SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
ความจริงที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อการพัฒนาพื้นที่ลุ่ม 
นำ้าปากพนัง1 
ดำารง โยธารักษ์2 
damrong1962@gmail.com 
089-8714512 
16 มิถุนายน 2552 
ผมเขียนบทความนี้เพื่อชี้ให้เห็นว่าความจริงในโลกนี้ 
1 
มีอยู่สองประการคือ ความจริงที่เป็นสัจจะ3กับความจริงที่ 
ถูกสร้างขึ้นมาจากปฏิบัติการของภาษาและการครอบงำา 
ทางอุดมการณ์ กล่าวคือ ความจริงที่เป็นสัจจะ เช่น ดวง 
อาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและลับฟ้าทางทิศตะวันตก 
หรือมนุษย์ทุกคนต้องตาย เป็นต้น ส่วนความจริงที่ถูกสร้าง 
ขึ้นมาจากโครงสร้างของภาษาผ่านการปฏิบัติการของ 
ภาษา4 (discourse) และการครอบงำาทางอุดมการณ์5 
1 บทความชิ้นนี้เขียนขึ้นจากประสบการณ์จากการทำาดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “การเมืองว่าด้วยการ 
จัดการทรัพยากรนำ้าลุ่มนำ้าปากพนัง” โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง (ดำารง โยธารักษ์, 2552) 
2 จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยรามคำาแหง ปัจจุบันเป็นผู้อำานวยการ 
โครงการมหาวิทยาลัยชีวิต สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน เป็นอาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัย 
มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช 
3 ความจริงที่เป็นสัจจะคือ ความจริงที่สิ้นสุด (ultimate reality) หรือความจริงที่มีอยู่ในตัวเอง 
ซึ่งอยู่ในขอบข่ายของการศึกษาทางด้านอภิปรัชญา (metaphysics) นอกจากนี้ยังมีความจริงที่ 
เรียกว่า ความจริงที่ปรากฏแก่เรา (reality) ซึ่งอยู่ในของข่ายของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ 
ดังนั้นวิทยาศาสตร์จึงเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาปรากฏการณ์หรือสิ่งที่ปรากฏ (อมร 
โสภณวิเชษฐ์วงศ์, 2543, หน้า 22-23) ต่อมามีนักคิดในยุคหลังโครงสร้างนิยมมองว่า ความ 
จริงดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาเพื่อผลประโยชน์และอำานาจของผู้สร้าง เรียกว่า วาทกรรม 
4 Discourse (วาทกรรม) หมายถึง ระบบ และกระบวนการในการการสร้าง/ผลิต (constitute) 
เอกลักษณ์ (identity) และความหมาย (significance) ให้กับสรรพสิ่งต่างๆในสังคมที่ห่อหุ้มเราอยู่ 
ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ความจริง อำานาจ หรือตัวตนของเราเอง (ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, 2543, 
หน้า 19-21) 
5 แนวคิดการครองความเป็นเจ้าในด้านอุดมการณ์ (Hegemony) ของ อันโตนิโอ กรัมชี 
(Antonio Gramsci) ช่วยเปิดพรมแดนของการอธิบายความสัมพันธ์ทางอำานาจของกลุ่มคนที่ 
มีอำานาจไม่เท่ากันว่าไม่ได้เกิดจากอิทธิพลของโครงสร้างส่วนล่างหรือโครงสร้างทางเศรษฐกิจ 
เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับอิทธิพลทางอุดมการณ์หรือโครงสร้างส่วนบนด้วย กรัมชียังชี้ให้เห็นว่า 
อำานาจของชนชั้นปกครองนั้นไม่ว่าจะทรงพลังเพียงใดก็ตาม แต่ก็ไม่มีความเบ็ดเสร็จเด็ดขาดใน 
การใช้อำานาจการปราบปราม ข่มขู่ ครอบงำาได้แต่เพียงลำาพัง หากแต่จะต้องนำาเอากลไกการ 
ครอบงำาทางอุดมการณ์มาใช้ประกอบร่วม โดยกลไกการครอบงำาทางอุดมการณ์นี้จะทำางานผ่าน 
สถาบันและกลไกต่างๆ ของสังคม เช่น ครอบครัว โรงเรียน ศาสนา ที่ทำางาน สื่อมวลชน 
เป็นต้น ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ในชีวิตประจำาวันจนทำาให้ผู้คนเกิดการสมยอมกับการ 
กดขี่และการครอบงำาทางด้านอุดมการณ์ต่างๆ โดยไม่รู้ตัว (กาญจนา แก้วเทพ, 2526, หน้า
(hegemony) เช่น ความเชื่อที่เกิดจากการพูดซำ้าต่อๆกัน 
มาซึ่งแม้ว่าความเชื่อเหล่านั้นเป็นเรื่องไม่จริง แต่เราก็เชื่อ 
ว่าเป็นความจริง เป็นต้น ประเด็นที่ผมสนใจและต้องการนำา 
เสนอก็คือ ข้อมูลที่ไม่จริงบางอย่างเมื่อผ่านภาคปฏิบัติการ 
ของภาษาและการครอบงำาทางอุดมการณ์ ข้อมูลเหล่านั้นก็ 
กลายเป็นความจริง และตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมก็คือ การ 
พัฒนาพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังโดยการบริหารจัดการประตู 
ระบายนำ้าอุทกวิภาชประสิทธิเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์คือ 
ประการแรกป้องกันนำ้าเค็มรุก ประการที่สองป้องกันนำ้าท่วม 
และประการที่สามเก็บนำ้าจืดเพื่อการเกษตรเชิงเดี่ยว (เน้น 
การปลูกพืชชนิดเดียวเพื่อให้ได้ปริมาณผลผลิตมากที่สุด) 
การตั้งคำาถามมีความสำาคัญมากเพราะถ้าหากถามไม่ 
ตรงกับข้อเท็จจริงหรือปัญหา คำาตอบที่ได้ก็พลอยผิดพลาด 
ไปด้วย คำาถามก่อนที่จะเกิดโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มนำ้า 
ปากพนังพนังก็คือ เราจะแก้ปัญหาความเดือดร้อนจากนำ้า 
เค็มรุกพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังได้อย่างไร? เราจะแก้ปัญหานำ้า 
ท่วมพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังได้อย่างไร? เราจะแก้ปัญหานำ้าจืด 
เพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังได้อย่างไร? คำาตอบ 
ที่ได้ก็คือ การบริหารจัดการประตูระบายนำ้าอุทกวิภาชประ 
สิทธิที่ปิดประตูเป็นหลัก(มีการพร่องนำ้าบ้างตามความคิด 
เห็นของเจ้าหน้าที่ชลประทานที่เห็นว่าเหมาะสม) และจะ 
เปิดก็ต่อเมื่อนำ้ามากหรือนำ้าท่วม เป็นต้น 
ผมอยากจะเชิญชวนท่านผู้อ่านลองทบทวนการตั้ง 
คำาถามสามประการดังกล่าว คือการป้องกันนำ้าเค็มรุก การ 
ป้องกันนำ้าท่วม และการเก็บนำ้าจืดไว้ใช้เพื่อการเกษตร 
ประการแรกคือ นำ้าเค็มรุกพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังโดยเฉพาะ 
เมื่อปี พ.ศ. 2530 นำ้าเค็มขึ้นถึงอำาเภอชะอวด ทำาให้ 
ชาวนาเดือดร้อน ผมมีข้อสังเกตบางประการคือ นำ้าที่ไหล 
ขึ้นไปยังอำาเภอเชียรใหญ่ อำาเภอชะอวด เป็นนำ้ากร่อยมิใช่ 
นำ้าเค็ม ดังนั้นการใช้ภาษาว่านำ้าเค็มส่งผลอะไรหรือเปล่า 
และที่เห็นได้ชัดก็คือ ชาวบ้านกลัวนำ้าเค็มเพราะนำ้าเค็ม 
111-113) 
2
3 
ทำำให้เกิดควำมเสียหำยต่อพืชที่ชำวบ้ำนปลูก แต่จริงๆแล้ว 
นำ้ำที่รุกพื้นที่ไปจนถึงอำำเภอเชียรใหญ่ทุกปี และบำงปีขึ้น 
ถึงอำำเภอชะอวดดังกล่ำวนั้น เป็นนำ้ำกร่อย ซึ่งจำกกำร 
สอบถำมชำวบ้ำนตลอดทั้ง 7 ปีที่ผมใช้เวลำศึกษำเรื่องกำร 
จัดกำรทรัพยำกรนำ้ำลุ่มนำ้ำปำกพนังในโครงกำรปรัชญำ 
ดุษฎีบัณฑิตทำงสังคมศำสตร์ พบว่ำ ไม่มีชำวนำคนไหน 
เดือดร้อนจำกนำ้ำกร่อยที่ขึ้นไปถึงอำำเภอเชียรใหญ่และ 
อำำเภอชะอวดดังกล่ำว เพรำะว่ำช่วงที่นำ้ำกร่อยขึ้นไปนั้นอยู่ 
ในช่วงหน้ำแล้ง (ประมำณเดือน มีนำคม เมษำยน 
พฤษภำคม) ช่วงนี้เป็นช่วงที่ชำวบ้ำนเก็บเกี่ยวข้ำว ดังนั้น 
ชำวบ้ำนจึงไม่มีควำมต้องกำรนำ้ำจืดทำำนำ ในขณะเดียวกัน 
ก็ยังได้ประโยชน์จำกกำรจับสัตว์นำ้ำกร่อยในคลอง 
ปำกพนังและคลองย่อยต่ำงๆไม่ว่ำจะเป็นกุ้ง หอย ปู ปลำที่ 
อุดมสมบูรณ์และรสชำติเป็นเลิศ (ประมงพื้นบ้ำนในคลอง 
ปำกพนังและสำขำ) ดังนั้นจำกกำรกล่ำวอ้ำงว่ำนำ้ำเค็มรุก 
พื้นที่ทำำให้ชำวบ้ำนเดือดร้อนนั้นไม่เป็นควำมจริง ด้วย 
เหตุผลดังกล่ำว แต่ทำำไมคำำกล่ำวเท็จนี้จึงกลำยเป็นควำม 
จริงขึ้นมำได้ ผมพบว่ำสำเหตุดังกล่ำวมำจำกกำรพูดซำ้ำ 
ของเจ้ำหน้ำที่รัฐ ของนักกำรเมือง พร้องทั้งสื่อหนังสือพิมพ์ 
วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น เมื่อมีกำรพูดซำ้ำอยู่ประจำำ นำนวัน 
เข้ำมันก็กลำยเป็นควำมจริงที่ต้องแก้ปัญหำ คือ ต้อง 
ทำำลำยหรือป้องกันนำ้ำกร่อยมิให้รุกพื้นที่ดังกล่ำว 
ประกำรที่สองคือ ปัญหำนำ้ำท่วม ผมพบว่ำนำ้ำท่วมใน 
ลุ่มนำ้ำปำกพนังเป็นเรื่องปกติเพรำะหลังจำกนำ้ำท่วมทุกปี 
และนำ้ำท่วมใหญ่ซึ่งจะเกิดประมำณ 12 -15 ปีต่อครั้ง ข้ำว 
ปลำอำหำรจะมีควำมอุดมสมบูรณ์มำก เนื่องจำกในช่วงนำ้ำ 
ท่วมนั้นสัตว์นำ้ำจืดจำกป่ำพรุ6ก็จะออกมำทั่วลุ่มนำ้ำปำกพนัง 
และเมื่อนำ้ำลดสัตว์นำ้ำเหล่ำนั้นก็จะอยู่ตำมบึง หนอง คลอง 
ย่อย และแม่นำ้ำปำกพนังเป็นต้น เมื่อถึงหน้ำแล้งชำวนำก็จะ 
วิดหนองเพื่อนำ้ำสัตว์นำ้ำเหล่ำนั้นมำบริโภคทุกปี ประโยชน์ 
ของนำ้ำท่วมประกำรต่อมำก็คือ หลังจำกนำ้ำลดจะมีปุ๋ย 
6 ป่ำพรุเป็นแหล่งเพำะพันธุ์ปลำนำ้ำจืดตำมธรรมชำติที่สมบูรณ์ที่สุดในระบบนิเวศเขตร้อน 
และให้พลังงำนเป็นอันดับสองรองจำกระบบนิเวศปำกแม่นำ้ำ
4 
ธรรมชำติที่มำกับกระแสนำ้ำตกค้ำงอยู่ (หนำเป็น 
เซนติเมตร) ซึ่งจะพบได้ว่ำปีที่หลังจำกนำ้ำท่วมใหญ่ข้ำว 
ปลำอำหำรจะอุดมสมบูรณ์มำกเป็นพิเศษ ประโยชน์ของนำ้ำ 
ท่วมประกำรต่อมำก็คือ เป็นกำรกำำจัดปลวก มด แมลง ตำม 
ธรรมชำติ เป็นต้น ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ำ ปัญหำปลวก แมลง 
มีมำกจนต้องใช้สำรเคมีกันทั้งลุ่มนำ้ำปำกพนัง 
ประกำรที่สำมเป็นปัญหำใหญ่มำกเพรำะเป็นเรื่องของ 
วิธีคิด (กระบวนทัศน์พัฒนำ) ของเจ้ำหน้ำที่รัฐที่เน้นกำร 
ผลิตเชิงเดี่ยวเพรำะเขำถูกสอนมำให้เชื่อว่ำ ธรรมชำติ 
ควบคุมได้เพื่อผลิตเพื่อมวลชน7 ดังนั้นชำวบ้ำนจึงถูกมอง 
ว่ำ โง่ จน เจ็บ (โง่เพรำะไม่ได้จบปริญญำ จนเพรำะผลิต 
ได้น้อยเช่น ใช้เครื่องมือกำรผลิตที่ไม่ทันสมัย คือ กำรใช้ 
วัว ควำยไถนำ และไม่ใช้ปุ๋ยเคมี เป็นต้น เจ็บเพรำะไม่ใช้ 
เทคนิคกำรแพทย์ที่ทันสมัย8 เป็นต้น) ดังนั้นกำรบริหำร 
จัดกำรทรัพยำกรนำ้ำลุ่มนำ้ำปำกพนังจึงมีเป้ำหมำยเพื่อกำร 
ผลิตเชิงเดี่ยวที่ต้องกำรนำ้ำเพื่อกำรผลิตข้ำวให้ได้จำำนวน 
ครั้งมำกที่สุดเพื่อให้ได้ปริมำณมำกที่สุด และขำยได้เงิน 
มำกที่สุด เมื่อมีเงินมำกก็จะหำยจำกควำมยำกจน สุดท้ำย 
ชำวบ้ำนก็จนสมใจ และคนที่รำ่ำรวยก็คือนักกำรเมือง นัก 
ธุรกิจ และชำวบ้ำนที่ทำำธุรกิจโรงสี รถเกี่ยวข้ำว เป็นต้น 
ชำวบ้ำนที่มีที่ดินเล็กน้อยก็ต้องขำยที่เพรำะไม่สำมำรถใช้ 
ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้ 
ผมอยำกเรียนว่ำเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของวิธีคิด 
มิใช่เป็นเรื่องของรูปแบบกำรปักป้ำยถ่ำยรูป กล่ำวคือ 
เศรษฐกิจพอเพียงต้องเกิดหรือระเบิดจำกข้ำงในของผู้ 
7 กำรผลิตเพื่อมวลชนเป็นกำรผลิตที่มีผู้ผลิตน้อยรำยแต่ผลิตให้ได้จำำนวนมำกเพื่อขำยให้กับ 
คนทั้งประเทศ ทั้งโลก ตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัด เช่น กำรผลิตรถยนต์ที่มีเพียงไม่กี่ยี่ห้อแต่ผลิต 
ขำยเพื่อคนทั้งโลก เป็นต้น วิธีคิดแบบนี้ได้รับอิทธิพลจำกกำรค้นพบเครื่องจักรในกำรผลิต 
สินค้ำ และเมื่อสินค้ำล้นตลำดตก็จะเกิดเทคนิคกำรตลำดเพื่อกระตุ้นผู้บริโภคให้มีควำม 
ต้องกำรมำกยิ่งขึ้นแม้ไม่จำำเป็นก็ตำม (กำรบริโภคเทียม) กำรผลิตเพื่อมวลชนต่ำงจำกกำร 
ผลิตโดยมวลชน กำรผลิตโดยมวลชนเป็นกำรผลิตโดยชุมชน เพื่อชุมชน เรียกว่ำ วิสำหกิจ 
ชุมชน กำรผลิตโดยมวลชนได้รับอิทธิพลจำกแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นกำรอยู่รอด 
ก่อน เมื่อเข้มแข็งแล้วจึงผลิตเพื่อขำย เป็นต้น 
8 เทคนิคกำรแพทย์สมัยใหม่เน้นกำรฆ่ำเชื้อโรค (รักษำ) ในขณะที่เทคนิคกำรแพทย์แผน 
โบรำณเน้นกำรรักษำษควำมสมดุลของร่ำงกำย (ป้องกัน)
ปฎิบัติโดยการสนับสนุนเรื่องการเปลี่ยนวิธีคิดจากบุคคล 
ภายนอกเช่น เจ้าหน้าที่รัฐ มิใช่เป็นการให้เจ้าหน้าที่รัฐไป 
ให้งบประมาณแล้วบอกให้เขาทำาตามที่เราบอกโดยมิได้ 
ผ่านกระบวนการเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนวิธีคิด เป็นต้น ดังนั้นถ้า 
สามารถเปลี่ยนวิธีคิดคนให้คิดเพื่ออยู่รอดก่อนแล้วค่อย 
ขยายเป็นการผลิตเพื่อขายอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ก็จะ 
สามารถทำาให้คนเปลี่ยนวิถีการผลิตจากผลิตเพื่อมวลชน 
ไปสู่การผลิตโดยมวลชน ถ้าสามารถเปลี่ยนจากวิธีคิด 
ควบคุมธรรมชาติไปสู่การอยู่กับธรรมชาติอย่างสอดคล้อง 
ก็จะเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตจากการผลิตเชิงเดี่ยวไปสู่ 
การผลิตแบบผสมผสาน 
ประ เด็นสำา คัญก็คือทำา ไมเ จ้าหน้าที่จึงขึ้นป้าย 
เศรษฐกิจพอเพียง และบอกชาวบ้านว่าโครงการพัฒนาลุ่ม 
นำ้าปากพนังมีเป้าหมายเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง แต่การ 
ปฏิบัติของ 
เจ้าหน้าที่ยังมุ่งไปสู่ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมแบบเข้มข้น 
และที่สำาคัญก็คือยังไม่มีพื้นที่ 
ให้กับชาวบ้านที่ต้องการดำาเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจ 
พอเพียงเลยแม้แต่น้อย ที่ผม 
กล่าวเช่นนี้เพราะ ถ้าเราเข้าใจแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงก็ 
จะพบว่า เศรษฐกิจพอเพียง 
สำาหรับพื้นที่ที่แห้งแล้ง ขาดความอุดมสมบูรณ์ก็จะสามารถ 
ใช้เกษตรทฤษฎีใหม่ได้ แต่ 
ในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีระบบนิเวศที่หลาก 
หลายดังเช่นลุ่มนำ้าปากพนังนั้น 
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงน่าจะเป็นการดำาเนินวิถีตามระบบ 
นิเวศนำ้ากร่อยที่มีความ 
สมบูรณ์อยู่แล้วโดยไม่ต้องไปเปลี่ยนระบบให้เป็นระบบ 
นิเวศใหม่ดังที่ทำากัน และที่ 
สำาคัญก็คือระบบนิเวศนำ้ากร่อยมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงที่สุด 
ในโลก ดังที่ Charles E 
5
Kupchella and Margaret C. Hyland ศึกษาพบว่า 
พื้นที่นำ้ากร่อยดังกล่าว เป็นพื้นที่ที่มี 
ความอุดมสมบูรณ์มาก ดังแสดงในภาพ 1 ที่แสดงถึง 
ผลผลิตของแต่ละพื้นที่ที่สามารถ 
ให้ผลผลิตต่อหนึ่งตารางเมตรโดยคิดเป็นพลังงานที่ให้ 
ออกมาในรูปของจำานวนแครอรี่ 
ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อมีการเปรียบเทียบการให้พลังงานของ 
พื้นที่ต่าง ๆ ตั้งแต่บริเวณ 
ทะเลทรายจนถึงปากแม่นำ้าและในมหาสมุทร พบว่า บริเวณ 
ปากแม่นำ้าซึ่งเป็นพื้นที่นำ้า 
กร่อยจะให้พลังงานมากที่สุดคือ ให้พลังงานเฉลี่ย 
24,500 กิโลแครอรตี่่อพนื้ทหี่นงึ่ 
ตารางกิโลเมตรต่อปี รองลงมาก็คือ พื้นที่ป่าพรุให้พลังงาน 
เฉลี่ย 13,500 กิโลแครอรี่ต่อ 
พื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี พื้นที่นาข้าวให้พลังงาน 
เฉลี่ย 9,000 กิโลแครอรี่ต่อ 
พื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี และทุ่งหญ้าเขตร้อนให้ 
พลังงานเฉลี่ย 7,500 กิโลแครอรี่ 
ต่อพื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี ในขณะที่บริเวณทะเล 
ทรายจะให้พลังงานน้อยที่สุด 
คือ ให้พลังงานเฉลี่ยประมาณ 500 กิโลแครอรี่ต่อพื้นที่ 
หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี 
(Kupchella & Hyland, 1993, p. 31) 
6
7 
ภาพ 1 ผลผลิตเริ่มต้น (กิโลแกลอรี่ต่อพื้นที่หนึ่งตารางเมตรต่อปี) ในพื้นที่ต่าง 
ๆ ของโลก 
ที่มา. จาก Environmental Science: Living Within the System of Nature (3rd. ed., p. 
32).โดย C. E. Kupchella, & M. C. Hyland, 1993, Englewood Cliff, NJ: Prentice-Hall. 
ภาพ 1 ผลผลิตเริ่มต้น (กิโลแครอรี่ต่อพื้นที่หนึ่งตาราง 
เมตรต่อปี) ในพื้นที่ต่าง ๆ ของโลก 
จากที่กล่าวมาผมมิได้มีจุดประสงค์ที่จะชี้ว่าใครผิด 
ใครถูกแต่ต้องการชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาลุ่มนำ้าปากพนังนั้น 
หากทางราชการได้กรุณาให้ชาวบ้านที่มีความสนใจและ 
ศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังเข้ามามีส่วนร่วม โดยเจ้าหน้าที่รัฐ 
เป็นผู้ประสานมิใช่ไปคิดแทน เมื่อชาวบ้านทั้งผู้มีส่วนได้ 
ส่วนเสียตกลงกันจนได้ข้อสรุปแล้ว เจ้าหน้าที่รัฐจึงค่อยใช้ 
เทคนิควิธีการทางด้านวิศวกรรมเข้าไปบริหารจัดการให้ 
เป็นไปตามความต้องการของชาวบ้านในแต่ละลุ่มนำ้าย่อย 
อย่างไรก็ตามข้อเสนอของผมก็คือ ระบบเศรษฐกิจ 
สองระบบในลุ่มนำ้าปากพนัง คือ ใครที่พร้อมจะทำา 
เศรษฐกิจแบบการผลิตเพื่อการค้าก็สามารถทำาได้แต่ต้อง 
ไม่ไปทำาให้ชาวบ้านที่ต้องการผลิตแบบผสมผสาน เช่น ทำา 
นาปี และสามารถหาสัตว์นำ้าตามคลองย่อยและแม่นำ้า 
ปากพนังได้รับความเดือดร้อนจนต้องย้ายถิ่นในที่สุด ผม 
คิดว่าเราควรทบทวนการบริหารจัดการประตูระบายนำ้า 
อุทกวิภาชประสิทธิเสียใหม่โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาบริ 
หารจัดการร่วมกับเจ้าหน้าที่ชลประทานด้วย แล้วสิ่งดีดีก็ 
จะเกิดขึ้นในลุ่มนำ้าปากพนัง สมกับที่พระองค์ท่านเปรียบ 
เทียบเอาไว้ว่า ประตูระบายนำ้าอุทกวิภาชประสิทธิเปรียบ
เสมือนรถที่ท่านได้สร้างไว้ให้และคนที่จะขับรถคันนี้ได้ดีก็ 
คือชาวลุ่มนำ้าปากพนังนั่นเอง 
บรรณานุกรม 
กาญจนา แก้วเทพ. (2526). ลัทธิมาร์กของกรัมชี่. 
วารสารธรรมศาสตร์, 12(2), 111- 
113. 
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2543). วาทกรรมการพัฒนา: 
อำานาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็น 
อื่น. กรุงเทพมหานคร: สำานักพิมพ์วิภาษา. 
ดำารง โยธารักษ์. (2552). การเมืองว่าด้วยการจัดการ 
ทรัพยากรนำ้าลุ่มนำ้าปากพนัง. ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตร 
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์). 
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง. 
อมร โสภณวิเชษฐ์วงศ์. (2543). ตรรกวิทยาเบื้องต้น. 
(พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร: สำานักพิมพ์ 
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง. 
Kupchella, Charles E. and Hyland, Margaret C. 
(1993). Environmental Science: Living 
Within the System of Nature. Englewood 
Cliff, NJ: Prentice-Hall. 
8

More Related Content

Viewers also liked

ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราSuradet Sriangkoon
 
บันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิต
บันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิตบันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิต
บันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิตtra thailand
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foodsRose Banioki
 
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน KASETSART UNIVERSITY
 
มัดใจ ลูกค้าด้วย Crm & cem
มัดใจ  ลูกค้าด้วย Crm & cemมัดใจ  ลูกค้าด้วย Crm & cem
มัดใจ ลูกค้าด้วย Crm & cemWICEFreight
 
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพการโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพThaniyaphatra Saengngam
 
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตามTreetita Intachai
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 
คำคมคำขาย
คำคมคำขายคำคมคำขาย
คำคมคำขายguestab14f9a
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 

Viewers also liked (12)

ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
 
บันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิต
บันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิตบันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิต
บันได 9 ชั้นเพื่อความสมหวังของชีวิต
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
 
Chaplin awards
Chaplin awardsChaplin awards
Chaplin awards
 
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
 
๐๐๑ คำกล่าว อฺ_เฉิน
๐๐๑  คำกล่าว อฺ_เฉิน๐๐๑  คำกล่าว อฺ_เฉิน
๐๐๑ คำกล่าว อฺ_เฉิน
 
มัดใจ ลูกค้าด้วย Crm & cem
มัดใจ  ลูกค้าด้วย Crm & cemมัดใจ  ลูกค้าด้วย Crm & cem
มัดใจ ลูกค้าด้วย Crm & cem
 
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพการโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
 
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
คำคมคำขาย
คำคมคำขายคำคมคำขาย
คำคมคำขาย
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 

Similar to ความจริงที่ถูกสร้าง

Samkok01
Samkok01Samkok01
Samkok01tommy
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003bussayamas Baengtid
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคน ขี้เล่า
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 

Similar to ความจริงที่ถูกสร้าง (11)

ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
Samkok01
Samkok01Samkok01
Samkok01
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
2011 thai
2011 thai2011 thai
2011 thai
 
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 

ความจริงที่ถูกสร้าง

  • 1. ความจริงที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อการพัฒนาพื้นที่ลุ่ม นำ้าปากพนัง1 ดำารง โยธารักษ์2 damrong1962@gmail.com 089-8714512 16 มิถุนายน 2552 ผมเขียนบทความนี้เพื่อชี้ให้เห็นว่าความจริงในโลกนี้ 1 มีอยู่สองประการคือ ความจริงที่เป็นสัจจะ3กับความจริงที่ ถูกสร้างขึ้นมาจากปฏิบัติการของภาษาและการครอบงำา ทางอุดมการณ์ กล่าวคือ ความจริงที่เป็นสัจจะ เช่น ดวง อาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกและลับฟ้าทางทิศตะวันตก หรือมนุษย์ทุกคนต้องตาย เป็นต้น ส่วนความจริงที่ถูกสร้าง ขึ้นมาจากโครงสร้างของภาษาผ่านการปฏิบัติการของ ภาษา4 (discourse) และการครอบงำาทางอุดมการณ์5 1 บทความชิ้นนี้เขียนขึ้นจากประสบการณ์จากการทำาดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “การเมืองว่าด้วยการ จัดการทรัพยากรนำ้าลุ่มนำ้าปากพนัง” โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง (ดำารง โยธารักษ์, 2552) 2 จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยรามคำาแหง ปัจจุบันเป็นผู้อำานวยการ โครงการมหาวิทยาลัยชีวิต สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน เป็นอาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช 3 ความจริงที่เป็นสัจจะคือ ความจริงที่สิ้นสุด (ultimate reality) หรือความจริงที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งอยู่ในขอบข่ายของการศึกษาทางด้านอภิปรัชญา (metaphysics) นอกจากนี้ยังมีความจริงที่ เรียกว่า ความจริงที่ปรากฏแก่เรา (reality) ซึ่งอยู่ในของข่ายของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้นวิทยาศาสตร์จึงเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาปรากฏการณ์หรือสิ่งที่ปรากฏ (อมร โสภณวิเชษฐ์วงศ์, 2543, หน้า 22-23) ต่อมามีนักคิดในยุคหลังโครงสร้างนิยมมองว่า ความ จริงดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาเพื่อผลประโยชน์และอำานาจของผู้สร้าง เรียกว่า วาทกรรม 4 Discourse (วาทกรรม) หมายถึง ระบบ และกระบวนการในการการสร้าง/ผลิต (constitute) เอกลักษณ์ (identity) และความหมาย (significance) ให้กับสรรพสิ่งต่างๆในสังคมที่ห่อหุ้มเราอยู่ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ความจริง อำานาจ หรือตัวตนของเราเอง (ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, 2543, หน้า 19-21) 5 แนวคิดการครองความเป็นเจ้าในด้านอุดมการณ์ (Hegemony) ของ อันโตนิโอ กรัมชี (Antonio Gramsci) ช่วยเปิดพรมแดนของการอธิบายความสัมพันธ์ทางอำานาจของกลุ่มคนที่ มีอำานาจไม่เท่ากันว่าไม่ได้เกิดจากอิทธิพลของโครงสร้างส่วนล่างหรือโครงสร้างทางเศรษฐกิจ เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับอิทธิพลทางอุดมการณ์หรือโครงสร้างส่วนบนด้วย กรัมชียังชี้ให้เห็นว่า อำานาจของชนชั้นปกครองนั้นไม่ว่าจะทรงพลังเพียงใดก็ตาม แต่ก็ไม่มีความเบ็ดเสร็จเด็ดขาดใน การใช้อำานาจการปราบปราม ข่มขู่ ครอบงำาได้แต่เพียงลำาพัง หากแต่จะต้องนำาเอากลไกการ ครอบงำาทางอุดมการณ์มาใช้ประกอบร่วม โดยกลไกการครอบงำาทางอุดมการณ์นี้จะทำางานผ่าน สถาบันและกลไกต่างๆ ของสังคม เช่น ครอบครัว โรงเรียน ศาสนา ที่ทำางาน สื่อมวลชน เป็นต้น ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ในชีวิตประจำาวันจนทำาให้ผู้คนเกิดการสมยอมกับการ กดขี่และการครอบงำาทางด้านอุดมการณ์ต่างๆ โดยไม่รู้ตัว (กาญจนา แก้วเทพ, 2526, หน้า
  • 2. (hegemony) เช่น ความเชื่อที่เกิดจากการพูดซำ้าต่อๆกัน มาซึ่งแม้ว่าความเชื่อเหล่านั้นเป็นเรื่องไม่จริง แต่เราก็เชื่อ ว่าเป็นความจริง เป็นต้น ประเด็นที่ผมสนใจและต้องการนำา เสนอก็คือ ข้อมูลที่ไม่จริงบางอย่างเมื่อผ่านภาคปฏิบัติการ ของภาษาและการครอบงำาทางอุดมการณ์ ข้อมูลเหล่านั้นก็ กลายเป็นความจริง และตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมก็คือ การ พัฒนาพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังโดยการบริหารจัดการประตู ระบายนำ้าอุทกวิภาชประสิทธิเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์คือ ประการแรกป้องกันนำ้าเค็มรุก ประการที่สองป้องกันนำ้าท่วม และประการที่สามเก็บนำ้าจืดเพื่อการเกษตรเชิงเดี่ยว (เน้น การปลูกพืชชนิดเดียวเพื่อให้ได้ปริมาณผลผลิตมากที่สุด) การตั้งคำาถามมีความสำาคัญมากเพราะถ้าหากถามไม่ ตรงกับข้อเท็จจริงหรือปัญหา คำาตอบที่ได้ก็พลอยผิดพลาด ไปด้วย คำาถามก่อนที่จะเกิดโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มนำ้า ปากพนังพนังก็คือ เราจะแก้ปัญหาความเดือดร้อนจากนำ้า เค็มรุกพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังได้อย่างไร? เราจะแก้ปัญหานำ้า ท่วมพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังได้อย่างไร? เราจะแก้ปัญหานำ้าจืด เพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังได้อย่างไร? คำาตอบ ที่ได้ก็คือ การบริหารจัดการประตูระบายนำ้าอุทกวิภาชประ สิทธิที่ปิดประตูเป็นหลัก(มีการพร่องนำ้าบ้างตามความคิด เห็นของเจ้าหน้าที่ชลประทานที่เห็นว่าเหมาะสม) และจะ เปิดก็ต่อเมื่อนำ้ามากหรือนำ้าท่วม เป็นต้น ผมอยากจะเชิญชวนท่านผู้อ่านลองทบทวนการตั้ง คำาถามสามประการดังกล่าว คือการป้องกันนำ้าเค็มรุก การ ป้องกันนำ้าท่วม และการเก็บนำ้าจืดไว้ใช้เพื่อการเกษตร ประการแรกคือ นำ้าเค็มรุกพื้นที่ลุ่มนำ้าปากพนังโดยเฉพาะ เมื่อปี พ.ศ. 2530 นำ้าเค็มขึ้นถึงอำาเภอชะอวด ทำาให้ ชาวนาเดือดร้อน ผมมีข้อสังเกตบางประการคือ นำ้าที่ไหล ขึ้นไปยังอำาเภอเชียรใหญ่ อำาเภอชะอวด เป็นนำ้ากร่อยมิใช่ นำ้าเค็ม ดังนั้นการใช้ภาษาว่านำ้าเค็มส่งผลอะไรหรือเปล่า และที่เห็นได้ชัดก็คือ ชาวบ้านกลัวนำ้าเค็มเพราะนำ้าเค็ม 111-113) 2
  • 3. 3 ทำำให้เกิดควำมเสียหำยต่อพืชที่ชำวบ้ำนปลูก แต่จริงๆแล้ว นำ้ำที่รุกพื้นที่ไปจนถึงอำำเภอเชียรใหญ่ทุกปี และบำงปีขึ้น ถึงอำำเภอชะอวดดังกล่ำวนั้น เป็นนำ้ำกร่อย ซึ่งจำกกำร สอบถำมชำวบ้ำนตลอดทั้ง 7 ปีที่ผมใช้เวลำศึกษำเรื่องกำร จัดกำรทรัพยำกรนำ้ำลุ่มนำ้ำปำกพนังในโครงกำรปรัชญำ ดุษฎีบัณฑิตทำงสังคมศำสตร์ พบว่ำ ไม่มีชำวนำคนไหน เดือดร้อนจำกนำ้ำกร่อยที่ขึ้นไปถึงอำำเภอเชียรใหญ่และ อำำเภอชะอวดดังกล่ำว เพรำะว่ำช่วงที่นำ้ำกร่อยขึ้นไปนั้นอยู่ ในช่วงหน้ำแล้ง (ประมำณเดือน มีนำคม เมษำยน พฤษภำคม) ช่วงนี้เป็นช่วงที่ชำวบ้ำนเก็บเกี่ยวข้ำว ดังนั้น ชำวบ้ำนจึงไม่มีควำมต้องกำรนำ้ำจืดทำำนำ ในขณะเดียวกัน ก็ยังได้ประโยชน์จำกกำรจับสัตว์นำ้ำกร่อยในคลอง ปำกพนังและคลองย่อยต่ำงๆไม่ว่ำจะเป็นกุ้ง หอย ปู ปลำที่ อุดมสมบูรณ์และรสชำติเป็นเลิศ (ประมงพื้นบ้ำนในคลอง ปำกพนังและสำขำ) ดังนั้นจำกกำรกล่ำวอ้ำงว่ำนำ้ำเค็มรุก พื้นที่ทำำให้ชำวบ้ำนเดือดร้อนนั้นไม่เป็นควำมจริง ด้วย เหตุผลดังกล่ำว แต่ทำำไมคำำกล่ำวเท็จนี้จึงกลำยเป็นควำม จริงขึ้นมำได้ ผมพบว่ำสำเหตุดังกล่ำวมำจำกกำรพูดซำ้ำ ของเจ้ำหน้ำที่รัฐ ของนักกำรเมือง พร้องทั้งสื่อหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น เมื่อมีกำรพูดซำ้ำอยู่ประจำำ นำนวัน เข้ำมันก็กลำยเป็นควำมจริงที่ต้องแก้ปัญหำ คือ ต้อง ทำำลำยหรือป้องกันนำ้ำกร่อยมิให้รุกพื้นที่ดังกล่ำว ประกำรที่สองคือ ปัญหำนำ้ำท่วม ผมพบว่ำนำ้ำท่วมใน ลุ่มนำ้ำปำกพนังเป็นเรื่องปกติเพรำะหลังจำกนำ้ำท่วมทุกปี และนำ้ำท่วมใหญ่ซึ่งจะเกิดประมำณ 12 -15 ปีต่อครั้ง ข้ำว ปลำอำหำรจะมีควำมอุดมสมบูรณ์มำก เนื่องจำกในช่วงนำ้ำ ท่วมนั้นสัตว์นำ้ำจืดจำกป่ำพรุ6ก็จะออกมำทั่วลุ่มนำ้ำปำกพนัง และเมื่อนำ้ำลดสัตว์นำ้ำเหล่ำนั้นก็จะอยู่ตำมบึง หนอง คลอง ย่อย และแม่นำ้ำปำกพนังเป็นต้น เมื่อถึงหน้ำแล้งชำวนำก็จะ วิดหนองเพื่อนำ้ำสัตว์นำ้ำเหล่ำนั้นมำบริโภคทุกปี ประโยชน์ ของนำ้ำท่วมประกำรต่อมำก็คือ หลังจำกนำ้ำลดจะมีปุ๋ย 6 ป่ำพรุเป็นแหล่งเพำะพันธุ์ปลำนำ้ำจืดตำมธรรมชำติที่สมบูรณ์ที่สุดในระบบนิเวศเขตร้อน และให้พลังงำนเป็นอันดับสองรองจำกระบบนิเวศปำกแม่นำ้ำ
  • 4. 4 ธรรมชำติที่มำกับกระแสนำ้ำตกค้ำงอยู่ (หนำเป็น เซนติเมตร) ซึ่งจะพบได้ว่ำปีที่หลังจำกนำ้ำท่วมใหญ่ข้ำว ปลำอำหำรจะอุดมสมบูรณ์มำกเป็นพิเศษ ประโยชน์ของนำ้ำ ท่วมประกำรต่อมำก็คือ เป็นกำรกำำจัดปลวก มด แมลง ตำม ธรรมชำติ เป็นต้น ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ำ ปัญหำปลวก แมลง มีมำกจนต้องใช้สำรเคมีกันทั้งลุ่มนำ้ำปำกพนัง ประกำรที่สำมเป็นปัญหำใหญ่มำกเพรำะเป็นเรื่องของ วิธีคิด (กระบวนทัศน์พัฒนำ) ของเจ้ำหน้ำที่รัฐที่เน้นกำร ผลิตเชิงเดี่ยวเพรำะเขำถูกสอนมำให้เชื่อว่ำ ธรรมชำติ ควบคุมได้เพื่อผลิตเพื่อมวลชน7 ดังนั้นชำวบ้ำนจึงถูกมอง ว่ำ โง่ จน เจ็บ (โง่เพรำะไม่ได้จบปริญญำ จนเพรำะผลิต ได้น้อยเช่น ใช้เครื่องมือกำรผลิตที่ไม่ทันสมัย คือ กำรใช้ วัว ควำยไถนำ และไม่ใช้ปุ๋ยเคมี เป็นต้น เจ็บเพรำะไม่ใช้ เทคนิคกำรแพทย์ที่ทันสมัย8 เป็นต้น) ดังนั้นกำรบริหำร จัดกำรทรัพยำกรนำ้ำลุ่มนำ้ำปำกพนังจึงมีเป้ำหมำยเพื่อกำร ผลิตเชิงเดี่ยวที่ต้องกำรนำ้ำเพื่อกำรผลิตข้ำวให้ได้จำำนวน ครั้งมำกที่สุดเพื่อให้ได้ปริมำณมำกที่สุด และขำยได้เงิน มำกที่สุด เมื่อมีเงินมำกก็จะหำยจำกควำมยำกจน สุดท้ำย ชำวบ้ำนก็จนสมใจ และคนที่รำ่ำรวยก็คือนักกำรเมือง นัก ธุรกิจ และชำวบ้ำนที่ทำำธุรกิจโรงสี รถเกี่ยวข้ำว เป็นต้น ชำวบ้ำนที่มีที่ดินเล็กน้อยก็ต้องขำยที่เพรำะไม่สำมำรถใช้ ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้ ผมอยำกเรียนว่ำเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของวิธีคิด มิใช่เป็นเรื่องของรูปแบบกำรปักป้ำยถ่ำยรูป กล่ำวคือ เศรษฐกิจพอเพียงต้องเกิดหรือระเบิดจำกข้ำงในของผู้ 7 กำรผลิตเพื่อมวลชนเป็นกำรผลิตที่มีผู้ผลิตน้อยรำยแต่ผลิตให้ได้จำำนวนมำกเพื่อขำยให้กับ คนทั้งประเทศ ทั้งโลก ตัวอย่ำงที่เห็นได้ชัด เช่น กำรผลิตรถยนต์ที่มีเพียงไม่กี่ยี่ห้อแต่ผลิต ขำยเพื่อคนทั้งโลก เป็นต้น วิธีคิดแบบนี้ได้รับอิทธิพลจำกกำรค้นพบเครื่องจักรในกำรผลิต สินค้ำ และเมื่อสินค้ำล้นตลำดตก็จะเกิดเทคนิคกำรตลำดเพื่อกระตุ้นผู้บริโภคให้มีควำม ต้องกำรมำกยิ่งขึ้นแม้ไม่จำำเป็นก็ตำม (กำรบริโภคเทียม) กำรผลิตเพื่อมวลชนต่ำงจำกกำร ผลิตโดยมวลชน กำรผลิตโดยมวลชนเป็นกำรผลิตโดยชุมชน เพื่อชุมชน เรียกว่ำ วิสำหกิจ ชุมชน กำรผลิตโดยมวลชนได้รับอิทธิพลจำกแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นกำรอยู่รอด ก่อน เมื่อเข้มแข็งแล้วจึงผลิตเพื่อขำย เป็นต้น 8 เทคนิคกำรแพทย์สมัยใหม่เน้นกำรฆ่ำเชื้อโรค (รักษำ) ในขณะที่เทคนิคกำรแพทย์แผน โบรำณเน้นกำรรักษำษควำมสมดุลของร่ำงกำย (ป้องกัน)
  • 5. ปฎิบัติโดยการสนับสนุนเรื่องการเปลี่ยนวิธีคิดจากบุคคล ภายนอกเช่น เจ้าหน้าที่รัฐ มิใช่เป็นการให้เจ้าหน้าที่รัฐไป ให้งบประมาณแล้วบอกให้เขาทำาตามที่เราบอกโดยมิได้ ผ่านกระบวนการเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนวิธีคิด เป็นต้น ดังนั้นถ้า สามารถเปลี่ยนวิธีคิดคนให้คิดเพื่ออยู่รอดก่อนแล้วค่อย ขยายเป็นการผลิตเพื่อขายอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ก็จะ สามารถทำาให้คนเปลี่ยนวิถีการผลิตจากผลิตเพื่อมวลชน ไปสู่การผลิตโดยมวลชน ถ้าสามารถเปลี่ยนจากวิธีคิด ควบคุมธรรมชาติไปสู่การอยู่กับธรรมชาติอย่างสอดคล้อง ก็จะเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตจากการผลิตเชิงเดี่ยวไปสู่ การผลิตแบบผสมผสาน ประ เด็นสำา คัญก็คือทำา ไมเ จ้าหน้าที่จึงขึ้นป้าย เศรษฐกิจพอเพียง และบอกชาวบ้านว่าโครงการพัฒนาลุ่ม นำ้าปากพนังมีเป้าหมายเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง แต่การ ปฏิบัติของ เจ้าหน้าที่ยังมุ่งไปสู่ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมแบบเข้มข้น และที่สำาคัญก็คือยังไม่มีพื้นที่ ให้กับชาวบ้านที่ต้องการดำาเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงเลยแม้แต่น้อย ที่ผม กล่าวเช่นนี้เพราะ ถ้าเราเข้าใจแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงก็ จะพบว่า เศรษฐกิจพอเพียง สำาหรับพื้นที่ที่แห้งแล้ง ขาดความอุดมสมบูรณ์ก็จะสามารถ ใช้เกษตรทฤษฎีใหม่ได้ แต่ ในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีระบบนิเวศที่หลาก หลายดังเช่นลุ่มนำ้าปากพนังนั้น ระบบเศรษฐกิจพอเพียงน่าจะเป็นการดำาเนินวิถีตามระบบ นิเวศนำ้ากร่อยที่มีความ สมบูรณ์อยู่แล้วโดยไม่ต้องไปเปลี่ยนระบบให้เป็นระบบ นิเวศใหม่ดังที่ทำากัน และที่ สำาคัญก็คือระบบนิเวศนำ้ากร่อยมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงที่สุด ในโลก ดังที่ Charles E 5
  • 6. Kupchella and Margaret C. Hyland ศึกษาพบว่า พื้นที่นำ้ากร่อยดังกล่าว เป็นพื้นที่ที่มี ความอุดมสมบูรณ์มาก ดังแสดงในภาพ 1 ที่แสดงถึง ผลผลิตของแต่ละพื้นที่ที่สามารถ ให้ผลผลิตต่อหนึ่งตารางเมตรโดยคิดเป็นพลังงานที่ให้ ออกมาในรูปของจำานวนแครอรี่ ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อมีการเปรียบเทียบการให้พลังงานของ พื้นที่ต่าง ๆ ตั้งแต่บริเวณ ทะเลทรายจนถึงปากแม่นำ้าและในมหาสมุทร พบว่า บริเวณ ปากแม่นำ้าซึ่งเป็นพื้นที่นำ้า กร่อยจะให้พลังงานมากที่สุดคือ ให้พลังงานเฉลี่ย 24,500 กิโลแครอรตี่่อพนื้ทหี่นงึ่ ตารางกิโลเมตรต่อปี รองลงมาก็คือ พื้นที่ป่าพรุให้พลังงาน เฉลี่ย 13,500 กิโลแครอรี่ต่อ พื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี พื้นที่นาข้าวให้พลังงาน เฉลี่ย 9,000 กิโลแครอรี่ต่อ พื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี และทุ่งหญ้าเขตร้อนให้ พลังงานเฉลี่ย 7,500 กิโลแครอรี่ ต่อพื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี ในขณะที่บริเวณทะเล ทรายจะให้พลังงานน้อยที่สุด คือ ให้พลังงานเฉลี่ยประมาณ 500 กิโลแครอรี่ต่อพื้นที่ หนึ่งตารางกิโลเมตรต่อปี (Kupchella & Hyland, 1993, p. 31) 6
  • 7. 7 ภาพ 1 ผลผลิตเริ่มต้น (กิโลแกลอรี่ต่อพื้นที่หนึ่งตารางเมตรต่อปี) ในพื้นที่ต่าง ๆ ของโลก ที่มา. จาก Environmental Science: Living Within the System of Nature (3rd. ed., p. 32).โดย C. E. Kupchella, & M. C. Hyland, 1993, Englewood Cliff, NJ: Prentice-Hall. ภาพ 1 ผลผลิตเริ่มต้น (กิโลแครอรี่ต่อพื้นที่หนึ่งตาราง เมตรต่อปี) ในพื้นที่ต่าง ๆ ของโลก จากที่กล่าวมาผมมิได้มีจุดประสงค์ที่จะชี้ว่าใครผิด ใครถูกแต่ต้องการชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาลุ่มนำ้าปากพนังนั้น หากทางราชการได้กรุณาให้ชาวบ้านที่มีความสนใจและ ศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังเข้ามามีส่วนร่วม โดยเจ้าหน้าที่รัฐ เป็นผู้ประสานมิใช่ไปคิดแทน เมื่อชาวบ้านทั้งผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียตกลงกันจนได้ข้อสรุปแล้ว เจ้าหน้าที่รัฐจึงค่อยใช้ เทคนิควิธีการทางด้านวิศวกรรมเข้าไปบริหารจัดการให้ เป็นไปตามความต้องการของชาวบ้านในแต่ละลุ่มนำ้าย่อย อย่างไรก็ตามข้อเสนอของผมก็คือ ระบบเศรษฐกิจ สองระบบในลุ่มนำ้าปากพนัง คือ ใครที่พร้อมจะทำา เศรษฐกิจแบบการผลิตเพื่อการค้าก็สามารถทำาได้แต่ต้อง ไม่ไปทำาให้ชาวบ้านที่ต้องการผลิตแบบผสมผสาน เช่น ทำา นาปี และสามารถหาสัตว์นำ้าตามคลองย่อยและแม่นำ้า ปากพนังได้รับความเดือดร้อนจนต้องย้ายถิ่นในที่สุด ผม คิดว่าเราควรทบทวนการบริหารจัดการประตูระบายนำ้า อุทกวิภาชประสิทธิเสียใหม่โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาบริ หารจัดการร่วมกับเจ้าหน้าที่ชลประทานด้วย แล้วสิ่งดีดีก็ จะเกิดขึ้นในลุ่มนำ้าปากพนัง สมกับที่พระองค์ท่านเปรียบ เทียบเอาไว้ว่า ประตูระบายนำ้าอุทกวิภาชประสิทธิเปรียบ
  • 8. เสมือนรถที่ท่านได้สร้างไว้ให้และคนที่จะขับรถคันนี้ได้ดีก็ คือชาวลุ่มนำ้าปากพนังนั่นเอง บรรณานุกรม กาญจนา แก้วเทพ. (2526). ลัทธิมาร์กของกรัมชี่. วารสารธรรมศาสตร์, 12(2), 111- 113. ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2543). วาทกรรมการพัฒนา: อำานาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็น อื่น. กรุงเทพมหานคร: สำานักพิมพ์วิภาษา. ดำารง โยธารักษ์. (2552). การเมืองว่าด้วยการจัดการ ทรัพยากรนำ้าลุ่มนำ้าปากพนัง. ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตร ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์). มหาวิทยาลัยรามคำาแหง. อมร โสภณวิเชษฐ์วงศ์. (2543). ตรรกวิทยาเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร: สำานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง. Kupchella, Charles E. and Hyland, Margaret C. (1993). Environmental Science: Living Within the System of Nature. Englewood Cliff, NJ: Prentice-Hall. 8