SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ
               ตามมติคณะรัฐมนตรี
            จัดทาโดย
ว่าที่ ร.ต. บัณฑิต ป้านสวาท
ความเป็นมาจากการที่มีมติคณะรัฐมนตรี
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับเรื่องโพงพาง
ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง คค วันที่มีมติ 24/04/2555
เรื่อง ผลการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี ครั้งที่ 1/2554
สรุปประเด็นข้อเสนอและความคิดเห็นประเด็นสาคัญของมติคณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้
             ๑. รับทราบและเห็นชอบผลการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี ครั้ง
ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่อ วัน ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๔ โดยที่ป ระชุม ได้รับ ทราบความคืบ หน้า ของการ
ดาเนินการตามมติที่ป ระชุมที่ผ่านมา และเห็นชอบในหลักการให้ยุติบ ทบาทโดยยุบ เลิกบริษัท
ไทยเดิน เรือ ทะเล จากัด (บทด.) ส่ว นการดาเนิน การให้เ ป็น อ านาจหน้า ที่ข องผู ้ถ ือ หุ้น คือ
กระทรวงคมนาคมและกระทรวงการคลังรับไปดาเนินการต่อไป และการแก้ไขปัญหาโพงพางกีด
ขวางทางเดินเรือ ซึ่งที่ประชุมมีมติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมประมง เป็นเจ้าภาพ
และให้กองทัพเรือ ตารวจน้า และกรมเจ้าท่าร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหาโพงพางกีด
ขวางทางเดินเรือ บริเวณปากอ่าวแม่น้าเจ้าพระยา จังหวัดสมุทรปราการ บริเวณร่องน้าสงขลา
จัง หวัด สงขลา และบริเ วณแม่น้าแม่ก ลอง จัง หวัด สมุท รสงคราม โดยเร็ว ตามที ่ก ระทรวง
คมนาคมเสนอ
ความเป็นมา
• จากการที่มีคาสั่งจากทางสานักงานจังหวัดโดยท่านผู้ว่า
  ราชการจังหวัดสมุทรสงครามตามมติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้
  ประกอบอาชีพโพงพางรื้อถอนโพงพาง ภายในวัน ๓๐
  กันยายน ๒๕๕๕ โดยอ้างถึงการละเมิดกฎหมาย
  พระราชบัญญัติ การประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ ของประชาชน
ความเป็ นมา
• ๒. ยกเว้นในส่วนของเรื่อง การแก้ไขปั ญหาโพงพางกีดขวางทางเดินเรือ มอบให้กระทรวงคมนาคมเป็ น
  หน่ วยงานเจ้าภาพร่วมกับกระทรวงกลาโหม (กองทัพเรือ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมประมง)
  กระทรวงมหาดไทย (ผูว่าราชการจังหวัดที่เกี่ยวข้อง) สานั กงานตารวจแห่งชาติ (กองบังคับการตารวจ
                         ้
  น้ า) และหน่ วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาแนวทางการแก้ไขปั ญหาดังกล่าวและเร่งดาเนิ นการตาม
  อานาจหน้าที่และตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อไป
•               ๓. ให้รับความเห็นของสานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
    เกี่ยวกับการแก้ปัญหาโพงพางกีดขวางทางเดินเรือ โดยให้นาข้อมูลเกี่ยวกับความจาเป็ นพื้ นฐานของ
    ชาวประมง และทางเลือกอื่นหากต้องเลิกใช้โพงพางเป็ นเครื่องมือในการประกอบอาชีพมาประกอบการ
    พิจารณา เพื่อให้ชาวประมงมีรายได้ที่เพียงพอและบรรเทาความเดือดร้อนจากการปฏิบัติตามกฎหมาย
    ไปประกอบการพิจารณาดาเนิ นการด้วย
• http://www.cabinet.soc.go.th/soc/Program2-
  3.jsp?top_serl=99302829&key_word=%E2%BE%A7%BE%D2%A7&owner_de
  p=&meet_date_dd=&meet_date_mm=&meet_date_yyyy=&doc_id1=&doc_id2
  =&meet_date_dd2=&meet_date_mm2=&meet_date_yyyy2=
ประเด็นปัญหา
• ฝ่ายรัฐแก้ปัญหาแบบไม่คานึงถึงชุมชน
• ไม่มีมาตรการเยียวยา
• ไม่ดูข้อเท็จจริงในพื้นที่
ข้อเท็จจริง
•   รูปแบบโพงพางในจังหวัดสมุทรสงคราม
ข้อเท็จจริง
•    โพงพางในท้องถิ่นสมุทรครามจะกางเรียงกัน
มากสุดไม่เกิน 4 ปาก แต่ส่วนใหญ่จะเป็น 1 ปาก
เราทาแบบพอมีพอกิน เลี้ยงปากเลี้ยงท้องได้เท่านั้น
ข้อเท็จจริง
•    โพงพางในท้องถิ่นอื่นจะกางเรียงกันหลายปาก บางที่กางเรียงกันเป็น 10 ปาก เขาทากันแบบธุรกิจ
ภาพนี้เป็นโพงพางในภาคใต้
ข้อเท็จจริง
•    ภาพเจ้าหน้าที่กรมประมงร่วมกับ
เจ้าท่ารื้อทาลายโพงพางที่ ต. บ้านแหลม
จ. เพชรบุรี
ข้อเท็จจริง
•    ภาพเจ้าหน้าที่กรมประมงร่วมกับ
เจ้าท่ารื้อทาลายโพงพางที่ ต. บ้านแหลม
จ. เพชรบุรี
กระบวนการดาเนินการ
•    ประชุมแกนนาผู้ทาอาชีพโพงพาง เพื่อเตรียมประเด็นพูดคุย
•    จัดเวทีพูดคุยระดมความคิดของชุมชน
•    ดาเนินงานตามแนวทางที่ได้จากเวที
•    รวบรวมข้อมูลการทาอาชีพโพงพางเพื่อนาเสนอหน่อยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันหาทางออก
เช่น การทาวิจัยเพื่อหาข้อดี ข้อเสียเพื่อสรุปว่าโพงพางทาลายสิ่งแวดล้อมและสัตว์น้าวัยอ่อนจริงหรือไม่
•    ประเมินสถานการณ์ จากการดาเนินงาน
•    ปรับปรุงกระบวนการจากบทเรียนที่ได้จากการดาเนินงาน
ประชุมเตรียมงานเวทีระดมความคิด ครั้งที่ 1
เวทีระดมความคิด ครั้งที่ 1
เวทีระดมความคิด ครั้งที่ 1
ผังมโนทัศน์ วิถีชุมชน “อาชีพโพงพาง” เวทีระดมความคิด ครั้งที่ 1
เวทีระดมความคิดเห็นครั้งที่ 2
เวทีระดมความคิดเห็นครั้งที่ 2
ลาดับเหตุการณ์
แผนที่ตาแหน่งของโพงพางในแต่ละคลอง
ข้อดีของโพงพางในมุมมองของผู้ทาอาชีพโพงพาง
ความต้องการของชาวโพงพาง
ข้อเสนอของชาวโพงพาง
ตัวแทนกลุ่มประมงพื้นบ้านที่จะเข้าพบ
หัวหน้าประมงจังหวัดสมุทรสงคราม
การเก็บข้อมูลที่จะนามาวิจัย
การดาเนินการที่ผ่านมาของ
เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง
21 สิงหาคม 2555 : จังหวัดสมุทรสงครามออกประกาศจังหวัดฯ เรื่อง
ให้รื้อถอนเครื่องมือโพงพางที่ไม่ได้รับอนุญาต

27 สิงหาคม 2555 : อาเภอเมืองสมุทรสงครามดาเนินการปิดประกาศ ณ
ที่ว่าการอาเภอและปิดประกาศที่เสาโพงพาง


3 กันยายน 2555 : ชาวบ้าน ต.ยี่สาร ร้องเรียนผ่านประมงจังหวัด
สมุทรสงครามเพื่อขอชะลอการรื้อถอนโพงพาง
10 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลองรวมตัวกันเป็นครั้ง
แรก ณ หอประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม
14 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลองเข้าร่วม
ประชุมกับผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงครามและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อหาทางออกต่อปัญหานี้ โดยผู้ว่าฯ รับทราบปัญหา
        พร้อมกันนั้น
        - เครือข่ายฯ ได้ยื่นหนังสือขอผ่อนผันการดาเนินการยกเลิก
โพงพางต่อผู้ว่าฯ โดยผู้ว่าได้ดาเนินการส่งเรื่องดังกล่าวต่อไปยังกรม
ประมง
        - ยื่นหนังสือขอให้ตรวจสอบการดาเนินการรื้อถอนโพงพางต่อ
คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา
18 กันยายน 2555 : ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงครามส่งหนังสือขอผ่อนผัน
การดาเนินการยกเลิกการทาโพงพางในลาน้าต่ออธิบดีกรมประมง (ที่ สส
0006/1358)
       และ อธิ บ ดี ก รมประมง ส่ ง หนั ง สื อ แจ้ ง ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด
สมุทรสงคราม เรื่อง กาหนดการรื้อถอนเครื่องมือโพงพางที่ไม่ได้รับอนุญาต
โดยกรมประมงได้มอบหมายให้ศูนย์บริหารจัดการประมงทะเลอ่าวไทยตอน
ใน สมุทรปราการเป็นหน่วยงานรับผิดชอบในพื้นที่ ระหว่างวันที่ 24-27
กันยายน 2555 และขอให้ประมงจังหวัดดาเนินการสนับสนุนกาลังเจ้าหน้าที่
ในการสนธิกาลังเพื่อร่วมปฏิบัติงานครั้งนี้ด้วย
21 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ยื่นหนังสือขอ
ติดตามผลการหารือทางออกร่วมกันต่อผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม
พร้อมทั้งยื่นหนังสือเสนอร่างโครงการวิจัย “ศึกษาวิถีประมงพื้นบ้านลุ่มน้้า
แม่กลอง” เพื่อร่วมกระบวนการทาวิจัยแบบมีส่วนร่วมกับหน่วยงานของกรม
ประมง และภาคีอื่นที่เกี่ยวข้อง
24 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ยื่นหนังสือขอทราบผล
การพิจารณาผ่อนผันการยกเลิกการทาโพงพางในลาน้า ต่อรัฐมนตรี กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์
24 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมง
พื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ยื่นหนังสือ ขอผ่อน
ผันฯ ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์
 (คุณฉลอง เทวิทักษ์กิจ หัวหน้าผู้ตรวจ
    ราชการกระทรวงฯ รับหนังสือแทน)
24 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ออกรายการสถานี
ประชาชน สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส โดยมีเจ้าหน้าที่จากกรมประมงเข้าร่วมชี้แจง
25 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง เข้ารับฟัง
การชี้ แ จงของกรมประมงต่ อ กรรมาธิ ก ารทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดล้อม วุฒิสภา
26 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลองยื่นหนังสือ
ขอให้ต รวจสอบการด าเนินการการยกเลิ ก การทาโพงพางในล าน้า จ.
สมุ ทร ส ง คร าม ต่ อ นา ยแ พท ย์ นิ รั นด ร์ พิ ทั กษ์ วั ชร ะ ปร ะธ า น
คณะอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชนและฐานทรัพยากร


1 ตุลาคม 2555 : คณะอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชน และฐานทรัพยากร
ลงพื้นที่ จ.สมุทรสงคราม เพื่อศึกษาตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะต่อ
ชาวบ้าน ณ วัดเขายี่สาร ต.ยี่สาร อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
ความคิดเห็นจากคนทาโพงพาง
ความรู้ที่ได้จากการพูดคุยระดมความคิด

•   ลูกปลาและสัตว์นาวัยอ่อนมักจะอยู่ในปลาชายเลนหรือริมคลองเพราะไม่มีแรงว่ายทวนกระแสน้า มีเพียงสัตว์นาที่โตเต็มวัยแล้ว
                      ้                                                                             ้
    เท่านั้นที่จะว่ายอยู่กลางคลองและเข้าโพงพาง
•   โพงพางส่วนใหญ่ในสมุทรสงครามมีจานวนปากน้อยมากเพราะเรามีคลองเล็ก
•   ปลากดเป็นปลาที่มีผลทาให้สัตว์นาวัยอ่อนอื่นๆ ลดจานวนลง เพราะกินทุกอย่างและปลากดออกไข่ท้ังปี
                                  ้
•   โพงพางช่วยดักขยะที่จะไปทับถมปิดหน้าดินในคลองและทะเล ทาให้ออกซิเจนหน้าดินไม่ลดลง สัตว์น้าหน้าดินก็จะเจริญเติบโต
    ได้ดี
แนวทางแก้ปัญหาจากกระบวนการชุมชน
• ระยะสั้น
    • ทาข้อมูลด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมฝ่ายชุมชนเพื่อนาเสนอกับ ทางผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม
      กรมประมง และกรมเจ้าท่า เพื่อชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของโพงพางต่อชุมชนซึ่งไม่ได้ทาลายสิ่งแวดล้อม
      และขวางทางน้า นาไปสู่การการผ่อนผันการรื้อถอนออกไปอีกระยะหนึ่ง
• ระยะยาว
    • ขอผ่อนผันการรื้อถอนโดยยืดระยะเวลาออกไปอีก ๑ – ๓ ปี เพื่อทาวิจัยหาข้อมูลของการทาอาชีพ
      โพงพาง ว่ามีผลดีผลเสียอย่างไร หากผลดีมีมากก็ให้ร่วมกันปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ เหมาะสมกับ
      ชุมชน(ข้อบัญญัติท้องถิ่น) หากผลสรุปการวิจัยออกมาว่าโพงพางเป็นตัว ทาลายก็ให้ยกเลิกอาชีพนี้
สรุป
               ในมุมมองของผู้จัดทาซึ่งเป็นคนที่อยู่ในชุมชนที่มีอาชีพทาโพงพางและเข้าร่วมกระบวนการด้วย
ข้าพเจ้าคิดว่าภาครัฐทางานโดยใช้ข้อมูลเพียงด้านเดียว อันเกิดจากการที่คิดว่าความรู้กับข้อมูลที่มีอยู่เป็นความรู้ที่
ถูกต้องที่สุด และการใช้อานาจรัฐโดยไม่คานึงสิทธิของบุคคลหรือชุมชนในท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญปี พ .ศ.2550 ซึ่ง
ภาครัฐเห็นกับผลประโยชน์ที่จะได้จากกลุ่มการค้า EU ที่มีนโยบายกีดกันทางการค้าต่อสินค้าประมงของไทยใน
ประเด็นการใช้เครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมาย (รวมถึงโพงพางด้วย) วิธีที่มักง่ายที่สุดที่รัฐทาได้คือการรื้อถอน
โพงพางและนิรโทษกรรมให้กับเรืออวนรากซึ่งทาลายสัตว์นาและท้องทะเลมากกว่าโพงพางอย่างมหาศาล โดยไม่
                                                          ้
คานึงถึงประชาชนในท้องถิ่นว่าจะต้องสูญเสียอาชีพ วิถีชีวิตที่มีความสุขในครอบครัวและการแบ่งบันอาหารใน
ชุมชน ผมมองว่าสิ่งนี้จะเป็นตัวบั่นทอนความเข้มแข็งของชาติให้อ่อนลงและเกิดหายนะในที่สุด ถ้ารัฐยังไม่เปลี่ยน
มุมมองและวิธีคิดแบบนี้
           ผมมองว่าประชาชนและชุมชนมีสิทธิ์ที่จะจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมชุมชนของตนเองรวมถึงการ
แก้ไขกฎหมายให้เหมาะสมกับท้องถิ่นตนเองได้ ตามความในรัฐธรรมนูญมาตรา 66 และ 67 ว่าด้วยสิทธิชุมชนใน
การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นความยั่งยืนของชุมชน ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็น การลุกขึ้นมาของ
ภาคประชาชนเพื่อใช้สิทธิ์ของตนเองครับ
              หนทางที่ดีที่สุดคือภาครัฐกับภาคประชาชนร่วมกันวิจัยถึงข้อเท็จจริงของการทาโพงพางเฉพาะถิ่นให้
ได้รู้ว่าโพงพางในสมุทรสงครามทาลายจริงหรือไม่ กลุ่มชาวประมงพื้นบ้านอาชีพโพงพางยินดีเลิกทาอาชีพนี้หาก
ผลสรุปการวิจัยออกมาว่าโพงพางเป็นตัวทาลายครับ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
•   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
•   มาตรา ๖๖ บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิ
    ปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติและมีส่วนร่วมในการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จาก
    ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน
•   มาตรา ๖๗ สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บารุงรักษาและการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ
    ความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องใน
    สิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้ เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความ
    เหมาะสม
•   การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ
    และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัด
    ให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การ
    เอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้าน
    สุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว
•   สิทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้
    ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
•   มาตรา ๘๕ รัฐต้องดาเนินการตามแนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้
•   (๑) กาหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยให้คานึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน
    ผืนน้า วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น และการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และกาหนดมาตรฐานการใช้ที่ดินอย่าง
    ยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินนั้นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วย
•   (๒) กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรมและดาเนินการให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่าง
    ทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือ วิธีอื่น รวมทั้งจัดหาแหล่งน้าเพื่อให้เกษตรกรมีน้าใช้อย่างพอเพียงและเหมาะสมแก่การ เกษตร
•   (๓) จัดให้มีการวางผังเมือง พัฒนา และดาเนินการตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษา
    ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
•   (๔) จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้าและทรัพยากรธรรมชาติอื่นอย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ทั้งต้องให้
    ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล
•   (๕) ส่งเสริม บารุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดจนควบคุมและกาจัดภาวะมลพิษที่มีผลต่อ
    สุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีส่วน
    ร่วมในการกาหนดแนวทางการดาเนินงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
•   มาตรา ๒๒๓ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง
    ส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน หรือระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
    องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน อันเนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครองตาม
    กฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
    หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ รวมทั้งมีอานาจพิจารณาพิพากษาเรื่องที่รัฐธรรมนูญหรือ
    กฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจของศาลปกครอง
•   อานาจ ศาลปกครองตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นการใช้อานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญ
    ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญนั้น
•   ให้มีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ด้วยก็ได้
•   มาตรา ๒๘๖ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเข้า ชื่อร้องขอต่อประธานสภาท้องถิ่นเพื่อให้สภาท้องถิ่น
    พิจารณาออกข้อบัญญัติ ท้องถิ่นได้
•   จานวนผู้มีสิทธิเข้าชื่อ หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่กฎหมาย บัญญัติ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
•   มาตรา ๒๘๙ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอานาจหน้าที่บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดี
    ของท้องถิ่น
•   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีสิทธิที่จะจัดการศึกษาอบรม และการฝึกอาชีพตามความเหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่นนั้น
    และเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรมของรัฐโดยคานึงถึงความสอดคล้องกับมาตรฐานและระบบการศึกษาของชาติ
•   การจัดการศึกษาอบรมภายในท้องถิ่นตามวรรคสอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องคานึงถึงการบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิ
    ปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นด้วย
•
•   ลิ้งค์ http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law1&folderName=% C306&lawPath=%C306-10-
    9999-UPDATE
•
ลิ้งค์ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๔๙๐
HTTP://APP-
THCA.KRISDIKA.GO.TH/NATURESIG/CHECKSIG?WHICHLAW=LAW2&FOLDERNAME=%A125&LAWPATH=%A12
5-20-2515-U0001

More Related Content

Similar to ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3

เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่Chanapun Kongsomnug
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคน ขี้เล่า
 
9789740335702
97897403357029789740335702
9789740335702CUPress
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์Moddang Tampoem
 
การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...
การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...
การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...Nutty Professor
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำpacharawanwaii
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)Wigrom Suadee
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 somdetpittayakom school
 
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDFแผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDFSuthat Wannalert
 
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDFแผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDFSuthat Wannalert
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวchkchp
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวchkchp
 

Similar to ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3 (20)

เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
9789740335702
97897403357029789740335702
9789740335702
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...
การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...
การประชุมหารือเพื่อบูรณาการความร่วมมือในการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อป้องกันแล...
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำ
 
254 8
254 8254 8
254 8
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ไฟล์นำเสนอ(2)
 
ภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 66หน้า
ภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 66หน้าภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 66หน้า
ภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 66หน้า
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
 
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDFแผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
 
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDFแผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการปะการังของประเทศไทยระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2565 - 2569).PDF
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 

More from บัณฑิต ป้านสวาท

ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลองความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลองบัณฑิต ป้านสวาท
 
ข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทย
ข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทยข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทย
ข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทยบัณฑิต ป้านสวาท
 
การถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัย
การถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัยการถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัย
การถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัยบัณฑิต ป้านสวาท
 

More from บัณฑิต ป้านสวาท (7)

สัมนาสถานะการณ์ประเทศไทย
สัมนาสถานะการณ์ประเทศไทยสัมนาสถานะการณ์ประเทศไทย
สัมนาสถานะการณ์ประเทศไทย
 
ภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 50หน้า
ภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 50หน้าภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 50หน้า
ภาค2 เวที อ่าว ก 10พค 50หน้า
 
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลองความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
 
ข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทย
ข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทยข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทย
ข้อมูลก๊าซและน้ำมันในประเทศไทย
 
การถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัย
การถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัยการถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัย
การถอดรหัสภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัย
 
หลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลมหลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลม
 
เวทียุทธศาตร์สภาภาคตะวันตก
เวทียุทธศาตร์สภาภาคตะวันตกเวทียุทธศาตร์สภาภาคตะวันตก
เวทียุทธศาตร์สภาภาคตะวันตก
 

ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3

  • 1. ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ ตามมติคณะรัฐมนตรี จัดทาโดย ว่าที่ ร.ต. บัณฑิต ป้านสวาท
  • 2. ความเป็นมาจากการที่มีมติคณะรัฐมนตรี มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับเรื่องโพงพาง ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง คค วันที่มีมติ 24/04/2555 เรื่อง ผลการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี ครั้งที่ 1/2554 สรุปประเด็นข้อเสนอและความคิดเห็นประเด็นสาคัญของมติคณะรัฐมนตรีมีมติ ดังนี้ ๑. รับทราบและเห็นชอบผลการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี ครั้ง ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่อ วัน ที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๔ โดยที่ป ระชุม ได้รับ ทราบความคืบ หน้า ของการ ดาเนินการตามมติที่ป ระชุมที่ผ่านมา และเห็นชอบในหลักการให้ยุติบ ทบาทโดยยุบ เลิกบริษัท ไทยเดิน เรือ ทะเล จากัด (บทด.) ส่ว นการดาเนิน การให้เ ป็น อ านาจหน้า ที่ข องผู ้ถ ือ หุ้น คือ กระทรวงคมนาคมและกระทรวงการคลังรับไปดาเนินการต่อไป และการแก้ไขปัญหาโพงพางกีด ขวางทางเดินเรือ ซึ่งที่ประชุมมีมติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมประมง เป็นเจ้าภาพ และให้กองทัพเรือ ตารวจน้า และกรมเจ้าท่าร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหาโพงพางกีด ขวางทางเดินเรือ บริเวณปากอ่าวแม่น้าเจ้าพระยา จังหวัดสมุทรปราการ บริเวณร่องน้าสงขลา จัง หวัด สงขลา และบริเ วณแม่น้าแม่ก ลอง จัง หวัด สมุท รสงคราม โดยเร็ว ตามที ่ก ระทรวง คมนาคมเสนอ
  • 3. ความเป็นมา • จากการที่มีคาสั่งจากทางสานักงานจังหวัดโดยท่านผู้ว่า ราชการจังหวัดสมุทรสงครามตามมติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ ประกอบอาชีพโพงพางรื้อถอนโพงพาง ภายในวัน ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ โดยอ้างถึงการละเมิดกฎหมาย พระราชบัญญัติ การประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ ของประชาชน
  • 4. ความเป็ นมา • ๒. ยกเว้นในส่วนของเรื่อง การแก้ไขปั ญหาโพงพางกีดขวางทางเดินเรือ มอบให้กระทรวงคมนาคมเป็ น หน่ วยงานเจ้าภาพร่วมกับกระทรวงกลาโหม (กองทัพเรือ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมประมง) กระทรวงมหาดไทย (ผูว่าราชการจังหวัดที่เกี่ยวข้อง) สานั กงานตารวจแห่งชาติ (กองบังคับการตารวจ ้ น้ า) และหน่ วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาแนวทางการแก้ไขปั ญหาดังกล่าวและเร่งดาเนิ นการตาม อานาจหน้าที่และตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อไป • ๓. ให้รับความเห็นของสานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เกี่ยวกับการแก้ปัญหาโพงพางกีดขวางทางเดินเรือ โดยให้นาข้อมูลเกี่ยวกับความจาเป็ นพื้ นฐานของ ชาวประมง และทางเลือกอื่นหากต้องเลิกใช้โพงพางเป็ นเครื่องมือในการประกอบอาชีพมาประกอบการ พิจารณา เพื่อให้ชาวประมงมีรายได้ที่เพียงพอและบรรเทาความเดือดร้อนจากการปฏิบัติตามกฎหมาย ไปประกอบการพิจารณาดาเนิ นการด้วย • http://www.cabinet.soc.go.th/soc/Program2- 3.jsp?top_serl=99302829&key_word=%E2%BE%A7%BE%D2%A7&owner_de p=&meet_date_dd=&meet_date_mm=&meet_date_yyyy=&doc_id1=&doc_id2 =&meet_date_dd2=&meet_date_mm2=&meet_date_yyyy2=
  • 6. ข้อเท็จจริง • รูปแบบโพงพางในจังหวัดสมุทรสงคราม
  • 7. ข้อเท็จจริง • โพงพางในท้องถิ่นสมุทรครามจะกางเรียงกัน มากสุดไม่เกิน 4 ปาก แต่ส่วนใหญ่จะเป็น 1 ปาก เราทาแบบพอมีพอกิน เลี้ยงปากเลี้ยงท้องได้เท่านั้น
  • 8. ข้อเท็จจริง • โพงพางในท้องถิ่นอื่นจะกางเรียงกันหลายปาก บางที่กางเรียงกันเป็น 10 ปาก เขาทากันแบบธุรกิจ ภาพนี้เป็นโพงพางในภาคใต้
  • 9. ข้อเท็จจริง • ภาพเจ้าหน้าที่กรมประมงร่วมกับ เจ้าท่ารื้อทาลายโพงพางที่ ต. บ้านแหลม จ. เพชรบุรี
  • 10. ข้อเท็จจริง • ภาพเจ้าหน้าที่กรมประมงร่วมกับ เจ้าท่ารื้อทาลายโพงพางที่ ต. บ้านแหลม จ. เพชรบุรี
  • 11. กระบวนการดาเนินการ • ประชุมแกนนาผู้ทาอาชีพโพงพาง เพื่อเตรียมประเด็นพูดคุย • จัดเวทีพูดคุยระดมความคิดของชุมชน • ดาเนินงานตามแนวทางที่ได้จากเวที • รวบรวมข้อมูลการทาอาชีพโพงพางเพื่อนาเสนอหน่อยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันหาทางออก เช่น การทาวิจัยเพื่อหาข้อดี ข้อเสียเพื่อสรุปว่าโพงพางทาลายสิ่งแวดล้อมและสัตว์น้าวัยอ่อนจริงหรือไม่ • ประเมินสถานการณ์ จากการดาเนินงาน • ปรับปรุงกระบวนการจากบทเรียนที่ได้จากการดาเนินงาน
  • 13.
  • 16. ผังมโนทัศน์ วิถีชุมชน “อาชีพโพงพาง” เวทีระดมความคิด ครั้งที่ 1
  • 27. 21 สิงหาคม 2555 : จังหวัดสมุทรสงครามออกประกาศจังหวัดฯ เรื่อง ให้รื้อถอนเครื่องมือโพงพางที่ไม่ได้รับอนุญาต 27 สิงหาคม 2555 : อาเภอเมืองสมุทรสงครามดาเนินการปิดประกาศ ณ ที่ว่าการอาเภอและปิดประกาศที่เสาโพงพาง 3 กันยายน 2555 : ชาวบ้าน ต.ยี่สาร ร้องเรียนผ่านประมงจังหวัด สมุทรสงครามเพื่อขอชะลอการรื้อถอนโพงพาง
  • 28. 10 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลองรวมตัวกันเป็นครั้ง แรก ณ หอประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม
  • 29. 14 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลองเข้าร่วม ประชุมกับผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงครามและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาทางออกต่อปัญหานี้ โดยผู้ว่าฯ รับทราบปัญหา พร้อมกันนั้น - เครือข่ายฯ ได้ยื่นหนังสือขอผ่อนผันการดาเนินการยกเลิก โพงพางต่อผู้ว่าฯ โดยผู้ว่าได้ดาเนินการส่งเรื่องดังกล่าวต่อไปยังกรม ประมง - ยื่นหนังสือขอให้ตรวจสอบการดาเนินการรื้อถอนโพงพางต่อ คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา
  • 30. 18 กันยายน 2555 : ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงครามส่งหนังสือขอผ่อนผัน การดาเนินการยกเลิกการทาโพงพางในลาน้าต่ออธิบดีกรมประมง (ที่ สส 0006/1358) และ อธิ บ ดี ก รมประมง ส่ ง หนั ง สื อ แจ้ ง ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด สมุทรสงคราม เรื่อง กาหนดการรื้อถอนเครื่องมือโพงพางที่ไม่ได้รับอนุญาต โดยกรมประมงได้มอบหมายให้ศูนย์บริหารจัดการประมงทะเลอ่าวไทยตอน ใน สมุทรปราการเป็นหน่วยงานรับผิดชอบในพื้นที่ ระหว่างวันที่ 24-27 กันยายน 2555 และขอให้ประมงจังหวัดดาเนินการสนับสนุนกาลังเจ้าหน้าที่ ในการสนธิกาลังเพื่อร่วมปฏิบัติงานครั้งนี้ด้วย
  • 31. 21 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ยื่นหนังสือขอ ติดตามผลการหารือทางออกร่วมกันต่อผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม พร้อมทั้งยื่นหนังสือเสนอร่างโครงการวิจัย “ศึกษาวิถีประมงพื้นบ้านลุ่มน้้า แม่กลอง” เพื่อร่วมกระบวนการทาวิจัยแบบมีส่วนร่วมกับหน่วยงานของกรม ประมง และภาคีอื่นที่เกี่ยวข้อง
  • 32. 24 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ยื่นหนังสือขอทราบผล การพิจารณาผ่อนผันการยกเลิกการทาโพงพางในลาน้า ต่อรัฐมนตรี กระทรวงเกษตร และสหกรณ์
  • 33. 24 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมง พื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ยื่นหนังสือ ขอผ่อน ผันฯ ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ (คุณฉลอง เทวิทักษ์กิจ หัวหน้าผู้ตรวจ ราชการกระทรวงฯ รับหนังสือแทน)
  • 34. 24 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง ออกรายการสถานี ประชาชน สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส โดยมีเจ้าหน้าที่จากกรมประมงเข้าร่วมชี้แจง
  • 35. 25 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลอง เข้ารับฟัง การชี้ แ จงของกรมประมงต่ อ กรรมาธิ ก ารทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม วุฒิสภา
  • 36. 26 กันยายน 2555 : เครือข่ายประมงพื้นบ้านลุ่มน้าแม่กลองยื่นหนังสือ ขอให้ต รวจสอบการด าเนินการการยกเลิ ก การทาโพงพางในล าน้า จ. สมุ ทร ส ง คร าม ต่ อ นา ยแ พท ย์ นิ รั นด ร์ พิ ทั กษ์ วั ชร ะ ปร ะธ า น คณะอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชนและฐานทรัพยากร 1 ตุลาคม 2555 : คณะอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชน และฐานทรัพยากร ลงพื้นที่ จ.สมุทรสงคราม เพื่อศึกษาตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะต่อ ชาวบ้าน ณ วัดเขายี่สาร ต.ยี่สาร อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
  • 38. ความรู้ที่ได้จากการพูดคุยระดมความคิด • ลูกปลาและสัตว์นาวัยอ่อนมักจะอยู่ในปลาชายเลนหรือริมคลองเพราะไม่มีแรงว่ายทวนกระแสน้า มีเพียงสัตว์นาที่โตเต็มวัยแล้ว ้ ้ เท่านั้นที่จะว่ายอยู่กลางคลองและเข้าโพงพาง • โพงพางส่วนใหญ่ในสมุทรสงครามมีจานวนปากน้อยมากเพราะเรามีคลองเล็ก • ปลากดเป็นปลาที่มีผลทาให้สัตว์นาวัยอ่อนอื่นๆ ลดจานวนลง เพราะกินทุกอย่างและปลากดออกไข่ท้ังปี ้ • โพงพางช่วยดักขยะที่จะไปทับถมปิดหน้าดินในคลองและทะเล ทาให้ออกซิเจนหน้าดินไม่ลดลง สัตว์น้าหน้าดินก็จะเจริญเติบโต ได้ดี
  • 39. แนวทางแก้ปัญหาจากกระบวนการชุมชน • ระยะสั้น • ทาข้อมูลด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมฝ่ายชุมชนเพื่อนาเสนอกับ ทางผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม กรมประมง และกรมเจ้าท่า เพื่อชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของโพงพางต่อชุมชนซึ่งไม่ได้ทาลายสิ่งแวดล้อม และขวางทางน้า นาไปสู่การการผ่อนผันการรื้อถอนออกไปอีกระยะหนึ่ง • ระยะยาว • ขอผ่อนผันการรื้อถอนโดยยืดระยะเวลาออกไปอีก ๑ – ๓ ปี เพื่อทาวิจัยหาข้อมูลของการทาอาชีพ โพงพาง ว่ามีผลดีผลเสียอย่างไร หากผลดีมีมากก็ให้ร่วมกันปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ เหมาะสมกับ ชุมชน(ข้อบัญญัติท้องถิ่น) หากผลสรุปการวิจัยออกมาว่าโพงพางเป็นตัว ทาลายก็ให้ยกเลิกอาชีพนี้
  • 40. สรุป ในมุมมองของผู้จัดทาซึ่งเป็นคนที่อยู่ในชุมชนที่มีอาชีพทาโพงพางและเข้าร่วมกระบวนการด้วย ข้าพเจ้าคิดว่าภาครัฐทางานโดยใช้ข้อมูลเพียงด้านเดียว อันเกิดจากการที่คิดว่าความรู้กับข้อมูลที่มีอยู่เป็นความรู้ที่ ถูกต้องที่สุด และการใช้อานาจรัฐโดยไม่คานึงสิทธิของบุคคลหรือชุมชนในท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญปี พ .ศ.2550 ซึ่ง ภาครัฐเห็นกับผลประโยชน์ที่จะได้จากกลุ่มการค้า EU ที่มีนโยบายกีดกันทางการค้าต่อสินค้าประมงของไทยใน ประเด็นการใช้เครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมาย (รวมถึงโพงพางด้วย) วิธีที่มักง่ายที่สุดที่รัฐทาได้คือการรื้อถอน โพงพางและนิรโทษกรรมให้กับเรืออวนรากซึ่งทาลายสัตว์นาและท้องทะเลมากกว่าโพงพางอย่างมหาศาล โดยไม่ ้ คานึงถึงประชาชนในท้องถิ่นว่าจะต้องสูญเสียอาชีพ วิถีชีวิตที่มีความสุขในครอบครัวและการแบ่งบันอาหารใน ชุมชน ผมมองว่าสิ่งนี้จะเป็นตัวบั่นทอนความเข้มแข็งของชาติให้อ่อนลงและเกิดหายนะในที่สุด ถ้ารัฐยังไม่เปลี่ยน มุมมองและวิธีคิดแบบนี้ ผมมองว่าประชาชนและชุมชนมีสิทธิ์ที่จะจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมชุมชนของตนเองรวมถึงการ แก้ไขกฎหมายให้เหมาะสมกับท้องถิ่นตนเองได้ ตามความในรัฐธรรมนูญมาตรา 66 และ 67 ว่าด้วยสิทธิชุมชนใน การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นความยั่งยืนของชุมชน ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็น การลุกขึ้นมาของ ภาคประชาชนเพื่อใช้สิทธิ์ของตนเองครับ หนทางที่ดีที่สุดคือภาครัฐกับภาคประชาชนร่วมกันวิจัยถึงข้อเท็จจริงของการทาโพงพางเฉพาะถิ่นให้ ได้รู้ว่าโพงพางในสมุทรสงครามทาลายจริงหรือไม่ กลุ่มชาวประมงพื้นบ้านอาชีพโพงพางยินดีเลิกทาอาชีพนี้หาก ผลสรุปการวิจัยออกมาว่าโพงพางเป็นตัวทาลายครับ
  • 41. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ • มาตรา ๖๖ บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติและมีส่วนร่วมในการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน • มาตรา ๖๗ สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บารุงรักษาและการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องใน สิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้ เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความ เหมาะสม • การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัด ให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การ เอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้าน สุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว • สิทธิของชุมชนที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง
  • 42. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • มาตรา ๘๕ รัฐต้องดาเนินการตามแนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้ • (๑) กาหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยให้คานึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้า วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น และการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และกาหนดมาตรฐานการใช้ที่ดินอย่าง ยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินนั้นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วย • (๒) กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรมและดาเนินการให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่าง ทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือ วิธีอื่น รวมทั้งจัดหาแหล่งน้าเพื่อให้เกษตรกรมีน้าใช้อย่างพอเพียงและเหมาะสมแก่การ เกษตร • (๓) จัดให้มีการวางผังเมือง พัฒนา และดาเนินการตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน • (๔) จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้าและทรัพยากรธรรมชาติอื่นอย่างเป็นระบบและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ทั้งต้องให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล • (๕) ส่งเสริม บารุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดจนควบคุมและกาจัดภาวะมลพิษที่มีผลต่อ สุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีส่วน ร่วมในการกาหนดแนวทางการดาเนินงาน
  • 43. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • มาตรา ๒๒๓ ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน หรือระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน อันเนื่องมาจากการใช้อานาจทางปกครองตาม กฎหมาย หรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ รวมทั้งมีอานาจพิจารณาพิพากษาเรื่องที่รัฐธรรมนูญหรือ กฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจของศาลปกครอง • อานาจ ศาลปกครองตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นการใช้อานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญ ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญนั้น • ให้มีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ด้วยก็ได้ • มาตรา ๒๘๖ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเข้า ชื่อร้องขอต่อประธานสภาท้องถิ่นเพื่อให้สภาท้องถิ่น พิจารณาออกข้อบัญญัติ ท้องถิ่นได้ • จานวนผู้มีสิทธิเข้าชื่อ หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมทั้งการตรวจสอบรายชื่อ ให้เป็นไปตามที่กฎหมาย บัญญัติ
  • 44. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • มาตรา ๒๘๙ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอานาจหน้าที่บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดี ของท้องถิ่น • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีสิทธิที่จะจัดการศึกษาอบรม และการฝึกอาชีพตามความเหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่นนั้น และเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรมของรัฐโดยคานึงถึงความสอดคล้องกับมาตรฐานและระบบการศึกษาของชาติ • การจัดการศึกษาอบรมภายในท้องถิ่นตามวรรคสอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องคานึงถึงการบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นด้วย • • ลิ้งค์ http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law1&folderName=% C306&lawPath=%C306-10- 9999-UPDATE •
  • 45. ลิ้งค์ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ๒๔๙๐ HTTP://APP- THCA.KRISDIKA.GO.TH/NATURESIG/CHECKSIG?WHICHLAW=LAW2&FOLDERNAME=%A125&LAWPATH=%A12 5-20-2515-U0001