SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
ปิ ด ทองหลั ง พระ คื อ การเพี ย รทำความดี โดยไม่ มุ่ ง เน้ น ประโยชน์ ส่ ว นตน
                      7
                                       เสด็จชมนิทรรศการปิดทองหลังพระฯ
                                            พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นประธานทรงเปิดงาน
                                       “วันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2555” เกษตรสร้างสรรค์ : เศรษฐกิจยังยืน เมือวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 

                                                                                                   ่       ่
                                       ณ ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
                                            ในโอกาสนี้ ทรงเปิด “หอกษัตริย์เกษตร” และทอดพระเนตรนิทรรศการของหน่วยงานสืบสาน

                                       แนวพระราชดำริ เช่น “ห้องเงาวิเศษ” นิทรรศการของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ที่นำเสนอแนวทางการ
                                       บริหารจัดการน้ำตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ โดย
                                       เทคนิคการเล่นเงาให้ภาพการ์ตนเคลือนไหวสาธิตแนวพระราชดำริการบริหารจัดการน้ำพร้อมคำอธิบาย
                                                                  ู ่


ปิดทองหลังพระฯ ณ อุดรธานี
     อีกก้าวย่างแห่งการเรียนรู้
     โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี พื้นที่ขยายผลปิดทอง

หลังพระฯ เกิดขึ้นโดยมติคณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม

ปิดทองหลังพระฯ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2553 และเริ่มลงพื้นที่ทำความเข้าใจ
กับชาวบ้านในเดือนมกราคม 2554 
     แนวคิดการทำงานโครงการฯ ต้องการขยายต้นแบบการพัฒนาในรูปแบบใหม่
คือ ทำเล็ก ประหยัด เกิดการขยายผลเร็วในวงกว้างและได้ประโยชน์สูงสุด โดย
สถาบันฯ ทำหน้าที่ประสานงานให้เกิดการบูรณาการองค์ความรู้ด้านการบริหาร
จัดการระบบน้ำ และกระบวนการ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง
ในพระบรมราชูปถัมภ์ องค์ความรู้ด้านการเกษตรและปศุสัตว์ ของโครงการ
ฟาร์มตัวอย่าง ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ การสนับสนุนงบ
ประมาณจากจังหวัดอุดรธานี และการร่วมขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่องจาก
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี 
     ก่ อ นปิ ด ทองหลั ง พระฯ จะเข้ า มาในพื้ น ที่ ชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ าก

อ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ มีอยู่ 2 หมู่บ้าน คือหมู่ 11  บ้านโคกล่าม และหมู่ 3 

บ้านแสงอร่าม มีพื้นที่การเกษตรท้ายอ่างด้านขวา ได้รับน้ำจากอ่างฯ 800 ไร่
ผูรบประโยชน์ 283 ครัวเรือน 1,334 คน และผลผลิตข้าวเฉลียอยูที่ 35-45 ถังต่อไร่
  ้ั                                                       ่ ่
     เนืองจากอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ ไม่มระบบส่งน้ำ จึงต้องให้นำจากอ่างไหล
        ่                                ี                                ้
ล้นผ่านดาดคอนกรีตลงสูลำน้ำธรรมชาติ คือ ห้วยคล้าย ห้วยเชียงลี 
 อ่านต่อหน้า 2
                         ่
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                                  รายงาน
แล้วไหลลงห้วยหลวง ซ้ำลำห้วยยังอยูตำกว่าแปลงนา ชาวบ้านจึงต้อง
                                            ่ ่
นำน้ำเข้านาโดยขุดคลองขนาดเล็ก และทำฝายยกระดับน้ำให้สูงขึ้น
ไหลเข้ า นาตั ว เองหรื อ สู บ น้ ำ ขึ้ น มาใช้ ซึ่ ง เมื่ อ เข้ า หน้ า แล้ ง ก็ จ ะไม่
สามารถใช้วิธีการดังกล่าวได้  
      จากการสำรวจข้ อ มู ล ของโครงการ เมื่ อ เดื อ นมี น าคม 2554

บ้านแสงอร่าม มีพื้นที่ 8,602 ไร่ เป็นพื้นที่ทำกิน 1,843 ไร่  ส่วนใหญ่
เป็ น นาข้ า ว ไร่ มั น สำปะหลั ง และสวนยาง  มี ป ระชากร 476 คน

96 ครัวเรือน ร้อยละ 56 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 38
รับจ้าง ที่เหลือค้าขาย รับราชการ และอื่น ๆ รายได้รวมของประชากร
9,667,420 บาท/ปี เฉลี่ยหลังคาเรือนละ 100,702 บาท/ปี มีหนี้สิน
รวม 6,222,600 บาท ส่วนใหญ่ร้อยละ 55 เป็นหนี้ธนาคาร 
      บ้านโคกล่าม มีพื้นที่ประมาณ 4,730 ไร่ เป็นพื้นที่การเกษตร
1,030 ไร่  ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นนาข้าว ไร่มันสำปะหลัง และสวนยาง  มี
ประชากร 484 คน 100 ครัวเรือน  ร้อยละ 60 ของประชากรประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม รองลงมา ประกอบอาชีพรับจ้างร้อยละ 32 ที่เหลือ
ค้ า ขาย รั บ ราชการและอื่ น ๆ  รายได้ ร วมของประชากรทั้ ง หมด 
7,698,815 บาท/ปี เฉลี่ยหลังคาเรือนละ 76,988 บาท/ปี มีหนี้สินรวม
11,211,940 บาท  เป็นหนี้ธนาคารมากที่สุด ร้อยละ 61 




                                                   เจ้าของ		 :	 มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ 
                                                   			 สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เลขที่ 1 ถนนนครปฐม เขตดุสต กรุงเทพมหานคร 10300 
                                                                                                                                       ิ
  www.pidthong.org
                                		 :	 สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ 
  
                                                			 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 26 เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 
  www.twitter.com/pidthong                         			 โทรศัพท์ 0-2611-5000 โทรสาร 0-2658-1413 
                                                   ที่ปรึกษา		 :	 หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล นายการัณย์ ศุภกิจวิเลขการ นายพิพัฒน์ เลิศกิตติสุข 
  www.facebook.com/pidthong                        บรรณาธิการ	 :	 นายธนัยนันท์ ธนันท์ปพัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายสุชาติ ถนอม
                                                   ผู้จัดทำ		 :	 บริษัท แอร์บอร์น พรินต์ จำกัด 1519/21 ซอยลาดพร้าว 41/1 ถนนลาดพร้าว แขวงสามเสนนอก
2 www.youtube.com/pidthongchannel                  			 เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 
                                                   			 โทรศัพท์ 0-2939-9700 โทรสาร 0-2512-2208 E-mail : roso215@yahoo.com
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                               รายงาน
       การระดมสมองเพื่อระบุปัญหาของชุมชน และจัดลำดับความ                              การจ่ายน้ำเป็นแบบก้างปลา ซ่อมแซมท่อด้านซ้าย ส่วนด้านขวา
สำคัญเร่งด่วนของปัญหา ชาวบ้านจากสองหมูบานระบุวา ปัญหาใหญ่่ ้        ่                 สร้ า ง Spill way และท่ อ ลอดถนน เพื่ อ ระบายน้ ำ ลงลำห้ ว ยเดิ ม

คือ เรื่องน้ำ รองลงมาเป็นปัญหาดิน เกษตร พลังงานทดแทน หนี้สิน                          ส่วนการซ่อมแซมปรับปรุงฝายห้วยคำเข มีการเสริมอาคารระบายน้ำ
และสุดท้ายเป็นปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม
                                               เสริมคันดิน วางท่อ 920 เมตร คู่กับลำเหมือง 200 เมตร เพิ่มพื้นที่

       จากหลักการดำเนินงานของปิดทองหลังพระฯ ทีชาวบ้านในพืนที่   ่             ้       รับน้ำได้ 637 ไร่  โดยชาวบ้านกว่า 200 คน ลงแรงขุดลอกแผ้วถาง
ต้ อ งมี ค วามพร้ อ มที่ จ ะลุ ก ขึ้ น มาทำงานด้ ว ยตนเอง ตามหลั ก การ
               ป่าอ้อ ในพื้นที่ 9 ไร่ ที่ถูกปล่อยทิ้งร้างขวางทางน้ำมากว่า 50 ปี 
ทรงงาน “ระเบิดจากข้างใน” และเชื่อมั่นศรัทธาแนวพระราชดำริ                                    ระหว่ า งปรั บ ปรุ ง ระบบส่ ง น้ ำ มี ก ารพั ฒ นาด้ า นการเกษตร

เน้นการทำงานแบบมีส่วนร่วม และแบบองค์รวม คือ มีแนวทาง
                                 คู่ขนานกันไป โดยคัดเลือกแปลงเกษตรของนายสุบรร สอดสี และ
แก้ไขปัญหาเชื่อมโยงทุกมิติครบวงจร ตั้งแต่การผลิตในระดับต้นน้ำ                         นายบุ ญ มาก สิ ง ห์ ค ำป้ อ ง ซึ่ ง มี ค วามขยั น ตั้ ง ใจจริ ง และเต็ ม ใจ

(การพัฒนาปัจจัยการผลิต) กลางน้ำ (การแปรรูป) ปลายน้ำ (การ                              ร่วมโครงการ มานำร่ อ งทำฟาร์ ม ตั ว อย่ า งเกษตรกร ตามแนวทาง
ตลาด) และวั ด ผลที่ “ชาวบ้ า นได้ อ ะไร” อย่างเป็นรูปธรรม เช่ น
                      โครงการฟาร์มตัวอย่าง ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
พื้ น ที่ รั บ น้ ำ ทางการเกษตรที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หลั ง มี ก ารบริ ห ารจั ด การน้ ำ
   เป็นตัวอย่างให้เกษตรกรรายอื่น ๆ เห็นผลสำเร็จของการดำเนินงาน 
ผลผลิตข้าวที่เพิ่มขึ้น  มีการปลูกพืชหลังนา เกษตรกรมีอาชีพเสริม
                             การพัฒนาด้านการเกษตร เริ่มจากปรับปรุงดิน ปลูกพืชก่อนนา 
มีหนี้สินลดลงและมีรายได้เพิ่มขึ้น เป็นต้น
                                            เช่ น โสน  ปอเทื อ ง  พริ ก เพื่ อ เพิ่ ม ปุ๋ ย ในดิ น และสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ





      ดังนั้น หลังจากจุดประกายให้ชาวบ้านมีความพร้อมและลงมือ                           ชาวบ้าน ทำนา และปลูกพืชหลังนา ทำเกษตรผสมผสาน ตามองค์
พัฒนาด้วยตัวเอง การพัฒนาก็เริ่มขึ้นในเดือนมีนาคม 2554 ด้วยการ                         ความรูของฟาร์มตัวอย่าง ประกอบด้วยการปลูกพืช 3 ชัน คือ พืชชันสูง
                                                                                              ้                                                 ้            ้
พัฒนาระบบส่งน้ำอ่างห้วยคล้ายฯ มีการเสริมตอม่อ ยกระดับน้ำที่                           พืชชั้นกลาง พืชค้าง และการปลูกพืชผักเศรษฐกิจ เลี้ยงหมูจินหัว
Spill way เพิ่มประสิทธิภาพการเก็บกักน้ำได้เพิ่มขึ้น 30,000 ลบ.ม.                      เป็ดอี้เหลียง และปลากินพืชในบ่อ เป็นต้น
จากเดิม 692,500 ลบ.ม. ทำระบบส่งน้ำด้วยท่อ โดยต่อแนวท่อ
                                     แปลงตัวอย่างในพื้นที่ 20 ไร่ ของนายบุญมาก  สิงห์คำป้อง จึงมี
จากวาล์วด้านขวา ระยะทาง 1,520 เมตร ส่งน้ำแบบก้างปลา เพื่อให้                          การปลู ก ฟั ก ทองในหลุ ม เดี ย วกั บ ข้ า วโพด ให้ ฟั ก ทองเลื้ อ ยพั น ต้ น

พื้นที่การเกษตรด้านขวาของอ่างฯ มีน้ำใช้ตลอดปี โดยไม่สูญเสียน้ำ                        ข้าวโพดโดยไม่ต้องปักหลัก เก็บเกี่ยวฟักทองได้ใน 45 วัน ช่วงนั้น

ซ่อมแซมปรับปรุงฝายเดิมที่ชำรุด 3 ฝาย ด้วยการสร้างอาคารระบาย                           ก็เด็ดยอดอ่อนมาเป็นอาหารหรือขายได้ ปลูกผักบุ้งจีน ทยอยปลูกทุก

น้ ำ ให้ มี ช่ อ งอั ด น้ ำ ที่ แ ข็ งแรง กักเก็บและควบคุมน้ำได้ เพื่ อ ผั น น้ ำ
    7 วัน เพื่อให้หมุนเวียนเก็บขายได้ทุกวัน ในเวลาเพียง 18 วัน เก็บขาย
สู่เหมืองหรือท่อส่งน้ำ และปรับปรุงพนังกั้นน้ำ เสริมคันดินด้านข้าง                     ได้ กก.ละ 10 บาท ทำให้นายบุญมากมีรายได้จากการขายผักเฉลี่ย
เพิ่มความสามารถในการเก็บกักน้ำ ป้องกันไม่ให้น้ำท่วมนา และ
                            วันละ 200-300 บาท โดยใช้เมล็ดพันธุ์ 2 กก. ปลูกผักบุ้งได้ 100 กก.
ยกระดับน้ำให้เข้าท่อหรือลำเหมือง
                                                     ปลูกตะไคร้และกล้วยริมขอบบ่อและขอบคันนา ปลูกแคประปราย
      สำหรั บ อ่ า งเก็ บ น้ ำ ห้ ว ยก้ า นเหลื อ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง โดยบดอั ด
     ปลูกถั่วลิสง เป็นพืชก่อนนาเพื่อปรับปรุงดิน เลี้ยงหมูจินหัว ซึ่งกินง่าย
ด้านหน้าคันดิน ป้องกันการรั่วซึม ส่วนด้านหลัง มีการปรับปรุงดิน                        อยู่ง่าย ลูกดก (15 ตัว/คอก) และเลี้ยงเป็ดพันธุ์บาบาลี  ซึ่งทนโรค

และฝังท่อลอดคันดินส่งน้ำไปยังลำห้วยเข เสริมพื้นที่ 673 ไร่ ระบบ                       เลี้ยงง่าย โตเร็ว 
                                                                                                                                                                     3
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                       รายงาน
      ส่วนแปลงเกษตร พื้นที่ 6 ไร่ของนายสุบรร สอดสี มีการขุดบ่อ                       สถานภาพของกองทุ น ต่ า ง ๆ ที่ ปิ ด ทองฯ ให้ ก ารสนั บ สนุ น

บนที่ดินตัวเอง เพราะคิดว่าจะได้ประโยชน์มากกว่าใช้ที่ดินทำนา                   ส่งเสริม เพื่อให้ชาวบ้านอยู่ได้อย่างยั่งยืนมั่นคงในอนาคต ปรากฏว่า
เพราะสามารถนำน้ำมารดผักและเลี้ยงปลาได้พร้อมกัน ซึ่งจะสร้าง                    กองทุนสุกร มีหมูพ่อพันธุ์ 4 ตัว และแม่พันธุ์ 91 ตัว ซึ่งทยอยออกลูก
รายได้ให้ประมาณ 2,000 บาทจากการขายผักและขายปลา แทนที่                         ตั้ ง แต่ ป ลายเดื อ นมี น าคมถึ ง ปั จ จุ บั น มี ลู ก หมู 383 ตั ว (ณ วั น ที
่
รายได้เพียงน้อยนิดจากการทำนา ใช้ขี้วัวผสมกับฟางมาใส่ในบ่อน้ำ
                 4 เมษายน 2555) ระเบียบกองทุน ต้องคืนลูกหมูให้กองทุนแม่ละ

เพื่อให้น้ำในบ่อใสขึ้น เลี้ยงเป็ดจากกองทุนเป็ด 6 ตัว แม่หมู 1 ตัว
            2 ตั ว และมี ข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ว่ า การฝากขายหมู กั บ กองทุ น ใน

ใส่ผักตบชวาในบ่อเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสีย และเป็นแหล่งอาหารให้หมู                 ราคา 1,500 บาท จะหักเข้ากองทุน 200 บาท ปัจจุบันกองทุนมีเงิน
ปลูกข้าวโพดควบคู่กับฟักทองในหลุมเดียวกัน 
                                    5,800 บาท นำมาสร้างคอกกลางสำหรับอนุบาลลูกหมู 
      การพัฒนาในช่วงเพียงหนึ่งปีเศษ ทำให้เกษตรกรตกกล้าและ                            กองทุ น พั น ธุ์ ข้ า ว เริ่ ม ดำเนิ น การเมื่ อ เดื อ นกั น ยายน 2554

ปลูกข้าวได้เต็มพื้นที่รับประโยชน์ 1,788 ไร่ ในเดือนพฤษภาคม 2554               ด้ ว ยเงิ น ทุ น 28,000 บาท ปั จ จุ บั น มี เ งิ น ทุ น หมุ น เวี ย นในกองทุ น
โดยไม่ต้องรอน้ำฝน และคาดการณ์ว่า ผลผลิตข้าวในพื้นที่โครงการ                   31,734 บาท มีเงินปันผลให้กับสมาชิก 8 คน เป็นเงิน 4,718.50 บาท 				
จะเพิ่มจาก 3,920,000 บาท เป็น 13,868,400 บาท หรือเพิ่มขึ้น
9,651,220 บาท เนื่ อ งจากมี น้ ำ ใช้ ใ นช่ ว งฝนทิ้ ง ช่ ว ง ทำให้ ข้ า ว

เมล็ดไม่ลีบ ปริมาณข้าวมากขึ้นจาก 350 กก./ไร่ เป็น 600 กก./ไร่
โดยรายได้ที่เพิ่มขึ้นยังไม่รวมรายได้จากพืชก่อนนาและพืชหลังนา 
      ในปัจจุบัน จากแปลงเกษตรนำร่อง 2 แปลง มีการขยายผลเป็น
152 ครัวเรือน จากครัวเรือนทั้ง 2 หมู่บ้าน 196 ครัวเรือน ทำให้
เกษตรกรมีอาหารกิน ประหยัดค่าใช้จ่ายเฉลี่ยครัวเรือนละ 20 บาท
ต่อวัน มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการปลูกพืชก่อนนาเฉลี่ยเดือนละ 500
บาทต่อแปลงต่อเดือน เกษตรกรขายลูกสุกรไปแล้ว 70 ตัว คิดเป็น
เงิน 96,400 บาท 


                                                               เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขยายผล 
                                                                     เมื่ อ โครงการบริ ห ารจั ด การน้ ำ อย่ า งยั่ ง ยื น อ่ า งเก็ บ น้ ำ ห้ ว ยคล้ า ยอั น เนื่ อ ง

                                                               มาจากพระราชดำริ สร้างการเปลี่ยนแปลงที่เป็นรูปธรรมได้ภายในเวลา 1 ปี จาก
                                                               การถ่ายทอดองค์ความรูตามแนวพระราชดำริ ทำให้บริหารจัดการน้ำอ่างห้วยคล้ายฯ
                                                                                        ้
                                                               ได้เต็มประสิทธิภาพ เกษตรกรมีรายได้เสริมจากการปลูกพืชก่อนนาและหลังนา
                                                                     จังหวัดอุดรธานี องค์การบริหารจังหวัดอุดรธานี มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิ

                                                               แม่ ฟ้ า หลวงในพระบรมราชู ป ภั ม ภ์ ฟาร์ ม ตั ว อย่ า งในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
                                                               พระบรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุ ด รธานี และมู ล นิ ธิ ปิ ด ทองหลั ง พระ

                                                               สื บ สานแนวพระราชดำริ จึ ง ร่ ว มกั น จั ด มหกรรม “เวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ 
                     
                                                               เพื่อขยายผลการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ” ใน

                                                               วันที่ 11-13 กรกฎาคม 2555 ที่บริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ แปลงเกษตรกร
                                                               ตัวอย่าง วัดป่าเลไลย์ และห้องประชุมในจังหวัดอุดรธานี 
                                                                     เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ จัดขึ้นเพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานของโครงการ
                                                               และกระบวนการทำงาน ซึ่งเป็นที่มาของความสำเร็จ รวมทั้งประสบการณ์ความรู้
                                                               จากการปฏิ บั ติ จ ริ ง ของชาวบ้ า นในพื้ น ที่ และครู ภู มิ ปั ญ ญาจากพื้ น ที่ อื่ น เพื่ อ
                                                               ประโยชน์ในการต่อยอดการพัฒนา โดยคาดหวังผลว่า จะทำให้ผู้ร่วมเรียนรู้เกิด

4
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                        รายงาน
                                                                                      กองทุ น แม่ บ้ า น ทำอาหารสำหรั บ คณะที่ ม าศึ ก ษาดู ง านใน

                                                                              พื้นที่ โดยคิดค่าใช้จ่ายคนละ 200 บาท (150 บาท สำหรับโรงเรียน

                                                                              ในสังกัด อบจ.) เริ่มดำเนินการเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2554 ปรากฏ
                                                                              ว่ า มี ค ณะศึ ก ษาดู ง านแล้ ว 42 คณะ 7,523 คน ทำให้ มี ร ายได้

                                                                              ถึ ง 1,1250,000 บาท หั ก ค่ า บริ ห ารจั ด การกองทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยใน

                                                                              การประกอบอาหาร ค่าแรงงาน อุปกรณ์ประกอบอาหารแล้ว คงเหลือ
                                                                              เงินในกองทุน 340,564 บาท 
                                                                                      นอกจากนี้ ชาวบ้ า นยั ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะผลิ ต ปุ๋ ย ขึ้ น เอง จึ ง มี

                                                                              การศึกษาดูงานวิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ที่กลุ่มปุ๋ยหมักอินทรีย์
      กองทุนปุ๋ย จากเงินทุนเริ่มต้น 72,900 บาท มีเงินปันผลให้กับ              ชีวภาพ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา เริ่มนำร่องให้ชาวบ้านเห็นประโยชน์
สมาชิก 4 คน เป็นเงิน 38,000.50 บาท กองทุนเป็ด จากเป็ดเทศ
                     ด้วยเงินกองทุน 92,000 บาท ซื้อปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ (อัดเม็ด)
70 ตัว ให้เกษตรกร 20 ครัวเรือน ปัจจุบันมีลูกเป็ดพร้อมคืนกองทุน                200 กระสอบ และจะเริ่ ม ผลิ ต ใช้ เ องในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2555

66 ตัว กองทุนเมล็ดพันธุ์ผัก มีเงินสนับสนุนกองทุน 60,360 บาท                   ในช่วงเดียวกัน ยังจะมีการจัดตั้งโรงสีข้าวชุมชน จากการนำเงินศึกษา
ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 11,300 บาท และยังไม่ถึงระยะเวลาคืน                 ดูงาน 200,000 บาท ซื้อที่ดิน 1 ไร่ 2 งาน เตรียมเป็นที่ตั้งโรงสีข้าว
กองทุน
                                                                       ชุมชนและโรงเรือนผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้แล้ว
      กองทุนการตลาด มีการนำผลผลิตไปจำหน่ายที่ตลาดโพศรี                                ปั จ จุ บั น โครงการบริ ห ารจั ด การน้ ำ อย่ า งยั่ ง ยื น อ่ า งเก็ บ น้ ำ

ทุกวันอังคารและวันศุกร์ เพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ปัจจุบัน
               ห้วยคล้ายฯ จึงเป็นห้องเรียนปฏิบัติการทางสังคม (Social LAB)

มีเงินทุนหมุนเวียนในกองทุน 2,090 บาท กองทุนยาและเวชภัณฑ์                      ในการปรั บ กระบวนทั ศ น์ ทุ ก ภาคส่ ว น ตั้ ง แต่ ก ระบวนการสร้ า ง

จากการสนับสนุนของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ และสถาบันส่งเสริม                      ความเข้าใจ เข้าถึง และการพัฒนา คือ ชาวบ้านในพืนทีมความเข้าใจ     ้ ่ ี
และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ในรูปแบบของยาและเวชภัณฑ์                        ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น จริ ง ของหมู่ บ้ า น รู้ ปั ญ หา ความต้ อ งการชุ ม ชนทุ ก มิ ต
ิ
คิดเป็นมูลค่า 16,500 บาท
                                                     มีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ และเป็นเจ้าของในทุกกิจกรรมการพัฒนา




ความเชื่อมั่นในแนวทางจัดการปัญหาของตนได้แบบพึ่งพาตนเอง
                            ทังนี้ ประเด็นการนำเสนอให้เหมาะสมกับแต่ละกลุมเป้าหมาย
                                                                                     ้                                            ่
ใช้ ค วามรู้ เ ป็ น ฐาน และมี ก ารจั ด การร่ ว มกั น ของทุ ก ฝ่ า ย มี ก าร   เช่น สำหรับชาวจังหวัดอุดรธานี จะเป็นเรื่องราวของโครงการฯ
เปลี่ยนแปลงความคิดและแนวทางการทำงานที่ยึดชาวบ้านเป็นหลัก                      การจัดการน้ำ ดิน เกษตร การจัดการกองทุนต่าง ๆ ผลที่เกิดขึ้น
และเกิดแรงจูงใจในการนำไปประยุกต์ใช้ต่อ
                                       วงจรการผลิตการขายในระดับครัวเรือน และระดับกลุ่ม ครูภูมิ
      นอกจากนี้ ยังมีเป้าหมายที่จะขยายแนวคิดและแนวทางการ                      ปัญญาในภาคอีสาน จะเสนอความเห็นต่อกิจกรรมในพื้นที่ และ
ทำงานแบบปิดทองหลังพระฯ ที่ใช้แหล่งน้ำเป็นจุดเริ่มต้นของการ                    ให้คำแนะนำ คณะทำงานในจังหวัดขยายผล จะได้อะไร และจะ
พัฒนาไปยังทุกจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอื่น 
                   กลับไปทำอะไร ส่วนสถาบันอุดมศึกษา และนักวิชาการ จะเสนอ
      รูปแบบงาน ประกอบด้วย การจัดเวทีเสวนา การแลกเปลียนเรียนรู้   ่           โจทย์วิจัยสำหรับนำไปทำงานต่อ หน่วยงานระหว่างประเทศที่
กับ อบจ.อุดรธานี และการจัดกลุ่มฐานการเรียนรู้กับครูภูมิปัญญา                  ทำงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ อุปทูต UNDP UNEP
การเยี่ยมชมพื้นที่จริง และพูดคุยกับชาวบ้านในพื้นที่โครงการ การจัด             ADB WB เป็นต้น จะมองเปรียบเทียบกับประสบการณ์ที่เคยทำ
นิทรรศการความรู้บริเวณศูนย์เรียนรู้และแปลงต้นแบบ การแสดง                      และในแง่ น โยบายขององค์ ก รที่ ส นั บ สนุ น งานพั ฒ นา รวมทั้ ง
มหรสพและงานวัฒนธรรมท้องถิ่น
                                                  นโยบายรัฐไทยควรมีปรับปรุงอย่างไร 

                                                                                                                                                                5
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                        รายงานพิเศษ



60 ปี การทรงงานพัฒนาชนบท
เส้นทางที่ทอดไกล จากจุดเริ่มต้น ณ “ถนนห้วยมงคล” 




      “...ที่ ข้ า งในหนองพลั บ แต่ ก่ อ นนี้ เ ข้ า ไม่ ไ ด้
   โดยรอบพระราชวังไกลกังวล แม้ว่าเส้นทางเสด็จพระราชดำเนินนั้น
                                                                 จะเป็นทางเกวียนขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ กว่าจะผ่านไปได้แสนยาก
แค่ครึ่งทางไปหนองพลับก็ไม่ได้...ปี 2495 หรือ 96

                                                                 ต้ อ งใช้ เ วลานานก็ ต าม จนเมื่ อ รถพระที่ นั่ ง เดิ น ทางผ่ า นหมู่ บ้ า น

เพิ่งได้รถบลูโดเซอร์ แล้วเอารถไปให้ค่ายนเรศวร                    ห้ ว ยคต ต.หิ น เหล็ ก ไฟ อ.หั ว หิ น ก็ ต กหล่ ม ลึ ก ชาวบ้ า นหลายคน

ให้ ส ร้ า งถนน ให้ ไ ถถนนเข้ า ไปถึ ง ห้ ว ยมงคล ซึ่ ง          เข้าช่วยเหลือทหารและตำรวจจนยกรถพระที่นั่งขึ้นจากหล่มได้
                                                                       เหตุการณ์นี้ คือ จุดเริมต้นการทรงงานพัฒนาชนบทเพือประชาชน
                                                                                                 ่                                  ่
เดี๋ ย วนี้ ห้ ว ยมงคล 20 นาที ก็ ถึ ง ตอนนั้ น เข้ า ไป

                                                                 ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เมือรับสังถามถึงปัญหาของหมูบาน
                                                                                                      ่ ั ่      ่                         ่ ้
ตั้งแต่ 8-9 โมงเช้า เข้าไปถึงร่วมบ่ายโมง ไปรถจี๊ป                และทรงทราบว่า สิ่งที่ชาวบ้านห้วยคตต้องการมากที่สุด คือ “ถนน”
เข็นเข้าไป ลากเข้าไป...”
                                        เพื่อขนพืชผลการเกษตรไปขายได้โดยเร็ว ไม่ต้องแบกหาม ใส่รถเข็น
      พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงเล่าพระราชทาน
                                           ่ ั                   ไปตามทางเดินเท้า 2 วัน 2 คืน กว่าจะถึง พืชผลก็เน่าเสีย หรือไม่

ผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ
           เช่ น นั้ น ก็ ต้ อ งเช่ า เหมารถจี๊ ป ในราคาสู ง ไม่ คุ้ ม กั บ ราคาพื ช ผลที่

อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) ทำให้เห็นภาพความยากลำบาก         นำออกมาขาย 
ในการเดินทางของประชาชนในชนบทห่างไกล ทั้งที่เส้นทางที่รับสั่ง           ต่ อ มาไม่ น าน ถนนจากบ้ า นห้ ว ยคตสู่ ต ลาดหั ว หิ น ซึ่ ง ได้ รั บ
ถึงนั้น อยู่ห่างจากตลาดหัวหินเพียง 20 กิโลเมตรเท่านั้น 
         พระราชทานชื่อในภายหลังว่า ถนนห้วยมงคลก็เกิดขึ้น เป็นโครงการ
      เดื อ นพฤษภาคม 2495 เมื่ อ 60 ปี ม าแล้ ว พระบาทสมเด็ จ    พัฒนาชนบทอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการแรก ซึ่งขยายผล
พระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินออกเยี่ยมเยียนประชาชนในพื้นที่   ต่อเนื่องเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเพื่อพัฒนาชนบท

6
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                    รายงานพิเศษ
ทั่วประเทศ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาทรัพยากรน้ำ ดิน
                          เกือบทั้งหมดของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มุ่งเน้น
ป่าไม้ การเกษตร พลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม อาชีพ การศึกษา                       แก้ไขปัญหาชนบท โดยเฉพาะชนบทที่ยากจน อยู่ห่างไกล ทุรกันดาร
สาธารณสุข เทคโนโลยี และการคมนาคม ฯลฯ อีกกว่า 4,000 โครงการ
                   หรือพื้นที่ซึ่งกระบวนการพัฒนาของรัฐยังเข้าไปไม่ถึง และไม่ได้มุ่ง

       พระราชปณิธานอันแน่วแน่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต นำความ                     ที่เป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่งอย่างเดียว แต่จะต้องบรรลุวัตถุประสงค์
ร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข สู่ อ าณาประชาราษฎร์ ใ นชนบท แสดงชั ด เจนใน             ทั้งการเพิ่มผลิตผล เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร ขจัดความยากจน
พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะผู้บริหารสำนักงานเร่งรัด                       เสริมสร้างการพึ่งตนเองของชุมชน เป็นต้น เมื่อมีหลายเป้าหมาย

พัฒนาชนบท ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 13                 การพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้า
มิถุนายน พุทธศักราช 2512 ความตอนหนึ่งว่า
                                     อยู่ หั ว จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ นั ก วิ ช าการและหน่ ว ยราชการทุ ก สาขา ต้ อ ง

       “…การที่นำความเจริญ การพัฒนาไปสู่ชนบท หมายถึงไปสู่                     ร่วมมือกับประชาชน ซึ่งเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมากที่สุด 
ประชาชนในชนบทนั้ น มี เ หตุ ผ ลหลายประการ เหตุ ผ ลใหญ่ ที่ สุ ด
                      นอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาค้ น คว้ า ทดลอง และวิ จั ย
ข้ อ แรกก็ คื อ มนุ ษ ยธรรม ความเมตตาต่ อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ที่ อ ยู่ ร่ ว ม   แสวงหาแนวทางการพัฒนาที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสังคมไทย
ประเทศกั บ เรา…เหตุ ผ ลที่สองที่จะต้องพัฒนาชนบทนั้น คื อ เพื่ อ
              เพื่ อ ประยุก ต์ ใ ช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หา และเผยแพร่ แ ก่ ประชาชนใน
เพิ่มความปลอดภัยของบ้านเมือง เพื่อความก้าวหน้านอกเหนือจาก                     ชนบท ทั้งนี้ การศึกษาเพื่อการพัฒนาชนบทยังครอบคลุมทุกเรื่อง

มนุษยธรรม…” 
                                                                 ที่ มี ค วามสำคั ญ ต่ อ ปั จ จั ย การผลิ ต เช่ น น้ ำ ดิ น ความรู้ ใ นเรื่ อ ง

       ทั้งยังรับสั่งถึงความสำคัญของการพัฒนาชนบทด้วยว่า 
                     การเพาะปลู ก และเลี้ ย งสั ต ว์ ทุ น และการตลาด สภาพแวดล้ อ ม 
       “...การพัฒนาชนบท เป็นงานที่สำคัญ เป็นงานที่ยาก เป็นงานที่              ความเป็นอยู่ของประชาชน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิธีการ
จะต้องทำให้ได้ด้วยความสามารถ ด้วยความเฉลียวฉลาด คือ ทั้ง                      ดำรงชีวิตของประชาชนในแต่ละท้องถิ่น 
เฉลียวทั้งฉลาด ต้องทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ มิใช่มุ่งที่จะหากินด้วย                      แนวทางการพัฒนาชนบทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

วิธีการใด ๆ ใครอยากหากินขอให้ลาออกจากตำแหน่งไปทำการค้า
                       ดังที่กล่าวมานี้ คือ แนวทางที่มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มุ่งมั่นสืบสาน
ดีกว่า เพราะว่าถ้าทำผิดพลาดไปแล้ว บ้านเมืองเราล่มจม และเมื่อ                  แนวพระราชดำริ เพื่อความเจริญสถาพรของประเทศอย่างยั่งยืน

บ้านเมืองของเราล่มจมแล้ว เราอยูไม่ได้ ก็เท่ากับเสียหมดทุกอย่าง...”
                                      ่                                       ต่อไป
       ตลอด 60 ปี อั น ยาวนาน บนเส้ น ทางการพั ฒ นาชนบทอั น
                          
ยาวไกล หลั ก การสำคั ญ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว คื อ

การพัฒนาที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้ราษฎรสามารถพึ่งตนเองได้
และพัฒนาโดยมี “หลั ก วิ ช าการหรื อ ความรู้ ” เป็นปัจจัยสำคัญ

มีการนำความรู้และเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ เข้าไปให้ถึงมือ
ชาวชนบทอย่ า งเป็ น ระบบและต่ อ เนื่ อ ง และมี ตั ว อย่ า งของความ
สำเร็จให้ชาวบ้านได้เห็นและนำไปปฏิบัติได้เอง 




                                                                                                                                                           7
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                         รายงานพิเศษ




    60 ปี ทรงพัฒนาชนบท เพื่อประชาชน
         พฤษภาคม 2555 ถนนห้วยมงคล โครงการพระราชดำริด้านการพัฒนาชนบทโครงการแรก จะมีวาระครบ 60 ปี มูลนิธิปิดทอง

    หลังพระฯ จึงร่วมกับชมรมสื่อบ้านนอก นำสื่อมวลชนและภาคเอกชน เยี่ยมชมโครงการพระราชดำริที่มีความหมายในเชิงสัญลักษณ์

    และโครงการพระราชดำริอื่น ๆ ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ ที่ครอบคลุมองค์ความรู้ทั้ง 6 มิติที่ปิดทองหลังพระฯ นำมา
    ถ่ายทอดเพื่อแก้ไขปัญหาของประชาชน ได้แก่ น้ำ ดิน ป่า เกษตร สิ่งแวดล้อม และพลังงาน 
         จุดเยี่ยมชม ประกอบด้วย ถนนห้วยมงคล (โครงการพัฒนาชนบทโครงการแรก) อ่างเก็บน้ำเขาเต่า (โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ

    โครงการแรก) โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ (โครงการล่าสุดที่พระราชทานแม้ในช่วงทรงพระประชวร) โครงการวิจัยและพัฒนา

    สิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยฯ โครงการผลิตไบโอดีเซลในพื้นที่ปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่อง

    มาจากพระราชดำริ สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี และโครงการอัมพวาชัยพัฒนานุรักษ์ โดยมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ
    มูลนิธิชัยพัฒนา และ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เป็นวิทยากร

8
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                          รายงานพิเศษ




    ณ ถนนห้ ว ยมงคล ดร.สุ เ มธ กล่ า วถึ ง การทรงงานพั ฒ นาชนบทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ตลอด 60 ปี ที่ ผ่ า นมาว่ า

เป็นการทรงงานด้วยพละกำลังใจอย่างแท้จริง ปรารถนาจะทรงงานเพียงประการเดียว ทั้งที่ไม่มีอะไรบังคับให้ทรงต้องทำ และไม่เคย

ทรงหยุดงานเลยแม้แต่วันเดียว
    “แรงบันดาลพระทัย อาจเกิดจากที่ทรงเคยรับสั่งว่า “...ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะละทิ้งอย่างไรได้...” แล้วก็ทรงทำ

จนกระทั่งเป็นธรรมะหรือธรรมชาติของพระองค์ท่านแล้ว คือ ต้องทำงาน เพราะถือว่าหน้าที่การเป็นพระมหากษัตริย์นั้นเป็น 24 ชม.

พระราชดำรัสทุกครั้งสรุปได้ว่า เป็นหน้าที่เป็นความรับผิดชอบ เป็นสิ่งที่จะต้องพึงกระทำ บนฐานความรักความเมตตาที่พระองค์ท่าน

ถูกสอนมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์” 
    
                                                                                                                                          9
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ




                                                           ปลดล็อก
                                                 สัมภาษณ์พิเศษ




 พัฒนา “ชนบท”



                                                                 ชมรมสื่อบ้านนอก ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
                                                            พระราชดำริ จัดการเสวนา พัฒนา “ชนบท” ปลดล็อกประเทศ เพื่อ
                                                            ให้ทุกภาคส่วนในสังคม ตระหนักถึงสภาพปัญหาที่แท้จริงของชนบท
                                                            และความเหลื่อมล้ำระหว่างเมืองกับชนบทที่ส่งผลกระทบถึงประเทศ
                                                            ชาติ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบต่อไป
                                                                  การเสวนา เริ่ ม ด้ ว ยปาฐกถาพิ เ ศษ “ชนบทในมุ ม มองของ
                                                            ข้าพเจ้า” โดย ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย ประธานมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
                                                            ซึ่งให้ความสำคัญในประเด็น การสร้างคุณภาพชีวิตในบ้านนอกให้
                                                            เท่ากับเมือง เพื่อที่คนชนบทจะได้ไม่ต้องย้ายเข้ามาในเมืองและอยู่
                                                            บ้านนอกด้วยความสุขได้ และการศึกษาจะเป็นฐานของการพัฒนา

                                                            ทุ ก อย่ า ง ดั ง ที่ ส มเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี แ ละสมเด็ จ

                                                            พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงออกแบบระบบการ
                                                            ศึ ก ษาที่ เ รี ย บง่ า ยแต่ ไ ด้ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด และทรงพระราชทานทุ น

                                                            การศึกษาให้กับเด็กในชนบททั่วประเทศ ผู้สูงอายุก็มีส่วนทำให้ชุมชน
                                                            ชนบทเข้มแข็งได้
                                                                  “ในเมืองไทย รอบตัวเราล้วนมีแต่สิ่งดีงาม ที่จะสามารถเผื่อแผ่กัน
                                                            ได้ ทั้งในเมืองทั้งในชนบท เพียงแต่ว่าเรามองเห็นคุณค่าหรือไม่ คุณค่า
                                                            ของคนแก่ คุณค่าของคนหนุ่มคนสาวในหมู่บ้าน และเอาระบบการ
                                                            ศึกษาไปให้ถึงหมู่บ้านเลย ถ้ารัฐไม่ทำ อบจ. อบต. เทศบาลนั่นแหละ
                                                            ควรทำ ระบบการศึกษาและการฝึกอาชีพต้องเริ่มต้นที่ชนบท และ
                                                            ทำให้เข้มแข็ง ต่อยอดได้” 


10
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ




กประเทศ
                                                                สัมภาษณ์พิเศษ

                                                                              นายธี ร ศั ก ดิ์ พานิ ช วิ ท ย์ เลขาธิ ก ารสมาคมองค์ ก ารบริ ห าร

                                                                       ส่ ว นตำบลแห่ ง ประเทศไทย กล่ า วถึ ง บทบาทขององค์กรปกครอง

                                                                       ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นาชนบทว่ า ทุ ก วั น นี้ ชนบทกลายเป็ น

                                                                       เครื่ อ งมื อ ทางการเมื อ ง และโชคไม่ ดี ที่ ป ระเทศไทยมี ก ารเมื อ ง

                                                                       ที่ไม่สมบูรณ์แบบ ไม่ได้เป็นการเมืองเพื่อพลเมือง แต่เป็นการเมือง

                                                                       เพือกลุมคนหรือกลุมก้อน จุดอ่อนของการพัฒนาชนบทอยูทนโยบายรัฐ
                                                                           ่ ่                     ่                                        ่ ี่
                                                                       ถ้ า จะปลดล็ อ กประเทศ รั ฐ ต้ อ งเลิ ก คิ ด แทนคนชนบท ต้ อ งถาม

                                                                       ชาวบ้านว่าต้องการอะไร ไม่ใช่คดเองทำเอง และต้องใส่องค์ความรูให้
                                                                                                                    ิ                                ้
                                                                       ที่ผ่านมา ไม่เคยมีใครจัดการองค์ความรู้เหล่านี้ สังคมชนบทจึงเป็น
                                                                       สังคมแห่งการพึ่งพาอย่างเดียวมาตลอด รอเป็นผู้รับ จึงไม่แปลกที่
                                                                       ชนบทจะพัฒนายาก เพราะรัฐพยายามหยิบยื่นมากเกินไป 
                                                                              นายนิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กล่าวว่า
                                                                       วันนี้มีนโยบายประชานิยมมากมาย แต่กรมการพัฒนาชุมชน ยัง
                                                                       ต้ อ งการให้ ชุ ม ชนสามารถคิ ด ด้ ว ยตนเองและช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้

                                                                       แบบค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งเป็นเหมือนทางสองแพร่งที่ทำให้การพัฒนา
                                                                       ยั ง ไม่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น รู ป ธรรมที่ ชั ด เจน อย่ า งไรก็ ต าม ตนมองว่ า การ
                                                                       น้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ทำให้คนในหมู่บ้าน
      ต่ อ จากการบรรยายทางวิชาการ เรื่อง “ความสุ ข ชนบท : วั ด ได้     ไม่ต้องออกไปดิ้นรนต่างถิ่น มีความสุขกับเศรษฐกิจที่พอเลี้ยงปาก
อย่างไร” โดย ดร.สุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ จากมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นการ      เลี้ยงท้องได้ ถ้าหมู่บ้านทั่วประเทศ เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
เสวนา พัฒนา “ชนบท” ปลดล็อกประเทศ โดยผู้เข้าร่วมเสวนา 4 คน คือ
         เป็นหมู่บ้านที่อยู่เย็นเป็นสุข ประเทศไทยก็ปลดล็อกได้
       นายเอกลักษณ์ หลุ่มชุมแข กรรมการมูลนิธิกระจกเงา กล่าวถึงปัญหา           นายเสวต จันทร์หอม ผู้ใหญ่บ้านบ้านแสงอร่าม ต.กุดหมากไฟ
อุปสรรค โอกาสในการพัฒนาชนบทว่า คนที่จะแก้ปัญหาชนบทต้องเรียนรู้         อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี บอกเล่าถึงประสบการณ์และทางรอดของ
จากคนในพื้นที่ให้มากที่สุด ทั้งวัฒนธรรม การเมืองและความเป็นท้องถิ่น    ชาวชนบทว่า การพัฒนาชนบทไม่ใช่พัฒนาสู่การเป็นเมือง มีตึกราม
และต้องมองการเปลี่ยนแปลงที่เคลื่อนไปตามระบบทุนด้วย เพราะทุนเป็น        บ้านช่องใหญ่โต แต่หมายถึงการพัฒนาปากท้องชาวชนบท เปลี่ยน
สิ่งสำคัญในการพัฒนาชนบท ปัญหาอยู่ที่การขาดแคลนทุนหรือเงิน ทำให้        จากการหยิบยื่นความหรูหราเข้าไปให้ เป็นการหาแนวทางให้ชาว
ชาวบ้ า นต้ อ งลดคุ ณ ค่ า ความเป็ น ชนบทของตนเอง ด้ ว ยการเอาความ
    บ้านรักถิ่นฐานบ้านเกิด ราชการต้องมีส่วนร่วมให้กำลังใจและดูแล
น่ า สงสารเข้ า มาหาทุ น จากสั งคมเมืองหลวง มากกว่าใช้ความสามารถ
      ชนบท สำรวจ เก็บข้อมูล สอบถามความต้องการที่แท้จริงของชาว
ที่ตนมี การปลดล็อกชนบท จึงต้องแก้เรื่องเศรษฐกิจให้ได้ก่อน 
            ชนบท แล้วช่วยเหลือตามความต้องการนั้น ไม่ใช่ยัดเยียดให้ 




      เอกลักษณ์ หลุ่มชุมแข
             ธีรศักดิ์ พานิชวิทย์
             นิสิต จันทร์สมวงศ์ 
                       เสวต จันทร์หอม

                                                                                                                                                    11
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                        บทความ



      ชุมชน
         ตัวอยาง                    แม่บ้านหุบกะพง สร้างอา




     ในวันนี้ แม่บ้านในสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง อำเภอชะอำ
จังหวัดเพชรบุรี ที่รวมตัวกันจัดตั้งเป็น “กลุ่มสตรีผลิตภัณฑ์ของใช้
ในครั ว เรื อ น” มี ร ายได้ ง ดงามเลี้ ย งตนเองจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องใช้

ในครัวเรือนผสมสมุนไพรต่าง ๆ ทีได้รบการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
                                       ่ ั
ชุมชน หรือ มผช. เป็นต้นว่า ครีมอาบน้ำ แชมพู ครีมนวดผม โลชั่น
บำรุงผิว สบู่ น้ำยาล้างจาน น้ำยาซักผ้า ฯลฯ ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก
ของตลาด 
        นับจากจัดตั้งกลุ่ม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 โดยผู้ร่วม

ก่ อ ตั้ ง 30 คน เงิ น ทุ น ดำเนิ น การ 96,800 บาท และความทุ่ ม เท
พยายามเรียนรู้ ปรับปรุงสูตร หาสมุนไพรนั่นนี่ ที่หาได้ในหมู่บ้าน
มาทดลองกันเองในกลุ่มมาเรื่อย ๆ อย่างไม่ท้อถอย ปัจจุบันกลุ่มสตรี
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องใช้ ใ นครั ว เรื อ น หุ บ กะพง มี ร ายได้ เ ดื อ นละเกื อ บ
200,000 บาท 
        นางรัศมี มีดา เลขานุการและเหรัญญิกกลุ่ม เล่าว่า “บรรดา

แม่บ้านเริ่มรวมตัวกันในปี 2546 แต่มาจริงจังในปี 2547 ระยะแรก ๆ
ยังไม่มีสูตรของตัวเอง อาศัยเวลาซื้อวัตถุดิบ คอยถามคนขายว่า

ถ้ า อยากได้ ย าสระผมที่ ท ำให้ ผ มนุ่ ม ต้ อ งใส่ อ ะไร น้ ำ ยาล้ า งจาน

ลดกลิ่ น คาว ล้ า งสะอาดต้ อ งทำอย่ า งไร หรื อ เวลาไปไหน ถ้ า เจอ

12
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                        บทความ




าชีพสร้างรายได้ด้วยความเพียร
  ของดี ๆ ก็ จ ะเอามาพั ฒ นาต่ อ ยอดปรั บ ปรุ ง สู ต ร ใช้ เ วลาถึ ง 3 ปี

  สูตรต่าง ๆ จึงลงตัว และใช้มาจนถึงปัจจุบัน”
       สองปีแรก พอมีรายได้แค่เสมอตัว ขาดทุนค่าแรง แต่สมาชิก

  จะได้ของใช้ที่ทำกันเองนั่นแหละกลับไปใช้ที่บ้านทุกวัน กว่าจะเริ่ม

  มีกำไรในปี 2549 เป็นต้นมา และเพิ่มพูนงอกงามขึ้นเรื่อย ๆ จนมี
  เงินปันผลถึง 4 แสนบาทเมื่อปี 2554 สมาชิกกลุ่มเพิ่มเป็น 50 คน
  เพราะความสำเร็ จ ที่ เ กิ ด จากการบอกปากต่ อ ปากของลู ก ค้ า

  จนกระทั่งปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์เด่นที่ได้รับการคัดสรรในระดับโอทอป
  5 ดาวมากมาย คือ ครีมสปาอาบน้ำดอกปีบ-ดอกพุด แชมพูสมุนไพร
                                                                                 นอกจากนี้ ยังได้รับความสนใจจากกลุ่มต่าง ๆ แวะเวียนมา
  อัญชัน-ใบหมี่-ทองพันชั่ง มะกรูด-บอระเพ็ด ครีมนวดผมอัญชัน-

                                                                           ศึ ก ษาดู ง านไม่ ข าดสาย บางวั น ถึ ง กั บ ต้ อ งต้ อ นรั บ คณะดู ง าน ถึ ง

  ใบหมี่ มะกรูด-ใบหมี่ สบู่สมุนไพรนมแพะ เกลือสปาขัดผิว น้ำยา

                                                                           8 คณะในวันเดียว กลายเป็นรายได้อีกทางหนึ่งของกลุ่ม ด้วยการ

  ล้างจาน น้ำยาซักผ้า น้ำยาปรับผ้านุ่ม และน้ำยาซักแห้ง 
                                                                           จั ด ฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รการทำของใช้ ใ นครั ว เรื อ นผสมสมุ น ไพร

                                                                           แถมพกด้ ว ยรายได้ เ สริ ม จากการเก็ บ และปลู ก สมุ น ไพรขายให้

                                                                           กับกลุ่มฯ
                                                                                 “รายได้ ใ นปั จ จุ บั น ทำให้ ส มาชิ ก ทุ ก คนยิ้ ม ออก หายเหนื่ อ ย
                                                                           เพราะมีชีวิตดีขึ้นกว่าแต่ก่อน ที่ต้องออกไปทำงานรับจ้างข้างนอก

                                                                           ได้ค่าจ้างไม่เกินวันละ 200 บาท แต่ต้องเสียค่าเดินทางไป-กลับ

                                                                           วั น ละ 70 บาท แล้ ว ยั ง ต้ อ งกิ น ต้ อ งใช้ ร ะหว่ า งทำงาน จนแทบ

                                                                           ไม่เหลือ แต่ทำกับกลุ่มสตรีฯ ได้ค่าแรงวันละ 150 บาท แต่ไม่เสีย

                                                                           ค่าใช้จ่ายเลย แถมยังมีเวลาปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงปลา ฯลฯ มีเงิน
                                                                           เหลือเก็บทุกวัน” 
                                                                                 ความสำเร็จของกลุ่มสตรีฯ หุบกะพง จึงไม่ได้มาเพราะโชคช่วย
                                                                           หรือด้วยความบังเอิญ สมาชิกทุกคนผ่านการระดมความคิด ร่วมมือ
                                                                           ร่วมแรงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ช่วยกันผลิต ช่วยกันพัฒนาปรับปรุง
                                                                           สินค้า ใช้ภูมิปัญญาและวัตถุดิบในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์ ที่สำคัญ
                                                                           คือ การค่อย ๆ ทำพอประมาณตามกำลังความสามารถ ไม่ลงทุน

                                                                           เกินความจำเป็น แล้วค่อย ๆ ขยับขยายขึ้นมาเรื่อย ๆ
                                                                                 ป้ า ยหน้ า ของกลุ่ ม สตรี ฯ คื อ การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง บรรจุ ภั ณ ฑ์

                                                                           ให้ทันสมัย น่าสนใจ และการขยายตลาดสินค้าออกสู่ภายนอกให้
                                                                           กว้างขวางยิ่งขึ้น
                                                                                 ความสามัคคีและการเดินบนทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุ
                                                                           มีผล จะเป็นพลังขับเคลื่อนให้กลุ่มสตรีผลิตภัณฑ์ของใช้ในครัวเรือน
                                                                           โครงการหุบกะพง บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ในอีกไม่นานเกินรออย่าง
                               รัศมี มีดา
                                 แน่นอน
                                                                                                                                                         13
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                              บทความ


                                           อุบลพรรณ สุปัน
                                           กลับบ้าน มาสร้าง “บ้าน”



     ด้วยเวลาเพียง 3 ปี “อุบลพรรณ สุปัน” แห่งบ้านห้วยธนู การทิ้งเงินเดือนเดือนละ 12,000 บาทจากเมืองใหญ่ที่แต่ละเดือน
อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ก็สามารถพลิกชีวิตตนเองจากหน้ามือ           แทบไม่มีเหลือ กลับมาทำสวน ทำไร่ ที่บ้านด้วยความหวังเต็มเปี่ยม
เป็นหลังมือได้ ในวัย 25 ปี 
                                         และความสุขที่จะได้อยู่กับพร้อมหน้าพร้อมตาทั้งครอบครัว 
      การพลิ ก ชี วิ ต ของอุ บ ลพรรณ จากสาวโรงงานเย็ บ กระเป๋ า ใน          แม้จะอยู่ในช่วงเริ่มต้นโครงการ แต่ครอบครัวก็มีรายได้เพิ่มขึ้น
จังหวัดสมุทรปราการ กลับบ้านมาเป็นเกษตรกรที่มีสวน มีไร่ มีสัตว์       จากลำไยที่เคยขายได้แค่พันสองพันบาท เมื่อมีน้ำก็ทำให้ได้ผลผลิต
เลี้ยง มีอาชีพที่มั่นคง จนสามารถเก็บเงินใช้หนี้ได้หมดภายในหนึ่งปี    เพิมมากขึน ข้าวทีปลูกด้วยน้ำและเมล็ดพันธุของปิดทองฯ ก็ได้ผลผลิต
                                                                         ่        ้             ่                               ์
และสร้างบ้านของตนเองขึ้นได้ในอีกหนึ่งปีต่อมา ทั้งหมดนี้ได้มา
        เป็นร้อยถัง จากเดิมที่เคยปลูกข้าวได้แค่ 5-6 ถัง 
จากความขยัน อดทนและอดออมของเธอและสามี โดยมีปิดทอง
                          หนี้ สิ น ที่ ต้ อ งกู้ ยื ม มาเพื่ อ ปลู ก ข้ า วโพดในอดี ต อุ บ ลพรรณใช้

หลังพระฯ เป็นผู้สนับสนุน ให้โอกาสและให้องค์ความรู้
                  เวลาเพียงปีเดียว ชำระหนี้สินได้ทั้งหมด ทั้งหนี้สหกรณ์ 50,000 บาท
      ย้อนกลับไปเมื่อสามปีก่อน อุบลพรรณ กลับมาเยี่ยมบ้าน พบว่า       หนี้กองทุนเงินล้าน 20,000 บาท หนี้ค่าปุ๋ย ธ.ก.ส. 7,000-8,000 บาท
พ่อแม่สามี เข้าร่วมปิดทองหลังพระฯ เธอก็แทบไม่ต้องคิดเลยกับ
          หนี้พ่อค้าคนกลางที่กู้มา และไม่เคยต้องกู้อีกเลย เพราะเพียงเอา
                                                                     เมล็ดพันธุขาวโพดปิดทอง 10 กระสอบ ไปปลูกในพืนที่ 20 ไร่ ผลผลิต

                                                                                    ์้                                               ้
                                                                     ที่ได้เกือบแสนบาท สามารถใช้หนี้ได้หมดในครั้งเดียว
                                                                            อุบลพรรณปลูกยางพารา ลำไย ลิ้นจี่ กะหล่ำ ปลูกไม้กฤษณา
                                                                     แซมในสวน เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ ด้วยน้ำจากบ่อพวงสันเขาของปิดทองฯ
                                                                     มีปุ๋ยอินทรีย์ใส่ในไร่ มีเมล็ดพันธุ์ดี ๆ รายได้ก็เป็นกอบเป็นกำ
                                                                            เมื่อปลายปีที่แล้ว อุบลพรรณลงมือปลูกบ้านด้วยเงินเก็บของ
                                                                     ตนเอง เป็นบ้านชั้นเดียวขนาดย่อม ๆ พออยู่ได้อย่างสบาย 4 คน

                                                                     พ่อ แม่ ลูก 
                                                                            สายตาที่อุบลพรรณมองบ้านหลังแรกของตน เต็มไปด้วยความ
                                                                     ภาคภูมิใจ ใบหน้าและแววตาเปื้อนยิ้ม เมื่อบอกว่า เธอตัดสินใจ

                                                                     ไม่ผิดเลยที่กลับบ้านมาใช้ชีวิตตามแนวทางพระราชดำริ
14
สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ
                                                                              บทความ




เรียนรู คูพัฒนา                         ฝากแม่ไก่
                                       ฟักไข่เป็ด
                                           รวบรวมโดย ฝ่ายจัดการความรู้ สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ




     ธรรมชาติ ข องแม่ เ ป็ ดที่ไม่ค่อยกกไข่ ทำให้อัตราการฟัก
 ถ้าไก่ร้อง “กะต๊าก...กะต๊าก” และเริ่มหารัง แสดงว่ากำลังจะวางไข่
เป็นตัวของไข่เป็ด มีเพียงร้อยละ 50-60 เท่านั้น บาลเย็น สุนันตา                       เมื่อไก่ไข่แล้ว ให้เอาไข่เป็ดที่เตรียมไว้ไปเปลี่ยนให้แม่ไก่ฟักแทน

เกษตรกร อ.ดอยสะเก็ ด จ.เชี ย งใหม่ จึ ง ทดลองใช้ เ ทคนิ ค พิ เ ศษ
                   ในอัตราส่วนแม่ไก่ 1 ตัว ฟักไข่เป็ด 30 ฟอง
ที่ประสบความสำเร็จอย่างยอดเยี่ยม นั่นคือ ทำให้ไข่เป็ดฟักเป็นตัว                            ประมาณสามสั ป ดาห์ ลู ก เป็ ด จะทยอยจิ ก เปลื อ กไข่ อ อกมา
ได้เกือบร้อยละ 100 
                                                                 ระยะแรก ให้แยกขังไว้เฉพาะกลุ่มของแม่ไก่กับลูกเป็ดเท่านั้น แม่ไก่
       เทคนิคที่ว่า คือ การฝากแม่ไก่ให้ฟักไข่เป็ด ซึ่งนอกจากจะทำให้                  จะคุ้ยเขี่ยหาอาหารให้ลูกเป็ดกินเอง พอลูกเป็ดอายุได้ 1 สัปดาห์

ไข่เป็ดมีอัตราการฟักเป็นตัวเพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถเลือกเพศของ
                       จึงขุดปลวกและไส้เดือนให้ลูกเป็ดหัดกิน จากนั้นให้หัดกินปลายข้าว
ลูกเป็ดได้ด้วย โดยสังเกตจากไข่เป็ดที่จะนำไปให้แม่ไก่ฟัก
                             จนลูกเป็ดอายุได้ประมาณ 1 เดือน เริ่มมีขนขึ้น ก็เริ่มหัดให้เล่นน้ำ
       วิธีการ เริ่มด้วยการเลือกไข่ที่จะนำมาฟัก มีข้อสังเกตว่า ถ้าไข่                และให้ อ าหารเสริ ม เช่ น ข้ า วเปลื อ ก ผั ก บุ้ ง สั บ หรื อ หยวกกล้ ว ย

ฟองไม่ใหญ่ แต่กลม เป็ดที่ฟักออกมาจะเป็นตัวเมีย ไข่ที่ฟักออกมา                        จนกระทังลูกเป็ดแข็งแรงดีแล้ว ก็ปล่อยให้หาอาหารเองพร้อมกับฝูง
                                                                                               ่
เป็ น ตั ว ผู้ ฟองจะใหญ่ แ ละยาว จึ ง ควรเลื อ กไข่ ที่ ก ลมที่ สุ ด ไปฟั ก
               ในปัจจุบัน มีการใช้เทคนิค “แม่ไก่ฟักไข่เป็ด” ในพื้นที่ปิดทอง
เพื่ อ ให้ ไ ด้ เ ป็ ด แม่ พั น ธุ์ ใ นอนาคต จากนั้นหมั่นสังเกตวันที่ ไ ก่ จ ะไข่
   หลังพระฯ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งปรากฏว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจ 
                                                                                                                                                                15
Newsletter pidthong vol.7

More Related Content

Similar to Newsletter pidthong vol.7

Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2tongsuchart
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาYves Rattanaphan
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5tongsuchart
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัสbitzren
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นPoramate Minsiri
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำBabymook Juku
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำBabymook Juku
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun31march
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun31march
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun31march
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงNuttayaporn
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงkittima345
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่Babymook Juku
 

Similar to Newsletter pidthong vol.7 (20)

Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5Newsletter pidthong vol.5
Newsletter pidthong vol.5
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
พระราชดำรัส
พระราชดำรัสพระราชดำรัส
พระราชดำรัส
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้น
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
 

Newsletter pidthong vol.7

  • 1. ปิ ด ทองหลั ง พระ คื อ การเพี ย รทำความดี โดยไม่ มุ่ ง เน้ น ประโยชน์ ส่ ว นตน 7 เสด็จชมนิทรรศการปิดทองหลังพระฯ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นประธานทรงเปิดงาน “วันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2555” เกษตรสร้างสรรค์ : เศรษฐกิจยังยืน เมือวันที่ 8 พฤษภาคม 2555  ่ ่ ณ ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในโอกาสนี้ ทรงเปิด “หอกษัตริย์เกษตร” และทอดพระเนตรนิทรรศการของหน่วยงานสืบสาน แนวพระราชดำริ เช่น “ห้องเงาวิเศษ” นิทรรศการของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ที่นำเสนอแนวทางการ บริหารจัดการน้ำตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ โดย เทคนิคการเล่นเงาให้ภาพการ์ตนเคลือนไหวสาธิตแนวพระราชดำริการบริหารจัดการน้ำพร้อมคำอธิบาย ู ่ ปิดทองหลังพระฯ ณ อุดรธานี อีกก้าวย่างแห่งการเรียนรู้ โครงการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี พื้นที่ขยายผลปิดทอง หลังพระฯ เกิดขึ้นโดยมติคณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม ปิดทองหลังพระฯ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2553 และเริ่มลงพื้นที่ทำความเข้าใจ กับชาวบ้านในเดือนมกราคม 2554 แนวคิดการทำงานโครงการฯ ต้องการขยายต้นแบบการพัฒนาในรูปแบบใหม่ คือ ทำเล็ก ประหยัด เกิดการขยายผลเร็วในวงกว้างและได้ประโยชน์สูงสุด โดย สถาบันฯ ทำหน้าที่ประสานงานให้เกิดการบูรณาการองค์ความรู้ด้านการบริหาร จัดการระบบน้ำ และกระบวนการ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ องค์ความรู้ด้านการเกษตรและปศุสัตว์ ของโครงการ ฟาร์มตัวอย่าง ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ การสนับสนุนงบ ประมาณจากจังหวัดอุดรธานี และการร่วมขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่องจาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ก่ อ นปิ ด ทองหลั ง พระฯ จะเข้ า มาในพื้ น ที่ ชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ จ าก อ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ มีอยู่ 2 หมู่บ้าน คือหมู่ 11  บ้านโคกล่าม และหมู่ 3  บ้านแสงอร่าม มีพื้นที่การเกษตรท้ายอ่างด้านขวา ได้รับน้ำจากอ่างฯ 800 ไร่ ผูรบประโยชน์ 283 ครัวเรือน 1,334 คน และผลผลิตข้าวเฉลียอยูที่ 35-45 ถังต่อไร่ ้ั ่ ่ เนืองจากอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ ไม่มระบบส่งน้ำ จึงต้องให้นำจากอ่างไหล ่ ี ้ ล้นผ่านดาดคอนกรีตลงสูลำน้ำธรรมชาติ คือ ห้วยคล้าย ห้วยเชียงลี  อ่านต่อหน้า 2 ่
  • 2. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงาน แล้วไหลลงห้วยหลวง ซ้ำลำห้วยยังอยูตำกว่าแปลงนา ชาวบ้านจึงต้อง ่ ่ นำน้ำเข้านาโดยขุดคลองขนาดเล็ก และทำฝายยกระดับน้ำให้สูงขึ้น ไหลเข้ า นาตั ว เองหรื อ สู บ น้ ำ ขึ้ น มาใช้ ซึ่ ง เมื่ อ เข้ า หน้ า แล้ ง ก็ จ ะไม่ สามารถใช้วิธีการดังกล่าวได้  จากการสำรวจข้ อ มู ล ของโครงการ เมื่ อ เดื อ นมี น าคม 2554 บ้านแสงอร่าม มีพื้นที่ 8,602 ไร่ เป็นพื้นที่ทำกิน 1,843 ไร่  ส่วนใหญ่ เป็ น นาข้ า ว ไร่ มั น สำปะหลั ง และสวนยาง  มี ป ระชากร 476 คน 96 ครัวเรือน ร้อยละ 56 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 38 รับจ้าง ที่เหลือค้าขาย รับราชการ และอื่น ๆ รายได้รวมของประชากร 9,667,420 บาท/ปี เฉลี่ยหลังคาเรือนละ 100,702 บาท/ปี มีหนี้สิน รวม 6,222,600 บาท ส่วนใหญ่ร้อยละ 55 เป็นหนี้ธนาคาร บ้านโคกล่าม มีพื้นที่ประมาณ 4,730 ไร่ เป็นพื้นที่การเกษตร 1,030 ไร่  ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นนาข้าว ไร่มันสำปะหลัง และสวนยาง  มี ประชากร 484 คน 100 ครัวเรือน  ร้อยละ 60 ของประชากรประกอบ อาชีพเกษตรกรรม รองลงมา ประกอบอาชีพรับจ้างร้อยละ 32 ที่เหลือ ค้ า ขาย รั บ ราชการและอื่ น ๆ  รายได้ ร วมของประชากรทั้ ง หมด  7,698,815 บาท/ปี เฉลี่ยหลังคาเรือนละ 76,988 บาท/ปี มีหนี้สินรวม 11,211,940 บาท  เป็นหนี้ธนาคารมากที่สุด ร้อยละ 61  เจ้าของ : มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เลขที่ 1 ถนนนครปฐม เขตดุสต กรุงเทพมหานคร 10300 ิ www.pidthong.org : สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 26 เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 www.twitter.com/pidthong โทรศัพท์ 0-2611-5000 โทรสาร 0-2658-1413 ที่ปรึกษา : หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล นายการัณย์ ศุภกิจวิเลขการ นายพิพัฒน์ เลิศกิตติสุข www.facebook.com/pidthong บรรณาธิการ : นายธนัยนันท์ ธนันท์ปพัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายสุชาติ ถนอม ผู้จัดทำ : บริษัท แอร์บอร์น พรินต์ จำกัด 1519/21 ซอยลาดพร้าว 41/1 ถนนลาดพร้าว แขวงสามเสนนอก 2 www.youtube.com/pidthongchannel เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2939-9700 โทรสาร 0-2512-2208 E-mail : roso215@yahoo.com
  • 3. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงาน การระดมสมองเพื่อระบุปัญหาของชุมชน และจัดลำดับความ การจ่ายน้ำเป็นแบบก้างปลา ซ่อมแซมท่อด้านซ้าย ส่วนด้านขวา สำคัญเร่งด่วนของปัญหา ชาวบ้านจากสองหมูบานระบุวา ปัญหาใหญ่่ ้ ่ สร้ า ง Spill way และท่ อ ลอดถนน เพื่ อ ระบายน้ ำ ลงลำห้ ว ยเดิ ม คือ เรื่องน้ำ รองลงมาเป็นปัญหาดิน เกษตร พลังงานทดแทน หนี้สิน  ส่วนการซ่อมแซมปรับปรุงฝายห้วยคำเข มีการเสริมอาคารระบายน้ำ และสุดท้ายเป็นปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม เสริมคันดิน วางท่อ 920 เมตร คู่กับลำเหมือง 200 เมตร เพิ่มพื้นที่ จากหลักการดำเนินงานของปิดทองหลังพระฯ ทีชาวบ้านในพืนที่ ่ ้ รับน้ำได้ 637 ไร่  โดยชาวบ้านกว่า 200 คน ลงแรงขุดลอกแผ้วถาง ต้ อ งมี ค วามพร้ อ มที่ จ ะลุ ก ขึ้ น มาทำงานด้ ว ยตนเอง ตามหลั ก การ ป่าอ้อ ในพื้นที่ 9 ไร่ ที่ถูกปล่อยทิ้งร้างขวางทางน้ำมากว่า 50 ปี ทรงงาน “ระเบิดจากข้างใน” และเชื่อมั่นศรัทธาแนวพระราชดำริ ระหว่ า งปรั บ ปรุ ง ระบบส่ ง น้ ำ มี ก ารพั ฒ นาด้ า นการเกษตร เน้นการทำงานแบบมีส่วนร่วม และแบบองค์รวม คือ มีแนวทาง คู่ขนานกันไป โดยคัดเลือกแปลงเกษตรของนายสุบรร สอดสี และ แก้ไขปัญหาเชื่อมโยงทุกมิติครบวงจร ตั้งแต่การผลิตในระดับต้นน้ำ นายบุ ญ มาก สิ ง ห์ ค ำป้ อ ง ซึ่ ง มี ค วามขยั น ตั้ ง ใจจริ ง และเต็ ม ใจ (การพัฒนาปัจจัยการผลิต) กลางน้ำ (การแปรรูป) ปลายน้ำ (การ ร่วมโครงการ มานำร่ อ งทำฟาร์ ม ตั ว อย่ า งเกษตรกร ตามแนวทาง ตลาด) และวั ด ผลที่ “ชาวบ้ า นได้ อ ะไร” อย่างเป็นรูปธรรม เช่ น โครงการฟาร์มตัวอย่าง ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พื้ น ที่ รั บ น้ ำ ทางการเกษตรที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หลั ง มี ก ารบริ ห ารจั ด การน้ ำ เป็นตัวอย่างให้เกษตรกรรายอื่น ๆ เห็นผลสำเร็จของการดำเนินงาน ผลผลิตข้าวที่เพิ่มขึ้น  มีการปลูกพืชหลังนา เกษตรกรมีอาชีพเสริม การพัฒนาด้านการเกษตร เริ่มจากปรับปรุงดิน ปลูกพืชก่อนนา  มีหนี้สินลดลงและมีรายได้เพิ่มขึ้น เป็นต้น เช่ น โสน  ปอเทื อ ง  พริ ก เพื่ อ เพิ่ ม ปุ๋ ย ในดิ น และสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ดังนั้น หลังจากจุดประกายให้ชาวบ้านมีความพร้อมและลงมือ ชาวบ้าน ทำนา และปลูกพืชหลังนา ทำเกษตรผสมผสาน ตามองค์ พัฒนาด้วยตัวเอง การพัฒนาก็เริ่มขึ้นในเดือนมีนาคม 2554 ด้วยการ ความรูของฟาร์มตัวอย่าง ประกอบด้วยการปลูกพืช 3 ชัน คือ พืชชันสูง ้ ้ ้ พัฒนาระบบส่งน้ำอ่างห้วยคล้ายฯ มีการเสริมตอม่อ ยกระดับน้ำที่ พืชชั้นกลาง พืชค้าง และการปลูกพืชผักเศรษฐกิจ เลี้ยงหมูจินหัว Spill way เพิ่มประสิทธิภาพการเก็บกักน้ำได้เพิ่มขึ้น 30,000 ลบ.ม. เป็ดอี้เหลียง และปลากินพืชในบ่อ เป็นต้น จากเดิม 692,500 ลบ.ม. ทำระบบส่งน้ำด้วยท่อ โดยต่อแนวท่อ แปลงตัวอย่างในพื้นที่ 20 ไร่ ของนายบุญมาก  สิงห์คำป้อง จึงมี จากวาล์วด้านขวา ระยะทาง 1,520 เมตร ส่งน้ำแบบก้างปลา เพื่อให้ การปลู ก ฟั ก ทองในหลุ ม เดี ย วกั บ ข้ า วโพด ให้ ฟั ก ทองเลื้ อ ยพั น ต้ น พื้นที่การเกษตรด้านขวาของอ่างฯ มีน้ำใช้ตลอดปี โดยไม่สูญเสียน้ำ ข้าวโพดโดยไม่ต้องปักหลัก เก็บเกี่ยวฟักทองได้ใน 45 วัน ช่วงนั้น ซ่อมแซมปรับปรุงฝายเดิมที่ชำรุด 3 ฝาย ด้วยการสร้างอาคารระบาย ก็เด็ดยอดอ่อนมาเป็นอาหารหรือขายได้ ปลูกผักบุ้งจีน ทยอยปลูกทุก น้ ำ ให้ มี ช่ อ งอั ด น้ ำ ที่ แ ข็ งแรง กักเก็บและควบคุมน้ำได้ เพื่ อ ผั น น้ ำ 7 วัน เพื่อให้หมุนเวียนเก็บขายได้ทุกวัน ในเวลาเพียง 18 วัน เก็บขาย สู่เหมืองหรือท่อส่งน้ำ และปรับปรุงพนังกั้นน้ำ เสริมคันดินด้านข้าง ได้ กก.ละ 10 บาท ทำให้นายบุญมากมีรายได้จากการขายผักเฉลี่ย เพิ่มความสามารถในการเก็บกักน้ำ ป้องกันไม่ให้น้ำท่วมนา และ วันละ 200-300 บาท โดยใช้เมล็ดพันธุ์ 2 กก. ปลูกผักบุ้งได้ 100 กก. ยกระดับน้ำให้เข้าท่อหรือลำเหมือง ปลูกตะไคร้และกล้วยริมขอบบ่อและขอบคันนา ปลูกแคประปราย สำหรั บ อ่ า งเก็ บ น้ ำ ห้ ว ยก้ า นเหลื อ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง โดยบดอั ด ปลูกถั่วลิสง เป็นพืชก่อนนาเพื่อปรับปรุงดิน เลี้ยงหมูจินหัว ซึ่งกินง่าย ด้านหน้าคันดิน ป้องกันการรั่วซึม ส่วนด้านหลัง มีการปรับปรุงดิน อยู่ง่าย ลูกดก (15 ตัว/คอก) และเลี้ยงเป็ดพันธุ์บาบาลี  ซึ่งทนโรค และฝังท่อลอดคันดินส่งน้ำไปยังลำห้วยเข เสริมพื้นที่ 673 ไร่ ระบบ เลี้ยงง่าย โตเร็ว 3
  • 4. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงาน ส่วนแปลงเกษตร พื้นที่ 6 ไร่ของนายสุบรร สอดสี มีการขุดบ่อ สถานภาพของกองทุ น ต่ า ง ๆ ที่ ปิ ด ทองฯ ให้ ก ารสนั บ สนุ น บนที่ดินตัวเอง เพราะคิดว่าจะได้ประโยชน์มากกว่าใช้ที่ดินทำนา ส่งเสริม เพื่อให้ชาวบ้านอยู่ได้อย่างยั่งยืนมั่นคงในอนาคต ปรากฏว่า เพราะสามารถนำน้ำมารดผักและเลี้ยงปลาได้พร้อมกัน ซึ่งจะสร้าง กองทุนสุกร มีหมูพ่อพันธุ์ 4 ตัว และแม่พันธุ์ 91 ตัว ซึ่งทยอยออกลูก รายได้ให้ประมาณ 2,000 บาทจากการขายผักและขายปลา แทนที่ ตั้ ง แต่ ป ลายเดื อ นมี น าคมถึ ง ปั จ จุ บั น มี ลู ก หมู 383 ตั ว (ณ วั น ที ่ รายได้เพียงน้อยนิดจากการทำนา ใช้ขี้วัวผสมกับฟางมาใส่ในบ่อน้ำ 4 เมษายน 2555) ระเบียบกองทุน ต้องคืนลูกหมูให้กองทุนแม่ละ เพื่อให้น้ำในบ่อใสขึ้น เลี้ยงเป็ดจากกองทุนเป็ด 6 ตัว แม่หมู 1 ตัว 2 ตั ว และมี ข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ว่ า การฝากขายหมู กั บ กองทุ น ใน ใส่ผักตบชวาในบ่อเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสีย และเป็นแหล่งอาหารให้หมู ราคา 1,500 บาท จะหักเข้ากองทุน 200 บาท ปัจจุบันกองทุนมีเงิน ปลูกข้าวโพดควบคู่กับฟักทองในหลุมเดียวกัน  5,800 บาท นำมาสร้างคอกกลางสำหรับอนุบาลลูกหมู การพัฒนาในช่วงเพียงหนึ่งปีเศษ ทำให้เกษตรกรตกกล้าและ กองทุ น พั น ธุ์ ข้ า ว เริ่ ม ดำเนิ น การเมื่ อ เดื อ นกั น ยายน 2554 ปลูกข้าวได้เต็มพื้นที่รับประโยชน์ 1,788 ไร่ ในเดือนพฤษภาคม 2554 ด้ ว ยเงิ น ทุ น 28,000 บาท ปั จ จุ บั น มี เ งิ น ทุ น หมุ น เวี ย นในกองทุ น โดยไม่ต้องรอน้ำฝน และคาดการณ์ว่า ผลผลิตข้าวในพื้นที่โครงการ 31,734 บาท มีเงินปันผลให้กับสมาชิก 8 คน เป็นเงิน 4,718.50 บาท จะเพิ่มจาก 3,920,000 บาท เป็น 13,868,400 บาท หรือเพิ่มขึ้น 9,651,220 บาท เนื่ อ งจากมี น้ ำ ใช้ ใ นช่ ว งฝนทิ้ ง ช่ ว ง ทำให้ ข้ า ว เมล็ดไม่ลีบ ปริมาณข้าวมากขึ้นจาก 350 กก./ไร่ เป็น 600 กก./ไร่ โดยรายได้ที่เพิ่มขึ้นยังไม่รวมรายได้จากพืชก่อนนาและพืชหลังนา  ในปัจจุบัน จากแปลงเกษตรนำร่อง 2 แปลง มีการขยายผลเป็น 152 ครัวเรือน จากครัวเรือนทั้ง 2 หมู่บ้าน 196 ครัวเรือน ทำให้ เกษตรกรมีอาหารกิน ประหยัดค่าใช้จ่ายเฉลี่ยครัวเรือนละ 20 บาท ต่อวัน มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการปลูกพืชก่อนนาเฉลี่ยเดือนละ 500 บาทต่อแปลงต่อเดือน เกษตรกรขายลูกสุกรไปแล้ว 70 ตัว คิดเป็น เงิน 96,400 บาท เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขยายผล เมื่ อ โครงการบริ ห ารจั ด การน้ ำ อย่ า งยั่ ง ยื น อ่ า งเก็ บ น้ ำ ห้ ว ยคล้ า ยอั น เนื่ อ ง มาจากพระราชดำริ สร้างการเปลี่ยนแปลงที่เป็นรูปธรรมได้ภายในเวลา 1 ปี จาก การถ่ายทอดองค์ความรูตามแนวพระราชดำริ ทำให้บริหารจัดการน้ำอ่างห้วยคล้ายฯ ้ ได้เต็มประสิทธิภาพ เกษตรกรมีรายได้เสริมจากการปลูกพืชก่อนนาและหลังนา จังหวัดอุดรธานี องค์การบริหารจังหวัดอุดรธานี มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิ แม่ ฟ้ า หลวงในพระบรมราชู ป ภั ม ภ์ ฟาร์ ม ตั ว อย่ า งในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุ ด รธานี และมู ล นิ ธิ ปิ ด ทองหลั ง พระ สื บ สานแนวพระราชดำริ จึ ง ร่ ว มกั น จั ด มหกรรม “เวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ เพื่อขยายผลการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ” ใน วันที่ 11-13 กรกฎาคม 2555 ที่บริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยคล้ายฯ แปลงเกษตรกร ตัวอย่าง วัดป่าเลไลย์ และห้องประชุมในจังหวัดอุดรธานี เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ จัดขึ้นเพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานของโครงการ และกระบวนการทำงาน ซึ่งเป็นที่มาของความสำเร็จ รวมทั้งประสบการณ์ความรู้ จากการปฏิ บั ติ จ ริ ง ของชาวบ้ า นในพื้ น ที่ และครู ภู มิ ปั ญ ญาจากพื้ น ที่ อื่ น เพื่ อ ประโยชน์ในการต่อยอดการพัฒนา โดยคาดหวังผลว่า จะทำให้ผู้ร่วมเรียนรู้เกิด 4
  • 5. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงาน กองทุ น แม่ บ้ า น ทำอาหารสำหรั บ คณะที่ ม าศึ ก ษาดู ง านใน พื้นที่ โดยคิดค่าใช้จ่ายคนละ 200 บาท (150 บาท สำหรับโรงเรียน ในสังกัด อบจ.) เริ่มดำเนินการเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2554 ปรากฏ ว่ า มี ค ณะศึ ก ษาดู ง านแล้ ว 42 คณะ 7,523 คน ทำให้ มี ร ายได้ ถึ ง 1,1250,000 บาท หั ก ค่ า บริ ห ารจั ด การกองทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยใน การประกอบอาหาร ค่าแรงงาน อุปกรณ์ประกอบอาหารแล้ว คงเหลือ เงินในกองทุน 340,564 บาท นอกจากนี้ ชาวบ้ า นยั ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะผลิ ต ปุ๋ ย ขึ้ น เอง จึ ง มี การศึกษาดูงานวิธีการทำปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ที่กลุ่มปุ๋ยหมักอินทรีย์ กองทุนปุ๋ย จากเงินทุนเริ่มต้น 72,900 บาท มีเงินปันผลให้กับ ชีวภาพ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา เริ่มนำร่องให้ชาวบ้านเห็นประโยชน์ สมาชิก 4 คน เป็นเงิน 38,000.50 บาท กองทุนเป็ด จากเป็ดเทศ ด้วยเงินกองทุน 92,000 บาท ซื้อปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ (อัดเม็ด) 70 ตัว ให้เกษตรกร 20 ครัวเรือน ปัจจุบันมีลูกเป็ดพร้อมคืนกองทุน 200 กระสอบ และจะเริ่ ม ผลิ ต ใช้ เ องในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2555 66 ตัว กองทุนเมล็ดพันธุ์ผัก มีเงินสนับสนุนกองทุน 60,360 บาท ในช่วงเดียวกัน ยังจะมีการจัดตั้งโรงสีข้าวชุมชน จากการนำเงินศึกษา ปัจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน 11,300 บาท และยังไม่ถึงระยะเวลาคืน ดูงาน 200,000 บาท ซื้อที่ดิน 1 ไร่ 2 งาน เตรียมเป็นที่ตั้งโรงสีข้าว กองทุน ชุมชนและโรงเรือนผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้แล้ว กองทุนการตลาด มีการนำผลผลิตไปจำหน่ายที่ตลาดโพศรี ปั จ จุ บั น โครงการบริ ห ารจั ด การน้ ำ อย่ า งยั่ ง ยื น อ่ า งเก็ บ น้ ำ ทุกวันอังคารและวันศุกร์ เพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ปัจจุบัน ห้วยคล้ายฯ จึงเป็นห้องเรียนปฏิบัติการทางสังคม (Social LAB) มีเงินทุนหมุนเวียนในกองทุน 2,090 บาท กองทุนยาและเวชภัณฑ์ ในการปรั บ กระบวนทั ศ น์ ทุ ก ภาคส่ ว น ตั้ ง แต่ ก ระบวนการสร้ า ง จากการสนับสนุนของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ และสถาบันส่งเสริม ความเข้าใจ เข้าถึง และการพัฒนา คือ ชาวบ้านในพืนทีมความเข้าใจ ้ ่ ี และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ในรูปแบบของยาและเวชภัณฑ์ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น จริ ง ของหมู่ บ้ า น รู้ ปั ญ หา ความต้ อ งการชุ ม ชนทุ ก มิ ต ิ คิดเป็นมูลค่า 16,500 บาท มีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ และเป็นเจ้าของในทุกกิจกรรมการพัฒนา ความเชื่อมั่นในแนวทางจัดการปัญหาของตนได้แบบพึ่งพาตนเอง ทังนี้ ประเด็นการนำเสนอให้เหมาะสมกับแต่ละกลุมเป้าหมาย ้ ่ ใช้ ค วามรู้ เ ป็ น ฐาน และมี ก ารจั ด การร่ ว มกั น ของทุ ก ฝ่ า ย มี ก าร เช่น สำหรับชาวจังหวัดอุดรธานี จะเป็นเรื่องราวของโครงการฯ เปลี่ยนแปลงความคิดและแนวทางการทำงานที่ยึดชาวบ้านเป็นหลัก การจัดการน้ำ ดิน เกษตร การจัดการกองทุนต่าง ๆ ผลที่เกิดขึ้น และเกิดแรงจูงใจในการนำไปประยุกต์ใช้ต่อ วงจรการผลิตการขายในระดับครัวเรือน และระดับกลุ่ม ครูภูมิ นอกจากนี้ ยังมีเป้าหมายที่จะขยายแนวคิดและแนวทางการ ปัญญาในภาคอีสาน จะเสนอความเห็นต่อกิจกรรมในพื้นที่ และ ทำงานแบบปิดทองหลังพระฯ ที่ใช้แหล่งน้ำเป็นจุดเริ่มต้นของการ ให้คำแนะนำ คณะทำงานในจังหวัดขยายผล จะได้อะไร และจะ พัฒนาไปยังทุกจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอื่น กลับไปทำอะไร ส่วนสถาบันอุดมศึกษา และนักวิชาการ จะเสนอ รูปแบบงาน ประกอบด้วย การจัดเวทีเสวนา การแลกเปลียนเรียนรู้ ่ โจทย์วิจัยสำหรับนำไปทำงานต่อ หน่วยงานระหว่างประเทศที่ กับ อบจ.อุดรธานี และการจัดกลุ่มฐานการเรียนรู้กับครูภูมิปัญญา ทำงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ อุปทูต UNDP UNEP การเยี่ยมชมพื้นที่จริง และพูดคุยกับชาวบ้านในพื้นที่โครงการ การจัด ADB WB เป็นต้น จะมองเปรียบเทียบกับประสบการณ์ที่เคยทำ นิทรรศการความรู้บริเวณศูนย์เรียนรู้และแปลงต้นแบบ การแสดง และในแง่ น โยบายขององค์ ก รที่ ส นั บ สนุ น งานพั ฒ นา รวมทั้ ง มหรสพและงานวัฒนธรรมท้องถิ่น นโยบายรัฐไทยควรมีปรับปรุงอย่างไร 5
  • 6. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงานพิเศษ 60 ปี การทรงงานพัฒนาชนบท เส้นทางที่ทอดไกล จากจุดเริ่มต้น ณ “ถนนห้วยมงคล” “...ที่ ข้ า งในหนองพลั บ แต่ ก่ อ นนี้ เ ข้ า ไม่ ไ ด้ โดยรอบพระราชวังไกลกังวล แม้ว่าเส้นทางเสด็จพระราชดำเนินนั้น จะเป็นทางเกวียนขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ กว่าจะผ่านไปได้แสนยาก แค่ครึ่งทางไปหนองพลับก็ไม่ได้...ปี 2495 หรือ 96 ต้ อ งใช้ เ วลานานก็ ต าม จนเมื่ อ รถพระที่ นั่ ง เดิ น ทางผ่ า นหมู่ บ้ า น เพิ่งได้รถบลูโดเซอร์ แล้วเอารถไปให้ค่ายนเรศวร ห้ ว ยคต ต.หิ น เหล็ ก ไฟ อ.หั ว หิ น ก็ ต กหล่ ม ลึ ก ชาวบ้ า นหลายคน ให้ ส ร้ า งถนน ให้ ไ ถถนนเข้ า ไปถึ ง ห้ ว ยมงคล ซึ่ ง เข้าช่วยเหลือทหารและตำรวจจนยกรถพระที่นั่งขึ้นจากหล่มได้ เหตุการณ์นี้ คือ จุดเริมต้นการทรงงานพัฒนาชนบทเพือประชาชน ่ ่ เดี๋ ย วนี้ ห้ ว ยมงคล 20 นาที ก็ ถึ ง ตอนนั้ น เข้ า ไป ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เมือรับสังถามถึงปัญหาของหมูบาน ่ ั ่ ่ ่ ้ ตั้งแต่ 8-9 โมงเช้า เข้าไปถึงร่วมบ่ายโมง ไปรถจี๊ป และทรงทราบว่า สิ่งที่ชาวบ้านห้วยคตต้องการมากที่สุด คือ “ถนน” เข็นเข้าไป ลากเข้าไป...” เพื่อขนพืชผลการเกษตรไปขายได้โดยเร็ว ไม่ต้องแบกหาม ใส่รถเข็น พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงเล่าพระราชทาน ่ ั ไปตามทางเดินเท้า 2 วัน 2 คืน กว่าจะถึง พืชผลก็เน่าเสีย หรือไม่ ผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ เช่ น นั้ น ก็ ต้ อ งเช่ า เหมารถจี๊ ป ในราคาสู ง ไม่ คุ้ ม กั บ ราคาพื ช ผลที่ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.) ทำให้เห็นภาพความยากลำบาก นำออกมาขาย ในการเดินทางของประชาชนในชนบทห่างไกล ทั้งที่เส้นทางที่รับสั่ง ต่ อ มาไม่ น าน ถนนจากบ้ า นห้ ว ยคตสู่ ต ลาดหั ว หิ น ซึ่ ง ได้ รั บ ถึงนั้น อยู่ห่างจากตลาดหัวหินเพียง 20 กิโลเมตรเท่านั้น พระราชทานชื่อในภายหลังว่า ถนนห้วยมงคลก็เกิดขึ้น เป็นโครงการ เดื อ นพฤษภาคม 2495 เมื่ อ 60 ปี ม าแล้ ว พระบาทสมเด็ จ พัฒนาชนบทอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการแรก ซึ่งขยายผล พระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินออกเยี่ยมเยียนประชาชนในพื้นที่ ต่อเนื่องเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเพื่อพัฒนาชนบท 6
  • 7. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงานพิเศษ ทั่วประเทศ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาทรัพยากรน้ำ ดิน เกือบทั้งหมดของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มุ่งเน้น ป่าไม้ การเกษตร พลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม อาชีพ การศึกษา แก้ไขปัญหาชนบท โดยเฉพาะชนบทที่ยากจน อยู่ห่างไกล ทุรกันดาร สาธารณสุข เทคโนโลยี และการคมนาคม ฯลฯ อีกกว่า 4,000 โครงการ หรือพื้นที่ซึ่งกระบวนการพัฒนาของรัฐยังเข้าไปไม่ถึง และไม่ได้มุ่ง พระราชปณิธานอันแน่วแน่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต นำความ ที่เป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่งอย่างเดียว แต่จะต้องบรรลุวัตถุประสงค์ ร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข สู่ อ าณาประชาราษฎร์ ใ นชนบท แสดงชั ด เจนใน ทั้งการเพิ่มผลิตผล เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร ขจัดความยากจน พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะผู้บริหารสำนักงานเร่งรัด เสริมสร้างการพึ่งตนเองของชุมชน เป็นต้น เมื่อมีหลายเป้าหมาย พัฒนาชนบท ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 13 การพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้า มิถุนายน พุทธศักราช 2512 ความตอนหนึ่งว่า อยู่ หั ว จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ นั ก วิ ช าการและหน่ ว ยราชการทุ ก สาขา ต้ อ ง “…การที่นำความเจริญ การพัฒนาไปสู่ชนบท หมายถึงไปสู่ ร่วมมือกับประชาชน ซึ่งเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมากที่สุด ประชาชนในชนบทนั้ น มี เ หตุ ผ ลหลายประการ เหตุ ผ ลใหญ่ ที่ สุ ด นอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาค้ น คว้ า ทดลอง และวิ จั ย ข้ อ แรกก็ คื อ มนุ ษ ยธรรม ความเมตตาต่ อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ที่ อ ยู่ ร่ ว ม แสวงหาแนวทางการพัฒนาที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสังคมไทย ประเทศกั บ เรา…เหตุ ผ ลที่สองที่จะต้องพัฒนาชนบทนั้น คื อ เพื่ อ เพื่ อ ประยุก ต์ ใ ช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หา และเผยแพร่ แ ก่ ประชาชนใน เพิ่มความปลอดภัยของบ้านเมือง เพื่อความก้าวหน้านอกเหนือจาก ชนบท ทั้งนี้ การศึกษาเพื่อการพัฒนาชนบทยังครอบคลุมทุกเรื่อง มนุษยธรรม…” ที่ มี ค วามสำคั ญ ต่ อ ปั จ จั ย การผลิ ต เช่ น น้ ำ ดิ น ความรู้ ใ นเรื่ อ ง ทั้งยังรับสั่งถึงความสำคัญของการพัฒนาชนบทด้วยว่า การเพาะปลู ก และเลี้ ย งสั ต ว์ ทุ น และการตลาด สภาพแวดล้ อ ม  “...การพัฒนาชนบท เป็นงานที่สำคัญ เป็นงานที่ยาก เป็นงานที่ ความเป็นอยู่ของประชาชน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิธีการ จะต้องทำให้ได้ด้วยความสามารถ ด้วยความเฉลียวฉลาด คือ ทั้ง ดำรงชีวิตของประชาชนในแต่ละท้องถิ่น เฉลียวทั้งฉลาด ต้องทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ มิใช่มุ่งที่จะหากินด้วย แนวทางการพัฒนาชนบทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วิธีการใด ๆ ใครอยากหากินขอให้ลาออกจากตำแหน่งไปทำการค้า ดังที่กล่าวมานี้ คือ แนวทางที่มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มุ่งมั่นสืบสาน ดีกว่า เพราะว่าถ้าทำผิดพลาดไปแล้ว บ้านเมืองเราล่มจม และเมื่อ แนวพระราชดำริ เพื่อความเจริญสถาพรของประเทศอย่างยั่งยืน บ้านเมืองของเราล่มจมแล้ว เราอยูไม่ได้ ก็เท่ากับเสียหมดทุกอย่าง...” ่ ต่อไป ตลอด 60 ปี อั น ยาวนาน บนเส้ น ทางการพั ฒ นาชนบทอั น ยาวไกล หลั ก การสำคั ญ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว คื อ การพัฒนาที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้ราษฎรสามารถพึ่งตนเองได้ และพัฒนาโดยมี “หลั ก วิ ช าการหรื อ ความรู้ ” เป็นปัจจัยสำคัญ มีการนำความรู้และเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ เข้าไปให้ถึงมือ ชาวชนบทอย่ า งเป็ น ระบบและต่ อ เนื่ อ ง และมี ตั ว อย่ า งของความ สำเร็จให้ชาวบ้านได้เห็นและนำไปปฏิบัติได้เอง 7
  • 8. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงานพิเศษ 60 ปี ทรงพัฒนาชนบท เพื่อประชาชน พฤษภาคม 2555 ถนนห้วยมงคล โครงการพระราชดำริด้านการพัฒนาชนบทโครงการแรก จะมีวาระครบ 60 ปี มูลนิธิปิดทอง หลังพระฯ จึงร่วมกับชมรมสื่อบ้านนอก นำสื่อมวลชนและภาคเอกชน เยี่ยมชมโครงการพระราชดำริที่มีความหมายในเชิงสัญลักษณ์ และโครงการพระราชดำริอื่น ๆ ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ ที่ครอบคลุมองค์ความรู้ทั้ง 6 มิติที่ปิดทองหลังพระฯ นำมา ถ่ายทอดเพื่อแก้ไขปัญหาของประชาชน ได้แก่ น้ำ ดิน ป่า เกษตร สิ่งแวดล้อม และพลังงาน จุดเยี่ยมชม ประกอบด้วย ถนนห้วยมงคล (โครงการพัฒนาชนบทโครงการแรก) อ่างเก็บน้ำเขาเต่า (โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ โครงการแรก) โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ (โครงการล่าสุดที่พระราชทานแม้ในช่วงทรงพระประชวร) โครงการวิจัยและพัฒนา สิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยฯ โครงการผลิตไบโอดีเซลในพื้นที่ปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี และโครงการอัมพวาชัยพัฒนานุรักษ์ โดยมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา และ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เป็นวิทยากร 8
  • 9. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ รายงานพิเศษ ณ ถนนห้ ว ยมงคล ดร.สุ เ มธ กล่ า วถึ ง การทรงงานพั ฒ นาชนบทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ตลอด 60 ปี ที่ ผ่ า นมาว่ า เป็นการทรงงานด้วยพละกำลังใจอย่างแท้จริง ปรารถนาจะทรงงานเพียงประการเดียว ทั้งที่ไม่มีอะไรบังคับให้ทรงต้องทำ และไม่เคย ทรงหยุดงานเลยแม้แต่วันเดียว “แรงบันดาลพระทัย อาจเกิดจากที่ทรงเคยรับสั่งว่า “...ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะละทิ้งอย่างไรได้...” แล้วก็ทรงทำ จนกระทั่งเป็นธรรมะหรือธรรมชาติของพระองค์ท่านแล้ว คือ ต้องทำงาน เพราะถือว่าหน้าที่การเป็นพระมหากษัตริย์นั้นเป็น 24 ชม. พระราชดำรัสทุกครั้งสรุปได้ว่า เป็นหน้าที่เป็นความรับผิดชอบ เป็นสิ่งที่จะต้องพึงกระทำ บนฐานความรักความเมตตาที่พระองค์ท่าน ถูกสอนมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์” 9
  • 10. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ ปลดล็อก สัมภาษณ์พิเศษ พัฒนา “ชนบท” ชมรมสื่อบ้านนอก ร่วมกับมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว พระราชดำริ จัดการเสวนา พัฒนา “ชนบท” ปลดล็อกประเทศ เพื่อ ให้ทุกภาคส่วนในสังคม ตระหนักถึงสภาพปัญหาที่แท้จริงของชนบท และความเหลื่อมล้ำระหว่างเมืองกับชนบทที่ส่งผลกระทบถึงประเทศ ชาติ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบต่อไป การเสวนา เริ่ ม ด้ ว ยปาฐกถาพิ เ ศษ “ชนบทในมุ ม มองของ ข้าพเจ้า” โดย ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย ประธานมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ซึ่งให้ความสำคัญในประเด็น การสร้างคุณภาพชีวิตในบ้านนอกให้ เท่ากับเมือง เพื่อที่คนชนบทจะได้ไม่ต้องย้ายเข้ามาในเมืองและอยู่ บ้านนอกด้วยความสุขได้ และการศึกษาจะเป็นฐานของการพัฒนา ทุ ก อย่ า ง ดั ง ที่ ส มเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี แ ละสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงออกแบบระบบการ ศึ ก ษาที่ เ รี ย บง่ า ยแต่ ไ ด้ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด และทรงพระราชทานทุ น การศึกษาให้กับเด็กในชนบททั่วประเทศ ผู้สูงอายุก็มีส่วนทำให้ชุมชน ชนบทเข้มแข็งได้ “ในเมืองไทย รอบตัวเราล้วนมีแต่สิ่งดีงาม ที่จะสามารถเผื่อแผ่กัน ได้ ทั้งในเมืองทั้งในชนบท เพียงแต่ว่าเรามองเห็นคุณค่าหรือไม่ คุณค่า ของคนแก่ คุณค่าของคนหนุ่มคนสาวในหมู่บ้าน และเอาระบบการ ศึกษาไปให้ถึงหมู่บ้านเลย ถ้ารัฐไม่ทำ อบจ. อบต. เทศบาลนั่นแหละ ควรทำ ระบบการศึกษาและการฝึกอาชีพต้องเริ่มต้นที่ชนบท และ ทำให้เข้มแข็ง ต่อยอดได้” 10
  • 11. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ กประเทศ สัมภาษณ์พิเศษ นายธี ร ศั ก ดิ์ พานิ ช วิ ท ย์ เลขาธิ ก ารสมาคมองค์ ก ารบริ ห าร ส่ ว นตำบลแห่ ง ประเทศไทย กล่ า วถึ ง บทบาทขององค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นาชนบทว่ า ทุ ก วั น นี้ ชนบทกลายเป็ น เครื่ อ งมื อ ทางการเมื อ ง และโชคไม่ ดี ที่ ป ระเทศไทยมี ก ารเมื อ ง ที่ไม่สมบูรณ์แบบ ไม่ได้เป็นการเมืองเพื่อพลเมือง แต่เป็นการเมือง เพือกลุมคนหรือกลุมก้อน จุดอ่อนของการพัฒนาชนบทอยูทนโยบายรัฐ ่ ่ ่ ่ ี่ ถ้ า จะปลดล็ อ กประเทศ รั ฐ ต้ อ งเลิ ก คิ ด แทนคนชนบท ต้ อ งถาม ชาวบ้านว่าต้องการอะไร ไม่ใช่คดเองทำเอง และต้องใส่องค์ความรูให้ ิ ้ ที่ผ่านมา ไม่เคยมีใครจัดการองค์ความรู้เหล่านี้ สังคมชนบทจึงเป็น สังคมแห่งการพึ่งพาอย่างเดียวมาตลอด รอเป็นผู้รับ จึงไม่แปลกที่ ชนบทจะพัฒนายาก เพราะรัฐพยายามหยิบยื่นมากเกินไป นายนิสิต จันทร์สมวงศ์ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กล่าวว่า วันนี้มีนโยบายประชานิยมมากมาย แต่กรมการพัฒนาชุมชน ยัง ต้ อ งการให้ ชุ ม ชนสามารถคิ ด ด้ ว ยตนเองและช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ แบบค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งเป็นเหมือนทางสองแพร่งที่ทำให้การพัฒนา ยั ง ไม่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น รู ป ธรรมที่ ชั ด เจน อย่ า งไรก็ ต าม ตนมองว่ า การ น้อมนำแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ทำให้คนในหมู่บ้าน ต่ อ จากการบรรยายทางวิชาการ เรื่อง “ความสุ ข ชนบท : วั ด ได้ ไม่ต้องออกไปดิ้นรนต่างถิ่น มีความสุขกับเศรษฐกิจที่พอเลี้ยงปาก อย่างไร” โดย ดร.สุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ จากมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นการ เลี้ยงท้องได้ ถ้าหมู่บ้านทั่วประเทศ เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เสวนา พัฒนา “ชนบท” ปลดล็อกประเทศ โดยผู้เข้าร่วมเสวนา 4 คน คือ เป็นหมู่บ้านที่อยู่เย็นเป็นสุข ประเทศไทยก็ปลดล็อกได้ นายเอกลักษณ์ หลุ่มชุมแข กรรมการมูลนิธิกระจกเงา กล่าวถึงปัญหา นายเสวต จันทร์หอม ผู้ใหญ่บ้านบ้านแสงอร่าม ต.กุดหมากไฟ อุปสรรค โอกาสในการพัฒนาชนบทว่า คนที่จะแก้ปัญหาชนบทต้องเรียนรู้ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี บอกเล่าถึงประสบการณ์และทางรอดของ จากคนในพื้นที่ให้มากที่สุด ทั้งวัฒนธรรม การเมืองและความเป็นท้องถิ่น ชาวชนบทว่า การพัฒนาชนบทไม่ใช่พัฒนาสู่การเป็นเมือง มีตึกราม และต้องมองการเปลี่ยนแปลงที่เคลื่อนไปตามระบบทุนด้วย เพราะทุนเป็น บ้านช่องใหญ่โต แต่หมายถึงการพัฒนาปากท้องชาวชนบท เปลี่ยน สิ่งสำคัญในการพัฒนาชนบท ปัญหาอยู่ที่การขาดแคลนทุนหรือเงิน ทำให้ จากการหยิบยื่นความหรูหราเข้าไปให้ เป็นการหาแนวทางให้ชาว ชาวบ้ า นต้ อ งลดคุ ณ ค่ า ความเป็ น ชนบทของตนเอง ด้ ว ยการเอาความ บ้านรักถิ่นฐานบ้านเกิด ราชการต้องมีส่วนร่วมให้กำลังใจและดูแล น่ า สงสารเข้ า มาหาทุ น จากสั งคมเมืองหลวง มากกว่าใช้ความสามารถ ชนบท สำรวจ เก็บข้อมูล สอบถามความต้องการที่แท้จริงของชาว ที่ตนมี การปลดล็อกชนบท จึงต้องแก้เรื่องเศรษฐกิจให้ได้ก่อน ชนบท แล้วช่วยเหลือตามความต้องการนั้น ไม่ใช่ยัดเยียดให้ เอกลักษณ์ หลุ่มชุมแข ธีรศักดิ์ พานิชวิทย์ นิสิต จันทร์สมวงศ์ เสวต จันทร์หอม 11
  • 12. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ บทความ ชุมชน ตัวอยาง แม่บ้านหุบกะพง สร้างอา ในวันนี้ แม่บ้านในสหกรณ์การเกษตรหุบกะพง อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ที่รวมตัวกันจัดตั้งเป็น “กลุ่มสตรีผลิตภัณฑ์ของใช้ ในครั ว เรื อ น” มี ร ายได้ ง ดงามเลี้ ย งตนเองจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องใช้ ในครัวเรือนผสมสมุนไพรต่าง ๆ ทีได้รบการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ่ ั ชุมชน หรือ มผช. เป็นต้นว่า ครีมอาบน้ำ แชมพู ครีมนวดผม โลชั่น บำรุงผิว สบู่ น้ำยาล้างจาน น้ำยาซักผ้า ฯลฯ ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ของตลาด นับจากจัดตั้งกลุ่ม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 โดยผู้ร่วม ก่ อ ตั้ ง 30 คน เงิ น ทุ น ดำเนิ น การ 96,800 บาท และความทุ่ ม เท พยายามเรียนรู้ ปรับปรุงสูตร หาสมุนไพรนั่นนี่ ที่หาได้ในหมู่บ้าน มาทดลองกันเองในกลุ่มมาเรื่อย ๆ อย่างไม่ท้อถอย ปัจจุบันกลุ่มสตรี ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องใช้ ใ นครั ว เรื อ น หุ บ กะพง มี ร ายได้ เ ดื อ นละเกื อ บ 200,000 บาท นางรัศมี มีดา เลขานุการและเหรัญญิกกลุ่ม เล่าว่า “บรรดา แม่บ้านเริ่มรวมตัวกันในปี 2546 แต่มาจริงจังในปี 2547 ระยะแรก ๆ ยังไม่มีสูตรของตัวเอง อาศัยเวลาซื้อวัตถุดิบ คอยถามคนขายว่า ถ้ า อยากได้ ย าสระผมที่ ท ำให้ ผ มนุ่ ม ต้ อ งใส่ อ ะไร น้ ำ ยาล้ า งจาน ลดกลิ่ น คาว ล้ า งสะอาดต้ อ งทำอย่ า งไร หรื อ เวลาไปไหน ถ้ า เจอ 12
  • 13. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ บทความ าชีพสร้างรายได้ด้วยความเพียร ของดี ๆ ก็ จ ะเอามาพั ฒ นาต่ อ ยอดปรั บ ปรุ ง สู ต ร ใช้ เ วลาถึ ง 3 ปี สูตรต่าง ๆ จึงลงตัว และใช้มาจนถึงปัจจุบัน” สองปีแรก พอมีรายได้แค่เสมอตัว ขาดทุนค่าแรง แต่สมาชิก จะได้ของใช้ที่ทำกันเองนั่นแหละกลับไปใช้ที่บ้านทุกวัน กว่าจะเริ่ม มีกำไรในปี 2549 เป็นต้นมา และเพิ่มพูนงอกงามขึ้นเรื่อย ๆ จนมี เงินปันผลถึง 4 แสนบาทเมื่อปี 2554 สมาชิกกลุ่มเพิ่มเป็น 50 คน เพราะความสำเร็ จ ที่ เ กิ ด จากการบอกปากต่ อ ปากของลู ก ค้ า จนกระทั่งปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์เด่นที่ได้รับการคัดสรรในระดับโอทอป 5 ดาวมากมาย คือ ครีมสปาอาบน้ำดอกปีบ-ดอกพุด แชมพูสมุนไพร นอกจากนี้ ยังได้รับความสนใจจากกลุ่มต่าง ๆ แวะเวียนมา อัญชัน-ใบหมี่-ทองพันชั่ง มะกรูด-บอระเพ็ด ครีมนวดผมอัญชัน- ศึ ก ษาดู ง านไม่ ข าดสาย บางวั น ถึ ง กั บ ต้ อ งต้ อ นรั บ คณะดู ง าน ถึ ง ใบหมี่ มะกรูด-ใบหมี่ สบู่สมุนไพรนมแพะ เกลือสปาขัดผิว น้ำยา 8 คณะในวันเดียว กลายเป็นรายได้อีกทางหนึ่งของกลุ่ม ด้วยการ ล้างจาน น้ำยาซักผ้า น้ำยาปรับผ้านุ่ม และน้ำยาซักแห้ง จั ด ฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รการทำของใช้ ใ นครั ว เรื อ นผสมสมุ น ไพร แถมพกด้ ว ยรายได้ เ สริ ม จากการเก็ บ และปลู ก สมุ น ไพรขายให้ กับกลุ่มฯ “รายได้ ใ นปั จ จุ บั น ทำให้ ส มาชิ ก ทุ ก คนยิ้ ม ออก หายเหนื่ อ ย เพราะมีชีวิตดีขึ้นกว่าแต่ก่อน ที่ต้องออกไปทำงานรับจ้างข้างนอก ได้ค่าจ้างไม่เกินวันละ 200 บาท แต่ต้องเสียค่าเดินทางไป-กลับ วั น ละ 70 บาท แล้ ว ยั ง ต้ อ งกิ น ต้ อ งใช้ ร ะหว่ า งทำงาน จนแทบ ไม่เหลือ แต่ทำกับกลุ่มสตรีฯ ได้ค่าแรงวันละ 150 บาท แต่ไม่เสีย ค่าใช้จ่ายเลย แถมยังมีเวลาปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงปลา ฯลฯ มีเงิน เหลือเก็บทุกวัน” ความสำเร็จของกลุ่มสตรีฯ หุบกะพง จึงไม่ได้มาเพราะโชคช่วย หรือด้วยความบังเอิญ สมาชิกทุกคนผ่านการระดมความคิด ร่วมมือ ร่วมแรงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ช่วยกันผลิต ช่วยกันพัฒนาปรับปรุง สินค้า ใช้ภูมิปัญญาและวัตถุดิบในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์ ที่สำคัญ คือ การค่อย ๆ ทำพอประมาณตามกำลังความสามารถ ไม่ลงทุน เกินความจำเป็น แล้วค่อย ๆ ขยับขยายขึ้นมาเรื่อย ๆ ป้ า ยหน้ า ของกลุ่ ม สตรี ฯ คื อ การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง บรรจุ ภั ณ ฑ์ ให้ทันสมัย น่าสนใจ และการขยายตลาดสินค้าออกสู่ภายนอกให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น ความสามัคคีและการเดินบนทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุ มีผล จะเป็นพลังขับเคลื่อนให้กลุ่มสตรีผลิตภัณฑ์ของใช้ในครัวเรือน โครงการหุบกะพง บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ในอีกไม่นานเกินรออย่าง รัศมี มีดา แน่นอน 13
  • 14. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ บทความ อุบลพรรณ สุปัน กลับบ้าน มาสร้าง “บ้าน” ด้วยเวลาเพียง 3 ปี “อุบลพรรณ สุปัน” แห่งบ้านห้วยธนู การทิ้งเงินเดือนเดือนละ 12,000 บาทจากเมืองใหญ่ที่แต่ละเดือน อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ก็สามารถพลิกชีวิตตนเองจากหน้ามือ แทบไม่มีเหลือ กลับมาทำสวน ทำไร่ ที่บ้านด้วยความหวังเต็มเปี่ยม เป็นหลังมือได้ ในวัย 25 ปี และความสุขที่จะได้อยู่กับพร้อมหน้าพร้อมตาทั้งครอบครัว การพลิ ก ชี วิ ต ของอุ บ ลพรรณ จากสาวโรงงานเย็ บ กระเป๋ า ใน แม้จะอยู่ในช่วงเริ่มต้นโครงการ แต่ครอบครัวก็มีรายได้เพิ่มขึ้น จังหวัดสมุทรปราการ กลับบ้านมาเป็นเกษตรกรที่มีสวน มีไร่ มีสัตว์ จากลำไยที่เคยขายได้แค่พันสองพันบาท เมื่อมีน้ำก็ทำให้ได้ผลผลิต เลี้ยง มีอาชีพที่มั่นคง จนสามารถเก็บเงินใช้หนี้ได้หมดภายในหนึ่งปี เพิมมากขึน ข้าวทีปลูกด้วยน้ำและเมล็ดพันธุของปิดทองฯ ก็ได้ผลผลิต ่ ้ ่ ์ และสร้างบ้านของตนเองขึ้นได้ในอีกหนึ่งปีต่อมา ทั้งหมดนี้ได้มา เป็นร้อยถัง จากเดิมที่เคยปลูกข้าวได้แค่ 5-6 ถัง จากความขยัน อดทนและอดออมของเธอและสามี โดยมีปิดทอง หนี้ สิ น ที่ ต้ อ งกู้ ยื ม มาเพื่ อ ปลู ก ข้ า วโพดในอดี ต อุ บ ลพรรณใช้ หลังพระฯ เป็นผู้สนับสนุน ให้โอกาสและให้องค์ความรู้ เวลาเพียงปีเดียว ชำระหนี้สินได้ทั้งหมด ทั้งหนี้สหกรณ์ 50,000 บาท ย้อนกลับไปเมื่อสามปีก่อน อุบลพรรณ กลับมาเยี่ยมบ้าน พบว่า หนี้กองทุนเงินล้าน 20,000 บาท หนี้ค่าปุ๋ย ธ.ก.ส. 7,000-8,000 บาท พ่อแม่สามี เข้าร่วมปิดทองหลังพระฯ เธอก็แทบไม่ต้องคิดเลยกับ หนี้พ่อค้าคนกลางที่กู้มา และไม่เคยต้องกู้อีกเลย เพราะเพียงเอา เมล็ดพันธุขาวโพดปิดทอง 10 กระสอบ ไปปลูกในพืนที่ 20 ไร่ ผลผลิต ์้ ้ ที่ได้เกือบแสนบาท สามารถใช้หนี้ได้หมดในครั้งเดียว อุบลพรรณปลูกยางพารา ลำไย ลิ้นจี่ กะหล่ำ ปลูกไม้กฤษณา แซมในสวน เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ ด้วยน้ำจากบ่อพวงสันเขาของปิดทองฯ มีปุ๋ยอินทรีย์ใส่ในไร่ มีเมล็ดพันธุ์ดี ๆ รายได้ก็เป็นกอบเป็นกำ เมื่อปลายปีที่แล้ว อุบลพรรณลงมือปลูกบ้านด้วยเงินเก็บของ ตนเอง เป็นบ้านชั้นเดียวขนาดย่อม ๆ พออยู่ได้อย่างสบาย 4 คน พ่อ แม่ ลูก สายตาที่อุบลพรรณมองบ้านหลังแรกของตน เต็มไปด้วยความ ภาคภูมิใจ ใบหน้าและแววตาเปื้อนยิ้ม เมื่อบอกว่า เธอตัดสินใจ ไม่ผิดเลยที่กลับบ้านมาใช้ชีวิตตามแนวทางพระราชดำริ 14
  • 15. สาระ...เพื่อการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริ บทความ เรียนรู คูพัฒนา ฝากแม่ไก่ ฟักไข่เป็ด รวบรวมโดย ฝ่ายจัดการความรู้ สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ธรรมชาติ ข องแม่ เ ป็ ดที่ไม่ค่อยกกไข่ ทำให้อัตราการฟัก ถ้าไก่ร้อง “กะต๊าก...กะต๊าก” และเริ่มหารัง แสดงว่ากำลังจะวางไข่ เป็นตัวของไข่เป็ด มีเพียงร้อยละ 50-60 เท่านั้น บาลเย็น สุนันตา เมื่อไก่ไข่แล้ว ให้เอาไข่เป็ดที่เตรียมไว้ไปเปลี่ยนให้แม่ไก่ฟักแทน เกษตรกร อ.ดอยสะเก็ ด จ.เชี ย งใหม่ จึ ง ทดลองใช้ เ ทคนิ ค พิ เ ศษ ในอัตราส่วนแม่ไก่ 1 ตัว ฟักไข่เป็ด 30 ฟอง ที่ประสบความสำเร็จอย่างยอดเยี่ยม นั่นคือ ทำให้ไข่เป็ดฟักเป็นตัว ประมาณสามสั ป ดาห์ ลู ก เป็ ด จะทยอยจิ ก เปลื อ กไข่ อ อกมา ได้เกือบร้อยละ 100 ระยะแรก ให้แยกขังไว้เฉพาะกลุ่มของแม่ไก่กับลูกเป็ดเท่านั้น แม่ไก่ เทคนิคที่ว่า คือ การฝากแม่ไก่ให้ฟักไข่เป็ด ซึ่งนอกจากจะทำให้ จะคุ้ยเขี่ยหาอาหารให้ลูกเป็ดกินเอง พอลูกเป็ดอายุได้ 1 สัปดาห์ ไข่เป็ดมีอัตราการฟักเป็นตัวเพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถเลือกเพศของ จึงขุดปลวกและไส้เดือนให้ลูกเป็ดหัดกิน จากนั้นให้หัดกินปลายข้าว ลูกเป็ดได้ด้วย โดยสังเกตจากไข่เป็ดที่จะนำไปให้แม่ไก่ฟัก จนลูกเป็ดอายุได้ประมาณ 1 เดือน เริ่มมีขนขึ้น ก็เริ่มหัดให้เล่นน้ำ วิธีการ เริ่มด้วยการเลือกไข่ที่จะนำมาฟัก มีข้อสังเกตว่า ถ้าไข่ และให้ อ าหารเสริ ม เช่ น ข้ า วเปลื อ ก ผั ก บุ้ ง สั บ หรื อ หยวกกล้ ว ย ฟองไม่ใหญ่ แต่กลม เป็ดที่ฟักออกมาจะเป็นตัวเมีย ไข่ที่ฟักออกมา จนกระทังลูกเป็ดแข็งแรงดีแล้ว ก็ปล่อยให้หาอาหารเองพร้อมกับฝูง ่ เป็ น ตั ว ผู้ ฟองจะใหญ่ แ ละยาว จึ ง ควรเลื อ กไข่ ที่ ก ลมที่ สุ ด ไปฟั ก ในปัจจุบัน มีการใช้เทคนิค “แม่ไก่ฟักไข่เป็ด” ในพื้นที่ปิดทอง เพื่ อ ให้ ไ ด้ เ ป็ ด แม่ พั น ธุ์ ใ นอนาคต จากนั้นหมั่นสังเกตวันที่ ไ ก่ จ ะไข่ หลังพระฯ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งปรากฏว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจ 15