อเยื่อที่ตายแล้ว ประกอบด้วยเซลล์ผนังหนามาก เอนโดเดอร์มิส เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านนอกของเนื้อเยื่อลำเลียงของราก คอร์ก เป็นเนื้อเยื่อชั้นนองสุดของลำต้นและราก  ของพืชที่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง 2. เนื้อเยื่อเชิงซ้อน  เป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิดอยู่ร้วมกัน และทำงานร่วมกันเป็น เนื้อเยื่อลำเลียงซึ่งแบ่งได้เป็นไซเลมกับโฟเอ็ม
1. ไซเลม ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารจากรากไปสู่ส่วนต่างๆของพืชซึ่งเรียกว่า คอดดักชัน ไซเลมประกอบด้วยเซลล์ 4  ชนิด คือ 1. เซลล์พาเรงคิมา เป็นเซลล์เดียวที่อยู่ในคอร์เทกร์และพิธ  2. ไฟเบอร์ เซลล์รูปร่างยาวปลายเรียว  3.  เทรคิด  เป็นเซลล์ยาวผนังหนามีลิกนิน  สะสมอยู่มาก  4. เวสเซลอีลีเมนต์ เป็นที่มีลักษณะคล้ายแทรคิด 2. โฟลเอ็ม ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารหรืออินทรียสารจากใบไปยังส่วนต่างๆของพืช
การลำเลียงน้ำทางโฟลเอ็มเรียกว่า ทรานสโลเคชัน โฟลเอ็มประกอบด้วยเซลล์  4  ชนิดคือ 1. พาเรงคิมา มีอยู่ในกลุ่มของโฟลเอ็ม เช่นเดียวกับไซเลม  2. ไฟเบอร์ เป็นเส้นช่วยทำให้โฟลเอ็มแข็งแรง  3. ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ เป็นเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ รูปร่างยาวทรงกระบอก 4. คอมพาเนียนเซลล์ เป็นเซลล์ขนาดเล็กอยู่ติดกับซีฟทิวบ์เมมเบอร์
อ้างอิง http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/wactharee_p/sience/sec01p02.html http://ruangkitt.com/index.php?option=com_content&view=article&id=89&Itemid=80 http://www.bwc.ac.th/Science/sumena/cell5.htm http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/wactharee_p/sience/sec05p01.htm

More Related Content

What's hot

Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1มัทนา อานามนารถ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 

What's hot (18)

Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
Tissue1
Tissue1Tissue1
Tissue1
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557อวัยวะของพืช (Plant tissue)   2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) 2557
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 

Similar to Presentation1คิมส่ง

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx pop Jaturong
 
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายหลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายpop Jaturong
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์kanitnun
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 

Similar to Presentation1คิมส่ง (20)

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายหลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 

Presentation1คิมส่ง

  • 1. โครงงาน เรื่อง การเจริญเติบโตของราก จัดทำโดย นายอำพล นาคูณ ม.6/3 เสนอ อ.คเชนทร์ กองพิลา
  • 2. การเจริญเติบโตของราก รากมีการเจิญเติบโต 2 ขั้น คือ 1. การเจริญเติบโตขั้นแรก หมายถึง การเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงของนื้อเยื่อในส่วนต่างๆ ของพืชตั้งแต่ระยะที่พืชมีเนื้อเยื่อชนิ ด Promeristem ไปจนกระทั่ง primary pernent tissue เพื่อทำให้ส่วนเหล่านั้นยาวขึ้น รากที่งอกออกจากเมล็ดนั้น จะมีเนื้อเยื่อเป็นเนื้อเยื่อเจริญทั้งสิ้นซึ่งจะมีการแบ่งตัวอยู่ตลอดเวลา เนื้อเยื่อเจริญจะเลื่อนลงไปอยู่ที่ปลายของราก ส่วนเซลล์ตอนบน จะค่อยๆเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อถาวร
  • 3. บริเวณของรากทั้งหมดคือ Primar growth ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 บริเวณ นับจากปลายสุดของรากขึ้นมา ดังนี้ 1. บริเวณหมวกราก ประกอบด้วยเซลล์ พาเรงคิมา หลายชั้ที่ปกคลุม เนื้อเยื่อที่ปลายรากที่อ่อนแอไว้ เซลล์ในบริเวณนี้มีอายุสั้น เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีการฉีกขาดอยู่เสมอ เพราะส่วนนี้จะยาวออกไปและชอนลึกลงไปในเซลล์เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ 2. บริเวณเซลล์กำลังแบ่งตัว อยู่ถัดจากบริเวณหมวกรากขึ้นไปประกอบด้วยเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายราก เซลล์มีขนาดเล็กมีผนังเซลล์บาง ในแต่ละเซลล์จะมีโพรโทพลาซึมเข้มข้นและมีปริมาณมาก เป็นบริเวณที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
  • 4. 3. บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว ประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่างยาว ซึ่งเกิดจากเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญที่แบ่งตัวแล้ว อยู่ในบริเวณที่สูงกว่าบริเวณเนื้อเยื่อเจริญการที่เซลล์ขยายตัวตามยาวทำให้รากเพิ่มขึ้น 4. บริเวณเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลไปทำหน้าที่เฉพาะ และเจริญเติบโตเต็มที่ ในบริเวณนี้มีเซลล์ขนรากเป็น เซลล์เดียวที่มีขนรากเป็นส่วนหนึ่งของผนังเซลลืยื่นออกไปเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมน้ำและแร่ธาตุ เซลล์ขนรากเกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ เอพิเดอร์มิสบางเซลล์ เซลล์ขนรากเกิดจะมีอยู่เฉพาะบริเวณนี้เท่านั้นเซลล์ขนรากมีอายุประมาณไม่เกิน 7-8 วัน และเหี่ยวแห้งตายไป
  • 5. 2. การเจริญเติบโตขั้นที่สอง หมายถึง การเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงของนื้อเยื่อในส่วนต่างๆ ของพืชตั้งแต่ระยะที่พืชมีเนื้อเยื่อชนิด Promeristem ไปจนกระทั่ง primary pernent tissue เพื่อทำให้ส่วนเหล่านั้น ให้อ้วนหรือกว้างขึ้น จะเกิดขึ้นหลังจาก primary growth ยุติลงแล้ว และมักมีการเปลี่ยนแปลงใน vascular tissue มากกว่าในเนื้อเยื่ออื่นๆที่มี secondary growth ได้แก่ รากของพืชบเลี้ยงคู่ส่วนใหญ่ และรากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมีย เข็มกุดั่น ว่านหางจระเข้ ศรนารายณ์หรือร้อยปีและจันทน์แดง
  • 6. เนื้อเยื่อของพืช เนื้อเยื่อคือกลุ่มเซลล์ที่มาทำงานร่วมกัน สำหรับเนื้อเยื่อของพืช จะกล่าวถึงเนื้อเยื่อของพืชชั้นสูงทั่วๆไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกไม้ดอก แบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆเท่านั้น คือ เนื้อเยื่อเจริญกับเนื้อเยื่อถาวร เนื้อเยื่อทั้ง 2 ชนิดนี้มีความแตกต่างกันที่ เนื้อเยื่อ เจริญยังคงมีการแบ่งเซลล์ได้อยู่ ทำให้มีการเจริญเติบโตต่อไปอีก ส่วนเนื้อเยื่อถาวรจะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกหรือไม่มีการเจริญเติบโตต่อไปอีก
  • 7. 1. เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อเจริญ หมายถึง เนื้อเยื่อพืชซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา มักจะพบตามบริเวณปลายราก ที่มีเซลล์กำลังแบ่งตัวแบบไมโทซิสเพื่อ สร้างเซลล์ใหม่ พบมากตามบริเวณปลายยอด หรือปลายราก ลักษณะเด่นของเซลล์ที่มีในกลุ่มเนื้อเยื่อเจริญ คือ เซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ มีโพรโทพลาสซึมที่ข้นมาก ผนังเซลล์บาง และมักเป็นสารประกอบลูโลสเป็นส่วนใหญ่
  • 8. เนื้อเยื่อเจริญแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่อยู่บริเวณปลายยอดหรือราก รวมทั้งที่ตาของลำต้น 2. เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่อยู่ด้านข้างของรากหรือลำต้นจะมีการแบ่งเซลล์หรือเพิ่มขนาด ของลำต้นพบในใบเลี้ยงคู่ทั่วๆไป 3. เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่อยู่เหนือปล้องหรือโคนปล้อง ทำให้ปล้องยืดยาวขึ้นพบได้ในใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด
  • 9. 2. เนื้อเยื่อถาวร เนื้อเยื่อถาวร คือ เนื้อเยื่อพืชที่ประกอบด้วยเซลล์ที่แบ่งตัวไม่ได้และมีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีรูปร่างและหน้าที่แตกต่างกันไปแยกออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้ 2 กลุ่ม คือ เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว และเนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน 1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว เป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดียวกัน ทำหน้าที่ และส่วนประกอบอยู่ภายในเซลล์คือ เอพิเดอร์มิส คือเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านนอกสุดของส่วนต่างๆ พาเรงคิมา เนื้อเยื่อชนิดนี้พบได้ทั่วไปพบมากสุดในพืชเป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่มีรูปร่างหลายแบบได้แก่ค่อนข้างกลมรี หรือรูปทรงกระบอก
  • 10. คอลเลงคิมา เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายคลึงกันกับพาเรงคิมา ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลล์ลูโลส แต่ผนังเซลล์จะมีความหนาไม่เท่ากัน สเกลอเรงคิมา เป็นเนื้อเยื่อที่ตายแล้ว ประกอบด้วยเซลล์ผนังหนามาก เอนโดเดอร์มิส เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านนอกของเนื้อเยื่อลำเลียงของราก คอร์ก เป็นเนื้อเยื่อชั้นนองสุดของลำต้นและราก ของพืชที่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง 2. เนื้อเยื่อเชิงซ้อน เป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิดอยู่ร้วมกัน และทำงานร่วมกันเป็น เนื้อเยื่อลำเลียงซึ่งแบ่งได้เป็นไซเลมกับโฟเอ็ม
  • 11. 1. ไซเลม ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารจากรากไปสู่ส่วนต่างๆของพืชซึ่งเรียกว่า คอดดักชัน ไซเลมประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด คือ 1. เซลล์พาเรงคิมา เป็นเซลล์เดียวที่อยู่ในคอร์เทกร์และพิธ 2. ไฟเบอร์ เซลล์รูปร่างยาวปลายเรียว 3. เทรคิด เป็นเซลล์ยาวผนังหนามีลิกนิน สะสมอยู่มาก 4. เวสเซลอีลีเมนต์ เป็นที่มีลักษณะคล้ายแทรคิด 2. โฟลเอ็ม ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารหรืออินทรียสารจากใบไปยังส่วนต่างๆของพืช
  • 12. การลำเลียงน้ำทางโฟลเอ็มเรียกว่า ทรานสโลเคชัน โฟลเอ็มประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิดคือ 1. พาเรงคิมา มีอยู่ในกลุ่มของโฟลเอ็ม เช่นเดียวกับไซเลม 2. ไฟเบอร์ เป็นเส้นช่วยทำให้โฟลเอ็มแข็งแรง 3. ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ เป็นเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ รูปร่างยาวทรงกระบอก 4. คอมพาเนียนเซลล์ เป็นเซลล์ขนาดเล็กอยู่ติดกับซีฟทิวบ์เมมเบอร์
  • 13. อ้างอิง http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/wactharee_p/sience/sec01p02.html http://ruangkitt.com/index.php?option=com_content&view=article&id=89&Itemid=80 http://www.bwc.ac.th/Science/sumena/cell5.htm http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/wactharee_p/sience/sec05p01.htm