SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
BDC412 SECTION : 3011
ทวีปออสเตรเลีย
ประวัติศาสตร์ ทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนีย
ออสเตรเลียเป็นทวีปเกือบสุดท้ายที่ชาวยุโรปเดินทางมาพบ ก่อนหน้านี้ชาวยุโรป ไม่ทราบว่ายังมีดินแดนทางตอนใต้เพียงแต่คาดว่าน่าจะมี ในสมัยกรีก
โบราณ ในแผนที่โลก โดยแสดงให้เห็นว่าทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา มีดินแดนเชื่อมต่อกับทางตอนใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งปิดล้อม มหาสมุทรอินเดียไว้และตั้ง
ชื่อดินแดนส่วนนั้นว่า “แทร์รา อินคอกนิตา” แปลว่า ดินแดนที่ยังไม่รู้จัก และได้เปลี่ยนเป็นชื่อออสเตรเลียในเวลาต่อมา
ชาวดัตช์และลูกเรือของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์เป็นคนขาวพวกแรกที่เห็นทวีปออสเตรเลียต่อมาชาวดัตช์ได้เรียกชื่อดินแดนที่ตนค้นพบว่า นิว
ฮอลแลนด์ แต่ก็ไม่ได้คิดเข้าครอบครองเพราะในสายตาของชาวดัตช์ ทวีปออสเตรเลียเป็นดินแดนของคนป่าเถื่อน ในเวลาต่อมาออสเตรเลียถูกอังกฤษยึดพื้นที่
และเปลี่ยนเป็นแหล่งกักกันและทารุณนักโทษ
เวลาผ่านไปมีการจัดระเบียบนักโทษดีมากขึ้น มีการคัดนักโทษที่มีความรู้ความสามารถมาทาประโยชน์ เช่น ปลูกสิ่งก่อสร้างต่างๆ มีการจัดทาเงินเหรียญตั้ง
ธนาคาร และส่งเสริมการเกษตร ทาให้รัฐบาลอังกฤษเริ่มคิดจัดตั้งออสเตรเลียให้เป็นดินแดนสาหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวเสรีชน โดยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พัฒนาการในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
การเมืองการปกครอง
นับแต่ ค.ศ. ๑๘๒๑ เป็นต้นมา รัฐบาลอังกฤษได้ส่งเสริมให้เสรีชนเดินทางมาตั้งหลักแหล่งในออสเตรเลีย พวกอดีตนักโทษหมดบทบาทในสังคม เกิดการ
ขยายชุมชนและการจัดตั้งรัฐต่างๆ ขึ้นเป็นอิสระจากกันโดยแต่ละรัฐมีข้าหลวงปกครองเอง
ใน ค.ศ. 1851 ได้มีการค้นพบทองคาในรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรีย ทาให้ชาวตะวันตกและชาติต่างๆ พากันอพยพหลั่งไหลเข้ามาเพื่อเสี่ยงโชคและ
ดาเนินธุรกิจ ผู้อพยพส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลางที่มีการศึกษาดี
ใน ค.ศ. 1910 รัฐต่างๆ ได้รวมตัวกันเป็นประเทศ เรียกว่า เครือรัฐออสเตรเลีย จัดการปกครองในรูปแบบของสหพันธรัฐ แต่ในปัจจุบันออสเตรเลียเป็น
ประเทศหนึ่งในจานวน 54 ประเทศที่เป็นสมาชิกของเครือจักรภพ ที่มีองค์ประมุขของอังกฤษเป็นผู้นา โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 2 ทรงแต่งตั้ง
ผู้สาเร็จราชการเป็นผู้แทนพระองค์ปะจาในออสเตรเลีย ส่วนพระองค์ทรงอยู่ในฐานะสมเด็จพระราชินีนาถแห่งออสเตรเลีย
สังคมและศิลปวัฒนธรรม
ความเสมอภาคของคนขาว
ในทศวรรษ 1850 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการค้นพบทองคานั้น ผู้อพยพส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นพวกชนชั้นกลาง ที่มีวัฒนธรรมความเป็นอยู่ เชื้อชาติ และลัทธิศาสนาที่
แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงจากชาวตะวันตก ทาให้ชาวอาณานิคมออสเตรเลียเริ่มมีอคติต่อคนผิวเหลืองจนก่อให้เกิดความรังเกียจและต่อต้าน อันนาไปสู่การออก
กฎหมายของรัฐต่างๆ เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาอยู่อาศัยของคนผิวเหลืองรวมทั้งคนผิวดา ต่อมาหลังจากออสเตรเลียจัดตั้งเป็นเครือรัฐออสเตรเลียแล้ว รัฐบาล
กลางได้ออกพระราชบัญญัติหลายฉบับเพื่อกีดกันการอพยพของคนผิวเหลืองรวมทั้งคนผิวดา กลายเป็นนโยบายของประเทศ เรียกว่า นโยบายออสเตรเลียสีผิว
ขาว ซึ่งรัฐบาลออสเตรเลียได้ดาเนินนโยบายดังกล่าวติดต่อกันมาเป็นเวลาหลายสิบปีและเพิ่งยกเลิกไปในช่วงทศวรรษ 1960
การสร้างสังคมนานาชาติและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างออสเตรเลียกับอังกฤษทั้งด้านสังคมและวัฒนธรรมที่มีมาเริ่มเปลี่ยนแปลง ทาให้ออสเตรเลียมี
ลักษณะเป็นสังคมนานาชาติที่มีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม อีกทั้งวัฒนธรรมการกินอยู่และแนวคิดแบบอเมริกันที่ทหารอเมริกันนามาเผยแผ่ในช่วง
สงครามโลก ทาให้ชาวออสเตรเลียเริ่มเปิดตัวต่อสังคมโลกมากขึ้น
อิทธิพลของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนียต่อสังคมโลก
วัฒนธรรมออสแตรเลียมีลักษณะเป็นวัฒนธรรมตะวันตก ขณะเดียวกันก็คงเอกลักษณ์เฉพาะของชนพื้นเมืองอยู่ รัฐบาลออสเตรเลียได้ให้ความสนใจและ
ยอมรับความสาคัญของชาวอะบอริจินิสในฐานะชนพื้นเมืองของออสเตรเลีย ก่อให้เกิดการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการของคนพื้นเมืองขึ้น ศิลปวัฒนธรรมของชาวอะ
บอริจินิสได้รับการสนับสนุนทางด้านการเงินจากรัฐบาล รวมทั้งมีการรวบรวมและเผยแพร่งานศิลปะอะบอริจินิสอย่างกวางขวางไปทั่วโลกซึ่งเป็นที่นิยมชื่น
ชอบทั้งภายในและภายนอกประเทศ จนมีการจัดแสดงศิลปะอะบอริจินิสทั้งที่เป็นภาพเขียนและศิลปวัตถุในพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ ที่มีชื่อเสียงในประเทศต่างๆ
นอกจากนี้ ออสเตรเลียยังเป็นประเทศผู้นาอีกประเทศหนึ่งในด้านวิทยุ โทรทัศน์ อุตสาหกรรมบันทึกเสียง รวมทั้งอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่เริ่มต้นมาตั้งแต่
ค.ศ. 1896 และเริ่มเป็นที่รู้จักกันดีในปลายทศวรรษ 1960 ใน ค.ศ. 1973 มีการจัดตั้งโรงเรียนภาพยนตร์โทรทัศน์และวิทยุแห่งออสเตรเลียขึ้น ปัจจุบันนับว่า
อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของออสเตรเลียประสบความสาเร็จอย่างมากและนักแสดงชาวออสเตรเลียก็เป็นที่รู้จักกันอย่างดี
มรดกชิ้นสาคัญของออสเตรเลียที่ทิ้งไว้ให้แก่ชาวโลก คือ วิธีการลงคะแนนเสียงโดยวิธีลับในการเลือกตั้ง ออสเตรเลียเป็นประเทศแรกในโลกที่ใช้วิธีการนี้
ตั้งแต่ ค.ศ. 1856 ซึ่งแต่แรกนั้นเรียกว่า การลงคะแนนเสียงแบบออสเตรเลีย
ที่ตั้งและอาณาเขต
ทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่อยู่ในซีกโลกใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก มีเนื้อที่ประมาณ 7.6 ล้านตารางกิโลเมตร มีขอบเขต
ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับทะเลติมอร์ และทะเลอาราฟูรา ดินแดนที่อยู่เหนือสุดคือ แหลมยอร์ก อยู่ที่ตอนปลายสุดของคาบสมุทรเคปยอร์ก มีช่องแคบทอร์
เรส กั้นระหว่างเกาะนิวกินี กับทวีปออสเตรเลีย, อ่าวคาเฟนทาเรีย
ทิศตะวันออก ติดกับทะเลคอรัล และทะเลเทสมัน บริเวณที่อยู่ด้านตะวันออกสุดของทวีปคือแหลมไบรอน
ทิศใต้ ติดกับมหาสมุทรอินเดีย อ่าวเกรดออสเตรเลียไบส์ ส่วนที่อยู่ใต้สุดของออสเตรเลีย คือ แหลมวิลสัน มีช่องแคบบาสส์ กั้นระหว่างเกาะแทส
เมเนียกับตัวทวีป
ทิศตะวันตก ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนที่อยู่ด้านตะวันตกสุดของทวีปคือ แหลมสตีป
ลักษณะภูมิประเทศ
ตามลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา ภูมิประเทศของทวีปออสเตรเลียอาจจะแบ่งออกได้ 3 เขตใหญ่ๆ ดังนี้
1. เขตเทือกสูงทางตะวันออก มีเทือกเขาสูงเป็นแนวยาวจากเหนือมาใต้ของทวีป ขนานกับชายฝั่งตะวันออก ตั้งแต่ตอนใต้ของคาบสมุทรเคปยอร์กจนถึงช่อง
แคบบาสส์ เป็นระยะทางยาวประมาณ 3,500 กิโลเมตร เรียกว่า เทือกเขาเกรตดิไวดิง
2. เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก มีเนื้อที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของทวีป ภายในที่ราบสูงนี้มีเทือกเขาเตี้ยๆ ตั้งอยู่ใกล้ขอบด้านตะวันตกและด้านตะวันออก คือ
เทือกเขาดาร์ลิงและเทือกเขาแฮเมอร์สลีย์ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตก เทือกเขาแมกดอนเนลล์และเทือกเขามัสเกรฟ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก
3. เขตที่ราบภาคกลาง ประกอบด้วยที่ราบขนาดใหญ่ 4 แห่ง อยู่ระหว่างเขตเทือกเขาสูงทางตะวันออก กับ เขตที่ราบหินเก่าทางตะวันตก ได้แก่
ที่ราบอ่าวคาร์เปนตาเรีย เป็นที่ราบอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทวีป มีแม่น้าสายสั้นๆ ไหลลงอ่าวคาร์เปนตาเรีย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า
ที่ราบลุ่มทะเลสาบแอร์ เป็นที่ราบลุ่มรอบๆ ทะเลสาบแอร์ ซึ่งเป็นทะเลสาบน้าเค็มที่ใหญ่ที่สุดของทวีปออสเตรเลีย
ที่ราบลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์-ดาร์ลิง เป็นที่ราบใหญ่และสาคัญที่สุดของทวีปออสเตรเลีย
ที่ราบลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์ และ แม่น้าดาร์ลิง ซึ่งจะไหลลงทะเลที่อ่าวเกรตออสเตรเลียไบท์ ทางตอนใต้
ลักษณะภูมิอากาศ
จากที่ตั้งและรูปร่างลักษณะของทวีปออสเตรเลีย มีผลต่อลมฟ้าอากาศของทวีปออสเตรเลีย ทั้งหมด 6 ลักษณะ ดังนี้
1.เขตภูมิอากาศทุ่งหญ้าเมืองร้อน (TROPICAL SAVANA CLIMATE) ได้แก่ดินแดนทางตอนเหนือสุดของทวีป และคาบสมุทรยอร์ก ในฤดูร้อนจะมีลม
มรสุมพัดมาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ นาฝนมาตกบ้างเล็กน้อย แต่ในฤดูหนาวอากาศแห้งแล้ง
2. เขตภูมิอากาศแบบทะเลทราย (DESERT CLIMATE) ได้แก่บริเวณตอนกลางของที่ราบสูงด้านตะวันตกของทวีปออสเตรเลีย เป็นเขตที่มีอุณหภูมิสูงและ
ได้รับฝนน้อยมาก บริเวณนี้มีทะเลทรายสาคัญ คือ ทะเลทรายเกรตแซนดี อยุ่ทางตอนเหนือ ทะเลทรายกิบสัน ทางด้านตะวันออก
3.เขตภูมือากาศแบบกึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น (SEMI-DESERT CLIMATE) เป็นบริเวณที่ราบรอบๆ ทะเลทรายซึ่งเป็นบริเวณขอบด้านนอกทั้งหมดของเขต
ที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก เป็นบริเวณที่มีภูมิอากาศแห้งแล้ง ฝนตกน้อย พืชพันธุ์ธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า
4.เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (MADITERRANEAN CLIMATE) ได้แก่บริเวณชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้ของทวีป และบริเวณชายฝั่งด้าน
ตะวันตกของอ่าวเกรตออสเตรเลียไลท์ เป็นบริเวณที่มีภูมิอากาศอบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว ส่วนฤดูร้อนอากาศจะร้อน เป็นเขตปลูกพืชผลไม้ที่สาคัญของ
ออสเตรเลีย
5.เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น (HUMID SUBTROPICAL CLIMATE) ได้แก่บริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปออสเตรเลีย เป็นบริเวณที่มี
อากาศอบอุ่น อุณหภูมิปานกลาง ฝนตกตลอดปี
6.เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก (MARINE WEST COAST CLIMATE) ได้แก่บริเวณชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เป็น
บริเวณที่มีภูมิอากาศอบอุ่นในฤดูร้อน ฤดูหนาวอากาศจะหนาว มีฝนตกกระจายตลอดปี เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมประจาตะวันตก
ทรัพยากรและอาชีพ
การเพาะปลูก พืชสาคัญที่ปลูกมากในออสเตรเลียได้แก่ ข้าวสาลี ซึ่งส่งเป็นสินค้าออกมาเป็นอันดับ 4 ของโลกบริเวณที่ปลูกข้าวสาลีมากได้แก่บริเวณ
เขตภูมิอากาศอบอุ่น ที่ราบชายฝั่งด้านตะวันออกเฉียงใต้ทางตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย จะใช้ในการเพาะปลูกพืชเมืองร้อนที่สาคัญ
ได้แก่ อ้อย ฝ้าย ยาสูบ ในรัฐควีนแลนด์
การเลี้ยงสัตว์ แกะเป็นสัตว์เลี้ยงทีสาคัญและมีชื่อเสียงมากทีสุดของโลก ออสเตรเลียมีแกะพันธุ์ที่ให้ทั้งขนและเนื้อคุณภาพดีทีสุด คือ แกะพันธุ์เมอริโน เขต
เลี้ยงแกะที่สาคัญได้แก่บริเวณรัฐนิวเซาท์เวลส์ และควีนแลนด์ บริเวณทุ่งหญ้ารอบๆ เขตที่ราบหินเก่าด้านตะวันตกจะใช้ในการเลี้ยงวัวเนื้อ
การล่าสัตว์ ชาวพื้นเมืองของออสเตรเลียเป็นพวกที่มีเชื้อชาติ อะบอริจิน ซึ่งดารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ สัตว์ที่ล่าได้แก่ จิ้งโจ้ ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีอยู่เฉพาะทวีป
ออสเตรเลียเท่านั้น นอกจากนี้ก็มีสุนัขป่าชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ดิงโก ในเขตทะเลสาบแอร์
ป่ าไม้ ในเขตอาอาศชื้นทางชายฝั่งด้านตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย ป่าส่วนใหญ่เป็นป่ายูคาลิปตัส
การประมง ออสเตรเลียทาการประมงกันมากทางชายฝั่งด้านตะวันออกของทวีป บริเวณทะเลติมอร์ ทะเลอาลาฟูลา ซึ่งเป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุมมากที่สุด
แห่งหนึ่งของโลก ปลาที่จับได้ส่วนใหญ่ได้แก่ ปลาทูนา ปลาแซลมอน
การขุดแร่ ทวีปออสเตรเลียมีแร่ที่มีค่า เช่น
– เหล็ก ที่เมืองไอออนน็อบ (IRON KNOB)
– ถ่านหิน ที่เมืองซิดนีย์ (SYDNEY)
– ทองคา ที่เมืองคาลกูร์ลี (KALGOORLIE)
– ดีบุก ที่เมืองเฮอร์เบอร์ตัน (HERBERTON)
– น้ามัน ที่อ่าวเอ็ดซมัช โรมา ในรัฐควีนแลนด์
อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมในออสเตรเลียยังไม่ค่อยก้าวหน้ามากนัก เนื่องจากขาคแคลนแรงงาน และมีประชากรอยู่น้อย ทาให้ค่าจ้างแรงงานสูง
มาก อุตสาหกรรมที่สาคัญส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากสัตว์เช่น ขนแกะ
นิวซีแลนด์ (New Zealand)
ข้อมูลทั่วไป
ปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
พื้นที่รวม 268,021 ตร.กม.
ความหนาแน่น 16.8คน /ตร.กม.
อานาจการซื้อ 186.476 พันล้านดอลล่านิวซีแลนด์
เมืองหลวงเวลลิงตัน , เมืองใหญ่ที่สุด โอ๊คแลนด์
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ
ประวัติและความเป็นมา
แต่เดิมปกครองโดยเผ่าเมารี
ต่อมามีนักล่องเรือชาวดัตช์ ชื่อ ทวินเจตด้า เปตโต้มาที่เกาะ และได้พบกับชาวเมารี จึงได้เป็น
มิตรกันและตั้งชื่อเกาะนี้ว่า New Zealand และได้มีชื่อเสียงไปยังทวีปยุโรป เพราะธรรมชาติ
ที่สวยงาม เหมาะแก่การเพาะปลูก,เลี้ยงสัตว์
ต่อมา เจมส์ คุก ได้ล่องเรือมาที่เกาะ และได้เจรจากับชาวเมารี พบว่าชาวเมารีเป็นสายเลือด
นักรบ จึงได้ทาการแลกเปลี่ยนพืชพันธุ์ กับ อาวุธจากทางยุโรป
ชาวเมารีมีอาวุธมากจนเกินไป ให้เกิดการสู้รบกันเองทาให้ เผ่าเมารีลดน้อยลง
ทางอังกฤษจึงได้ส่งคนมาทาสัญญาที่มีชื่อว่า สนธิสัญญา ไวตางี และส่งคนมาสาเร็จราชการ
แทน
การแบ่งเขตการปกครอง
ตอนที่เริ่มตั้งถิ่นฐาน นิวซีแลนด์ได้แบ่งเป็นจังหวัดต่าง ๆ ซึ่งได้ยกเลิกไปใน พ.ศ. 2419
เพื่อให้จัดการปกครองแบบศูนย์กลาง เนื่องด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ทาให้นิวซีแลนด์
ไม่มีการแบ่งการปกครองเป็นระดับรัฐ จังหวัด หรือเขต นอกจากรัฐบาลท้องถิ่น
รัฐบาลท้องถิ่นได้ปกครองภูมิภาคต่าง ๆ ของนิวซีแลนด์ เนื่องจากแต่เดิมเป็นอาณานิคม
ของอังกฤษ รัฐบาลท้องถิ่นของนิวซีแลนด์จึงได้ออกแบบตามโครงสร้างรัฐบาลท้องถิ่น
ของอังกฤษโดยมีสภาท้องถิ่นเป็นผู้ดูแล
ในปัจจุบัน ได้แบ่งเป็น/ระดับ สภาภูมิภาค และ สภาดินแดน
เศรษฐกิจ
นิวซีแลนด์ เป็นประเทศหนึ่งในเขตแปซิฟิกที่มีการทาอุตสาหกรรม เช่น การต่อ
เรือ โรงงานเบียร์ไวท์ โรงงานปลากระป๋ อง แต่ส่วนใหญ่การอุตสาหกรรมใน
นิวซีแลนด์มีน้อยมาก
มีการทาอุตสาหกรรมการเกษตร เช่นการทาผลไม้กระป๋ อง
อุตสาหกรรมการขุดแร่ เช่น ถ่านหิน เหล็ก
อุตสาหกรรมป่าไม้และ ยังมีการเพาะปลูกที่ทาให้นิวซีแลนด์มีรายได้มากส่วน
หนึ่ง เช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์และ ผลไม้เช่น สตรอเบอรี่ และแอปเปิล
เป็นต้น
การท่องเที่ยว นิวซีแลด์เป็นประเทศหนึ่งที่มีการส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว และ
เน้นธรรมชาติเป็นหลัก
ประชากร
นิวซีแลนด์ส่วนใหญ่มีเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ ส่วนชนเผ่าพื้นเมืองเรียกว่า
ชาวเมารี (Maori) มีอยู่ประมาณ 151,100 คน ซึ่งมีสิทธิทางสังคมเทียบเท่ากับชาว
ผิวขาวทุกอย่าง โดยรัฐบาลกลางอังกฤษให้ความคุมครองทั่วถึง
ประชากรทั้งหมด4,570,038ล้านคน ชาวยุโรปผิวขาว54% , ชาวเมารี7.4% ,
ลูกครึ่งและเอเชีย 9.7%
ชาวนิวซีแลนด์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนส์
ภุมิศาสตร์
แบ่งเป็น2เกาะหลัก และเกาะเล็กๆอีกหลายเกาะ ตั้งอยู่กลางกระแสน้าแบ่งซีกโลกเหนือ
ละใต้
ประเทศมีแหล่งน้าคลอบคลุมทั้งประเทศ
เป็นประเทศอันดับ7ของโลก ที่มีพื้นที่ทางน้าซึ่งมีควมสาคัญทางเศรษฐกิจ
จุดสงสุด คือ ภูเขาไฟ Aoraki ทางตอนใต้และ ภูเขาไฟ Mount Ruapehu ทางตอนเหนือ
มี4ฤดู คือ ฤดูร้อน เดือนธค.-กพ. , ฤดูใบมีร่วง เดือนมีค.-พค. ฤดูหนาว เดือนมิย. – สค.
ฤดูใบไม้ผลิ กย. – พย.
เนื่องจากตั้งอยู่ในโซนอากาศอบอุ่น ทาให้มีอากาศอบอุ่นชุ่มชื้นตลอดปี ฤดูร้อนอากาศ
ค่อนข้างเย็น ฤดูหนาวไม่หนาวจัดมาก มีฝนตกตลอดปี
เกาะทางเหนืออากาศอบอุ่นชื้นทั่วทั้งเกาะ , เกาะทางใต้ช่วงฤดูใบไม้ร่วงย่างเข้าฤดูหนาว
หิมะจะปรกคลุม
ประเทศใกล้เคียง คือ ออสเตเรีย โดยมีทะเลกั้น
วัฒนธรรมและสังคม
-คล้ายคลึ่งกับคนยุโรปและอเมริกันและวัฒนธรรมของชาวเผ่าเมารีเป็นวัฒนธรรมที่มีความเคร่งครัดใน
เรื่องขนบธรรมเนียม และแบบพิธี
-คนนิวซีแลนด์โดยทั่วไปเป็นคนอัธยาศัยดี มีน้าใจเอื้อเฟื้อ และช่วยเหลือผู้เดินทาง การทิปเป็นสิ่งไม่
จาเป็น บางครั้งบริกรจะปฎิเสธเงินค่าทิป
ภัยธรรมชาติ
สภาพอากาศที่แปรปรวนเป็นภัยธรรมชาติ ที่พบมากที่สุดในนิวซีแลนด์ แม้นิวซีแลนด์จะไม่ใช่เขตที่จะ
เกิดพายุไซโคลนได้โดยตรง แต่พายุทั้งจากเขตร้อนและขั้วโลกก็สามารถเข้ามาถึงนิวซีแลนด์ได้หลาย
ครั้งต่อปี ทาให้เกิดฝนตกประมาณ 7 – 10 วันในช่วงที่มีพายุเข้ามา
แผ่นดินไหวรุนแรง – ที่นิวซีแลนด์เผชิญกับแผ่นดินไหวที่ไม่รุนแรงประมาณ 14000 ครั้ง/ปี มีประมาณ
200 ครั้ง/ปีที่มีการสั่นไหวจนรู้สึกได้ และก่อให้เกิดความเสียหายและบางครั้งมีผู้เสียชีวิต
ในนิวซีแลนด์ไม่มีสัตว์ที่เป็นพิษหรือเป็นอันตราย ทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์เลื้อยคลาน มีเพียงแค่
แมลงบางชนิดที่อาจจะทาให้เจ็บได้หากโดนมันกัด และก็มีแมงมุมบางชนิดที่อยู่ตามชายฝั่ง นอกนั้นก็
ไม่มีอันตรายอะไร
การคมนาคมและขนส่งสินค้า
นิวซีแลนด์มีระบบพื้นฐานการคมนาคม การขนส่ง และการ
ติดต่อสื่อสารดีเยี่ยมระดับโลก
สายการบินนานาชาติต่างบินเข้าออกเขตเมืองทั้ง 7 แห่งของ
นิวซีแลนด์
เรือขนส่งสินค้ากว่า 30 เส้นทางแล่นเข้าท่าเรือน้าลึกของนิวซีแลนด์
และมีค่าขนส่งของขึ้นเรือใหญ่ที่ค่อนข้างต่า
นิวซีแลนด์มีเส้นทางรถไฟ และถนนหนทางที่เชื่อมเกาะต่างๆเข้า
ด้วยกัน
การติดต่อสื่อสารที่พัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานการติดต่อโทรคมนาคมในนิวซีแลนด์มีเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงใต้น้าและระบบโครงข่ายโทรศัพท์บน
ภาคพื้นดิน
โครงข่าย Southern Cross cable สามารถส่งสัญญาณความเร็ว 240
กิ๊กกะบิต/วินาที ไปยังสหรัฐอเมริกา ฮาวาย ออสเตรเลีย และฟิจิได้
และในปัจจุบันกาลังจะมีการขยายเพิ่มเป็น 480 กิ๊กกะบิต/วินาที
นิวซีแลนด์มีโครงข่าย 4G ให้บริการในบริเวณชุมชนใหญ่ๆแล้ว
และคาดว่าจะขยายครอบคลุมเขตจังหวัดต่างๆในปี 2015
ออสเตรเลีย (Australia)
การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปครั้งแรกที่มีการบันทึกไว้ เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2149 เป็นเรือของชาวดัตช์ โดยกัปตัน Willem Janszoon ทาแผนที่ชายฝั่งส่วนหนึ่ง
ของออสเตรเลีย ระหว่างปีพ.ศ. 2149 และ 2313 มีเรือของชาวยุโรปประมาณ 54 ลาจากหลายชาติเดินทางมาที่ออสเตรเลีย ซึ่งรู้จักในขณะนั้นว่านิวฮอลแลนด์ ในปี
พ.ศ. 2313 เจมส์ คุก เดินทางมาสารวจออสเตรเลียและทาแผนที่ชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย และได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร ให้ชื่อ
ว่านิวเซาท์เวลส์ ต่อมาสหราชอาณาจักรใช้ออสเตรเลียเป็นอาณานิคมสาหรับนักโทษ (penal colony) ฝูงเรือแรกเดินทางมาถึงออสเตรเลียที่อ่าวซิดนีย์
การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปครั้งแรกที่มีการบันทึกไว้ เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2149 เป็นเรือของชาวดัตช์ โดยกัปตัน Willem Janszoon ทาแผนที่ชายฝั่งส่วนหนึ่ง
ของออสเตรเลีย ระหว่างปีพ.ศ. 2149 และ 2313 มีเรือของชาวยุโรปประมาณ 54 ลาจากหลายชาติเดินทางมาที่ออสเตรเลีย ซึ่งรู้จักในขณะนั้นว่านิวฮอลแลนด์ ในปี
พ.ศ. 2313 เจมส์ คุก เดินทางมาสารวจออสเตรเลียและทาแผนที่ชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย และได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร ให้ชื่อ
ว่านิวเซาท์เวลส์ ต่อมาสหราชอาณาจักรใช้ออสเตรเลียเป็นอาณานิคมสาหรับนักโทษ (penal colony) ฝูงเรือแรกเดินทางมาถึงออสเตรเลียที่อ่าวซิดนีย์
ประวัติศาสตร์
– ในประเทศออสเตรเลียพบว่ามีประชากรเข้ามาอาศัยเมื่อประมาณ 40,000-50,000ปี ที่แล้วโดยอพยพไปจากทวีปเอเชียและหมู่เกาะใกล้เคียง ภายหลัง จึงมีการ
อพยพคนจากทางยุโรบโดยเฉพาะจากประเทศอังกฤษเข้าไปอยู่อาศัย
การเมือง
– เคยตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักรแต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงภายในประเทศมากนัก แต่ในภายหลังได้เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบ
ประชาธิปไตยโดยมีประธานาธิบดีหรือนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลปกครองประเทศ
ภูมิศาสตร์
– ออสเตรเลียมีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปร้อยละ 65 เป็นที่ราบสูง และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทะเลทรายที่แห้งแล้งและทุรกันดาร และ
มีขนาดทะเลทรายรวมกันใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทะเลทรายสะฮาราในทวีปแอฟริกา ชาวออสเตรเลียเรียกดินแดนที่แห้งแล้งและทุรกันดารนี้ว่า
“เอาต์แบ็ก”
สภาพภูมิอากาศประเทศออสเตรเลียตั้งอยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร กว่าหนึ่งในสามของประเทศตั้งอยู่ในเขตร้อน และส่วนที่เหลือตั้งอยู่ในเขตอบอุ่น อย่างไร
ก็ตามออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีขนาดกว้างใหญ่ จึงมีสภาพภูมิอากาศที่หลากหลายโดยทั่วไปแล้วอากาศจะเย็นสบาย แต่บริเวณที่ราบสูง ที่ราบในแทสมาเนีย
และบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศมีอากาศหนาวเย็น ส่วนภูมิอากาศทางตอนเหนือของประเทศนั้นมีลักษณะคล้ายคลึงกับภูมิอากาศทั่วไปในเขตเอเชีย
และแปซิฟิค
จานวนประชากร
– ประเทศออสเตรเลียมีประชากรทั้งหมด 19 ล้านคน ส่วนมากอทศัยอยู่ทางชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก
เฉียงใต้และในแทสมาเนีย ซึ่งประมาณ 85% ของประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ใกล้หรืติดชายฝั่งทะเล ชาวออสเตรเลียใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการและดาเนิน
ชีวิตแบบตะวันตก ประเทศออสเตรเลียเปรียบเสมือนบ้านของคนจาดทั่วทุกมุมโลก ประชากรประมาณ 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมดที่อาศัยในประเทศ
ออสเตรเลียเป็นชาวต่างชาติ ทั้งจากเอเชีย ยุโรป อังกฤษ และ อเมริกา
วัฒนธรรม
– เนื่องจากประชากรแต่เดิมส่วนใหญ่อพยพมาจากทวีปยุโรป จึงทาให้วัฒนธรรมเป็นแบบตะวันตก โดยเฉพาะแบบอังกฤษประชากรส่วนใหญ่จะนับถือศาสนา
คริสต์
ออสเตรเลียมีความจาเป็นที่จะต้องป้องกันไม่ให้มีการนาเชื้อโรค และศัตรูพืชเข้ามาในประเทศ ทางประเทศออสเตรเลียจึงมีการตรวจตราอย่างเคร่งคัด ที่
สนามบินโดยเจ้าหน้าที่แผนกกักกันโรค เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเฉพาะตัวของประเทศออสเตรเลีย
วิถีชีวิต
อย่างที่ทราบกันดีว่า ออสเตรเลียนั้นเป็นพหุวัฒนธรรม และค่อนข้างเป็นประเทศที่เปิดเสรีทางความคิด มีอัธยาศัยดี
วิถีชีวิตของชาวออสเตรเลียนั้น ค่อนข้างเรียบง่ายและรักธรรมชาติ มีความสนใจในกีฬา และศิลปะทุกแขนง และมีสวนสาธารณะมากมายให้ไปนั่งพักผ่อน และ
แลกเปลี่ยนความคิด ระหว่างกัน
อาหารการกิน
ที่ออสเตรเลีย เป็นแหล่งที่มีอาหารหลากหลายที่สุดในโลกที่หนึ่ง มีทั้งอาหาร เวียดนาม ไทย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น อิตาเลียน ฯ ซึ่งมีให้เลือกได้ตลอดทั้งปี ไม่ว่าจะ
เป็นอาหารสดต่างๆ อาหารทะเล เพราะมีทั้งการทาการเกษตร และการประมงตลอดทั้งปีไม่ว่าจะเป็นฤดูกาลใด
สาธารณรัฐฟิจิ (Republic of Fiji)
ประวัติศาสตร์
ฟิจิมีชนพื้นเมืองอาศัยกระจัดกระจายอยู่บนเกาะต่าง ๆ มาราว 3,500 ปีมาแล้ว ชนพื้นเมืองมักต่อต่อสู้แย่งชิงอานาจกัน ต่อมาคาโคบาอูซึ่งเป็นหัวหน้าของชน
เผ่าหนึ่งสามารถรวบรวมชนเผ่าต่างๆให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และสถาปนาให้เป็นกษัตริย์ฟิจิ ต่อมาได้มีผู้ค้นพบหมู่เกาะ และ ดินแดนฟิจิ เป็นนักสารวจ
ชาวเนเธอร์แลนด์ (ดัตช์) ที่มีชื่อว่า เอเบล ทัชแมน (ค.ศ. 1603 - 1659)
ภูมิประเทศ
สาธารณรัฐฟิจิ ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ทิศตะวันตกเป็นประเทศวานูอาตู ทิศตะวันออกเป็นประเทศตองกา และทางทิศเหนือคือ
ประเทศตูวาลู ประกอบด้วยเกาะ 322 เกาะ แต่มีประชากรอาศัยอยู่เพียง 106 เกาะ เป็นเกาะหินภูเขาไฟ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีพื้นที่ราบเพียงเล็กน้อย
พื้นที่ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยป่าไม้ และต้นมะพร้าวบริเวณชายฝั่ง บริเวณที่แห้งแล้งเป็นทุ่งหญ้า หรือใช้ใน การทาไร่อ้อย มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
เศรษฐกิจการค้า
ฟิจิเคยเป็นประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดประเทศหนึ่งในแถบภูมิภาค
แปซิฟิก อุตสาหกรรมที่สาคัญที่สุดของฟิจิ คือ น้าตาล เสื้อผ้าสาเร็จรูป ทองคา และการ
ท่องเที่ยว แต่เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก จึงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมสาคัญต่างๆ
ของฟิจิจนถึงปัจจุบัน ทาให้เศรษฐกิจและการค้าฟิจิประสบภาวะถดถอย ยกเว้นเหมือง
ทองคาที่มีสภาวะที่ดีขึ้น
ภาพรวมประเทศ
สาธารณรัฐฟิจิ ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ทิศตะวันตกเป็นประ
เทศวานูอาตู ทิศตะวันออกเป็นประเทศตองกา และทางทิศเหนือคือประเทศตูวาลู
ประกอบด้วยเกาะ 322 เกาะ แต่มีประชากรอาศัยอยู่เพียง 106 เกาะ เป็นเกาะหิน
ภูเขาไฟ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีพื้นที่ราบเพียงเล็กน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่ปกคลุม
ด้วยป่าไม้และต้นมะพร้าวบริเวณชายฝั่ง บริเวณที่แห้งแล้งเป็นทุ่งหญ้า หรือใช้ใน การ
ทาไร่อ้อย มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
สาธารณรัฐฟิจิ มีกรุงซูวาเป็นเมืองหลวง และเป็นที่ตั้งของสถานที่ราชการและหน่วยงานผู้แทนต่างประเทศ และมีเมืองนาดีเป็นเมืองท่องเที่ยว ซึ่งเป็นเมือง
ชายทะเลและเป็นศูนย์กลางของฟิจิที่สามารถเชื่อมต่อไปยังหมู่เกาะต่างๆ ผ่านท่าเรือ Denarau ได้แก่ เกาะ South Sea เกาะ Mana และเกาะ Beachcomber รายได้
หลักที่สาคัญของฟิจิมาจากธุรกิจท่องเที่ยวแบบครบวงจรของเมืองนาดี ได้แก่ โรงแรมหรือรีสอร์ท ร้านอาหาร การจัด package ทัวร์ตามเกาะต่าง ๆ และการขายของ
ที่ระลึกพื้นเมือง เมืองนาดีมีโรงแรมหรือรีสอร์ ระดับ 4-5 ดาวหลายแห่งที่บริการนักท่องเที่ยวต่างชาติอยู่บนเกาะ Denarau
การคมนาคม
ระบบคมนาคมและระบบโครงสร้างพื้นฐานของฟิจิ ยังไม่ทันสมัยและต้องการปรับปรุง โดยได้รับความช่วยเหลือจากเงินทุนนอกประเทศ อาทิ Asian Develop
Bank (ADB) ให้การสนับสนุนการสร้างถนนและท่าเรืออุตสาหกรรม ญี่ปุ่นให้เงินสนับสนุนการสร้างโรงกรองน้า และประเทศจีนให้ทุนสร้างสะพานเชื่อม
เกาะนาวูโซและเงินสนับสนุนรัฐบาลด้านโทรคมนาคน การลงทุน การปรับปรุงคุณภาพของระบบขนส่งและระบบเตือนภัยจากแผ่นดินไหว
ท่าอากาศยานระหว่างประเทศของฟิจิมีสองแห่งคือ
1. ท่าอากาศยานระหว่างประเทศที่เมืองนาดี (Nadi) ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ Viti Levu และอยู่ห่างจากกรุงซูวา (Suva) 3 ชั่วโมงโดยรถยนต์
2. ท่าอากาศยานระหว่างประเทศที่เมือง Nausori ใช้เวลาเดินทาง 30 นาทีจากตัวเมืองซูวา มีอัตรา ค่าโดยสารแท๊กซี่ประมาณ 20 ฟิจิดอลลาร์
ปาปัวนิวกินี ( Papua New Guinea )
เกาะที่เป็นที่ตั้งของประเทศปาปัวนิวกินี(ทางตะวันออก)และจังหวัดปาปัวของอินโดนีเซีย(ทางตะวันตก) นั้น มีชื่อเรียกว่าเกาะนิวกินี(New Guinea) เป็ยเกาะที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก รองจากกรีนแลนด์ เกาะนี้ถูกค้นพบโดยนักเดินเรือชาวสเปน เมื่อพบว่าประชากรบนเกาะซึ่งเป็นชาวเมลานีเซียน
(Melanesian)นั้นมีลักษณะผิวคล้า ผมหยิกเหมือนกับชาวกินีในแอฟริกา จึงเรียกเกาะนี้ว่า Nueva Guinea หรือ New Guinea
ต่อมาเกาะนี้ถูกครอบครองโดยชาวตะวันตก โดยเนเธอร์แลนด์ได้ยึดครองด้านตะวันตกของเกาะ ทางตะวันออกเฉียงเหนือถูกเยอรมนียึดครอง ตะวันออกเฉียงใต้
เป็นของอังกฤษ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมนีได้เสียสิทธิในการครองครองนิวกินีไป
สงครามโลกครั้งที่ 2 เกาะนี้ถูกญี่ปุ่นยึดครอง
หลังจากที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จบลง อาณานิคมต่างๆก็ได้เอกราช รวมทั้งอินโดนีเซียด้วย เกาะนิวกินีอยู่ภายใต้การดูแลของสหประชาชาติและออสเตรเลียจนมี
การลงข้อตกลง New York Agreement ปี 1962 ให้อินโดนีเซียครอบครองซีกตะวันตกของเกาะในปี 1963 และได้เปลี่ยนชื่อเขตนี้เป็น Irian Jaya หรือ "แดนร้อน
แห่งชัยชนะ"
ส่วนซีกตะวันออกอยู่ภายใต้การดูแลของ UN จนปี 1975 จึงได้เอกราชเป็นประเทศปาปัวนิวกินี
กลับมาที่ฟากตะวันตกของนิวกินี คืออิเรียนจายา หากลองมาวิเคราะห์ลักษณะประชากร และขนบธรรมเนียมต่างๆแล้ว จะพบว่า ประชากรส่วนใหญ่ที่
อินโดนีเซียเรียกว่าปาปัว(แปลจากภาษามาเลย์ว่า "หัวหยิกหยอย") นั้น เป็นชาวเมลานีเซียผิวคล้า มีหลายเผ่าทั้งอัสมัต ดานี กอรอวาอิ ฯลฯ มีการนับถือวิญญาณ
บรรพบุรุษ มีขนบการเลี้ยงหมู(หมูเป็นสัตว์มีค่ามาก) และมีการกินเนื้อมนุษย์ (ปัจจุบันเลิกไปแล้ว) แทบจะไม่มีอะไรคล้ายกับชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่ที่เป็นคน
เอเชียผิวเหลือง นับถือศาสนาอิสลามเลย แต่อินโดนีเซียอ้างว่า ดินแดนนิวกินีเป็นดินแดนทางประวัติศาสตร์ เนื่องจากในอดีตเคยมีการติดต่อกับอาณาจักร
โบราณในแถบอินโดนีเซีย และเคยเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์มาเหมือนกัน
จากการที่มีการลงข้อตกลงนิยอร์คในปี 1962 นั้น แม้ทางสหรัฐฯจะมองว่าอิเรียนจายาต่างจากอินโดนีเซีย แต่เนื่องจากต้องการให้อินโดนีเซียเป็นพันธมิตรเพื่อ
ป้องกันคอมมิวนิสต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงให้เขตนี้อยู่ภายใต้การปกครองของอินโดนีเซีย อินโดนีเซียจึงได้สิทธิในการครองครองด้านตะวันตกของเกาะ
และได้จัดให้มีการลงประชามติอีกครั้งในปี 1969 Act of Free Choice พบว่าชาวปาปัวต้องการอยู่กับอินโดนีเซีย (ในภายหลังมีผู้มาเปิดเผยว่า ทางการอินโดนีเซีย
ใช้วิธีการบังคับลงคะแนนกับชาวปาปัว)
ประวัติศาสตร์
มีชาวพื้นเมืองชื่อว่า ชาวปาปัว ประเทศปาปัวนิวกินีเป็นประเทศที่เปลี่ยน
เจ้าของอยู่บ่อย ๆ อังกฤษ เช่น ประเทศประเทศเยอรมนี ประเทศ
ออสเตรเลีย
การเมือง
ปกครองแบบสภาเดียว
ภูมิศาสตร์
มีลักษณะเป็นภูเขาและชายฝั่งทะเลเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของโลก
(รองจากเกาะกรีนแลนด์) ตั้งอยู่ทิศเหนือของประเทศออสเตรเลีย ทิศ
ตะวันตกติดกับอินโดนีเซีย
เศรษฐกิจ
ปาปัวนิวกินีเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ทรัพยากรทางทะเล ทองคา ทองแดง น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ รายได้หลักของประเทศ
ขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมการประมง เหมืองทองแดง เหมืองทองคา และการท่องเที่ยว ส่วนด้านเกษตรกรรม ส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูกกาแฟ โกโก้ และ
มะพร้าว ประเทศคู่ค้าที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศนิวซีแลนด์ สินค้าส่งออกที่สาคัญ
ได้แก่ ทองคา น้ามันดิบ กาแฟ ทองแดง ซุง กาแฟ และสัตว์ทะเล ส่วนสินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ น้ามัน เครื่องจักรและอุปกรณ์การขนส่ง ส่วนประกอบ
รถยนต์ อาหาร และเชื้อเพลิง
รัฐบาลควบคุมสถานะการคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ อัตราเงินเฟ้อต่า อัตราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ เศรษฐกิจได้รับผลดีจากผลผลิตเหมืองแร่ที่เพิ่มขึ้น และราคา
สินค้าส่งออกเพิ่มสูงขึ้นได้แก่ ทอง น้ามันดิบ ทองแท่ง เป็นผลให้การส่งออกในช่วงไตรมาสของปีขยายตัวร้อยละ 14 เมื่อเทียบกับปีก่อน และคาดว่าในปีนี้ดุลบัญชี
เดินสะพัดจะเกินดุลและเศรษฐกิจโดยรวมจะเติบโตในทิศทางที่ดี อย่างไรก็ตาม ในเดือน มี.ค. 2549 UN ได้เสนอปรับสถานะการพัฒนาของปาปัวนิวกินีจาก
ประเทศกาลังพัฒนาเป็นประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (LDCs) ซึ่ง นรม. Sir Michael ปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าว
รัฐบาลพยายามดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ขยายการส่งออก (Export-led economy) แสวงหาความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย (look north) และมีบทบาทนา
ในกลุ่มประเทศหมู่เกาะแปซิฟิก (Work Pacific) การลงนามความตกลงทางการค้ากับนิวซีแลนด์เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 ทาให้ปาปัวนิวกินีส่งออกสินค้า
เกษตร เช่น มะพร้าว เผือก ขิง ไปยังตลาดนิวซีแลนด์ นอกจากนี้ ปาปัวนิวกินียังได้รับโควตาการส่งออกปลาทูน่าไปยังตลาด EU เพิ่มขึ้น ในการประชุมรัฐมนตรี
การค้าของเอเปกครั้งที่ 12 ปาปัวนิวกินีตอบรับที่จะยกเลิกการอุดหนุนสินค้าส่งออกทั้งหมดภายในปี พ.ศ. 2556
ประชากร
ปาปัวนิวกินี ประกอบด้วยชนหลายเผ่าพันธุ์ เช่น ชาวเมลานีเชียน ปาปัว เนกริด ไมโครนีเซียน และโปลินีเซียน
มีภาษาทางการเป็นภาษาอังกฤษ เนื่องจากเคยเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร แต่มีคนพูดได้น้อย ส่วนมากจะพูดภาษาทอกพิซินซึ่งเป็นภาษาครีโอล แต่
อย่างไรก็ตาม ประชากรประเทศนี้มีประมาณ 5 ล้านคน และมีภาษามากกว่า 800 ชนิด
ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นหลัก แต่ก็มีลัทธิศาสนาตามความเชื่ออื่น ๆ อีกมากมาย
วัฒนธรรม
ประเทศปาปัวนิวกินีประกอบไปด้วยชนเผ่าเป็นจานวนมาก มีภาษากว่า 800 ภาษาทาให้มีสังคมแบบชนเผ่าอย่างมากในประเทศ ทาให้มีประเพณีที่แตกต่างกัน
ถึง 200 ประเพณี เช่น เหล่าชาวบ้านชนเผ่าซิมบูรวมตัวกันแปลงร่างเป็นมนุษย์โคลน มาร่วมงานเทศกาลแสดงวัฒนธรรมประจาปี ครั้งที่ 46 ในเมืองเมาท์ เฮเก็น
งานนี้เป็นการรวมตัวของชนเผ่าในประเทศปาปัวนิวกินีทั้งหมด ที่จะนาเอกลักษณ์และความโดดเด่นเฉพาะตัวมาแสดงแลกเปลี่ยนกัน ถือว่าเป็นงานรวมความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมมากที่สุดงานหนึ่งของโลก
เกาะนิวกินีเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทางธรรมชาติมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และเป็นเขตที่มีวัฒนธรรมและ
ภาษาหลากหลายที่สุดในโลกเช่นกัน เนื่องจากมีชนเผ่ากว่าร้อยชนเผ่าที่มีภาษาพูดเป็นของตัวเอง นักภาษาศาสตร์บันทึก
ภาษาได้กว่าสองร้อยภาษาโดยครึ่งหนึ่งของภาษาเหล่านั้นมีผู้พูดไม่ถึงหนึ่งพันคน แม้กระทั่งบางหมู่บ้านที่ห่างกันเพียง
ไม่กี่กิโลเมตร ก็มีภาษาที่ต่างกันแล้ว
สาธารณรัฐวานูอาตู
สาธารณรัฐวานูอาตู
วานูอาตู
“ประเทศที่ประชากรมีความสุขที่สุดในโลก”
ข้อมูลทั่วไป
พื้นที่ : 12,190 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงพอร์ตวิลล่า (Port Vila)
ประชากร : 270,000 คน (ในปี พ.ศ. 2558)
ภาษาทางการ : ภาษาบิสลามา(Bislama) ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส
ศาสนา : คริสต์
ประมุขของรัฐ : H.E. Iolu Johnson Abbil Kaniapnin ประธานาธิบดี
หัวหน้ารัฐบาล : The Hon. Moana Carcasses นายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ : The Hon. Edward Natapei
สถาปนาความสัมพันธ์กับประเทศไทย : 21 กันยายน 2525
สาธารณรัฐวานูอาตู
ประกอบด้วยเกาะจานวนประมาณ 83 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้อยู่ทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือของนิวแคลิโดเนีย ทางทิศตะวันตกของประเทศฟิจิ และทางทิศใต้ของหมู่เกาะโซโลมอน ชื่อของประเทศนี้ในบุคอาณานิคมคือ นิว
เฮบริดีส์ (New Hebrides) ในปี ค.ศ. 2006 วานูอาตูได้รับการจัดอันดับใน Happy Planet Index ว่า เป็นประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก
การเมือง
รัฐสภาของวานูอาตูเป็นแบบสภานิติบัญญัติสภาเดียว มีสมาชิก 52 คน สมาชิกเหล่านี้ได้รับการเลือกตั้งทุกๆ 4 ปี จากการลงคะแนนเสียง ผู้นาพรรคหลักใน
รัฐสภา มักจะได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นผู้นาคณะรัฐบาล สาหรับประมุขของรัฐ คือประธานาธิบดี ได้รับเลือกคราวละ 5 ปี จากรัฐสภาและ
ประธานรัฐบาลท้องถิ่น 6 จังหวัด อย่างไรก็ตามการจัดตั้งรัฐบาลนั้นยังปรากฏปัญหาหลายต่อหลายครั้ง อันเนื่องมาจากแตกแยกระหว่างผู้พูดภาษาอังกฤษ
และฝรั่งเศส
สถานการณ์ทางการเมือง
พรรครัฐบาลปัจจุบันประกอบด้วยพรรคเล็ก 8 พรรค และอาจจะทาให้พรรคเล็กเหล่านั้นไปอยู่กับฝ่ายค้านก็ได้ ทาให้รัฐบาลวานูอาตูอาจจะโดนมติไม่
ไว้วางใจในเร็ว ๆ นี้
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจนั้นส่วนใหญ่จะอิงกับเศรษฐกิจแบบเลี้ยงชีพ หรือเกษตรกรรมขนาดเล็ก ซึ่งเลี้ยงชีพประชากรราว 65% สาหรับการประมง บริการการเงินนอก
ประเทศ และการท่องเที่ยว (เมื่อปี ค.ศ. 1997 มีนักท่องเที่ยวประมาณ 50,000 คน) เป็นเศรษฐกิจหลักอันดับรองลงมา นอกจากนี้ก็ยังมีอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
รายได้จากการเก็บภาษีส่วนใหญ่มาจากภาษีนาเข้า และ 12.5% เป็นภาษีมูลค่าเพิ่มจากสินค้าและบริการ
วานูอาตูเป็นเมืองปลอดภาษี ซึ่งไม่เปิดเผยข้อมูลบัญชีแก่รัฐบาลใดๆ และหน่วยงานควบคุมกฎหมาย ในวานูอาตูนั้น ไม่มีภาษีเงินได้ไม่มีการควบคุมการ
แลกเปลี่ยนเงินตรา บริษัทต่างๆ เลือกที่จะลงทุนในวานูอาตู เพื่อหลีกเลี่ยงกฎระเบียบ และการกระทาผิดกฎหมาย
วัฒนธรรม
วานูอาตูยังคงมีความหลากหลายของวัฒนธรรมอย่างเหนียวแน่น ทั้งที่เป็นวัฒนธรรมในท้องถิ่น และได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ
วัฒนธรรมของวานูอาตูอาจแบ่งได้ตามภูมิภาคหลักๆ 3 ภาคดังนี้
ภาคเหนือ ความมั่งคั่งจะพิจารณาได้จากว่าผู้คนสามารถให้ทรัพย์สินได้มากเท่าใด (โดยเฉพาะสุกร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่ง ทั่ว
ทั้งหมู่เกาะแห่งนี้)
ภาคกลาง ถือเป็นแหล่งวัฒนธรรมโปลีนีเซียแบบดั้งเดิมมากกว่า
ภาคใต้ มีวัฒนธรรมการมอบตาแหน่งที่เกี่ยวกับสิทธิพิเศษ
นอกจากนี้ชายหนุ่มจะมีพิธีต่าง ๆ เกี่ยวกับการเข้าสู่ความเป็นผู้ใหญ่ เพื่อการเริ่มต้นชีวิตวัยผู้ใหญ่

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
6091429
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
Pazalulla Ing Chelsea
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
ธนิสร ยางคำ
 

What's hot (20)

การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรปความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
อเมริกาเหนือ2
อเมริกาเหนือ2อเมริกาเหนือ2
อเมริกาเหนือ2
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
วิจัย การรวมกลุ่ม
วิจัย การรวมกลุ่มวิจัย การรวมกลุ่ม
วิจัย การรวมกลุ่ม
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 

Similar to ออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
chanok
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
chanok
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
chanok
 
ประเทศออสเตรเลีย
ประเทศออสเตรเลียประเทศออสเตรเลีย
ประเทศออสเตรเลีย
creamtoey36
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
chanok
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
krunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
krunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
krunimsocial
 

Similar to ออสเตรเลีย (20)

ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
North america
North americaNorth america
North america
 
ประเทศออสเตรเลีย
ประเทศออสเตรเลียประเทศออสเตรเลีย
ประเทศออสเตรเลีย
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
309
309309
309
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
Aus
AusAus
Aus
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
 
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
 
pdf2.pdf
pdf2.pdfpdf2.pdf
pdf2.pdf
 
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรปลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
 

More from Bangkok University

การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfการใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
Bangkok University
 
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdfNo Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
Bangkok University
 

More from Bangkok University (20)

ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdfภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
 
Holistic Pet Food
Holistic Pet FoodHolistic Pet Food
Holistic Pet Food
 
BD032 ดูดวง.pdf
BD032 ดูดวง.pdfBD032 ดูดวง.pdf
BD032 ดูดวง.pdf
 
Edtech.pdf
Edtech.pdfEdtech.pdf
Edtech.pdf
 
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfการใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
 
ศัลยกรรม.pdf
ศัลยกรรม.pdfศัลยกรรม.pdf
ศัลยกรรม.pdf
 
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdfNo Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
 
Beauty Standard.pdf
Beauty Standard.pdfBeauty Standard.pdf
Beauty Standard.pdf
 
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdfBrand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
 
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdfLat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
 
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping.pdfLat Lum Kaeo Mapping.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
 
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdfLad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
 
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdfคลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
 
Re-U Pitching
Re-U PitchingRe-U Pitching
Re-U Pitching
 
Jelly bug
Jelly bugJelly bug
Jelly bug
 
beyonder
beyonderbeyonder
beyonder
 
Klaum_PITCHING
Klaum_PITCHINGKlaum_PITCHING
Klaum_PITCHING
 
VVIC.pdf
VVIC.pdfVVIC.pdf
VVIC.pdf
 
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdfผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
 
Klaum_PITCHING_Sec.411C.pdf
Klaum_PITCHING_Sec.411C.pdfKlaum_PITCHING_Sec.411C.pdf
Klaum_PITCHING_Sec.411C.pdf
 

ออสเตรเลีย

  • 1. BDC412 SECTION : 3011 ทวีปออสเตรเลีย
  • 2. ประวัติศาสตร์ ทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนีย ออสเตรเลียเป็นทวีปเกือบสุดท้ายที่ชาวยุโรปเดินทางมาพบ ก่อนหน้านี้ชาวยุโรป ไม่ทราบว่ายังมีดินแดนทางตอนใต้เพียงแต่คาดว่าน่าจะมี ในสมัยกรีก โบราณ ในแผนที่โลก โดยแสดงให้เห็นว่าทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา มีดินแดนเชื่อมต่อกับทางตอนใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งปิดล้อม มหาสมุทรอินเดียไว้และตั้ง ชื่อดินแดนส่วนนั้นว่า “แทร์รา อินคอกนิตา” แปลว่า ดินแดนที่ยังไม่รู้จัก และได้เปลี่ยนเป็นชื่อออสเตรเลียในเวลาต่อมา ชาวดัตช์และลูกเรือของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์เป็นคนขาวพวกแรกที่เห็นทวีปออสเตรเลียต่อมาชาวดัตช์ได้เรียกชื่อดินแดนที่ตนค้นพบว่า นิว ฮอลแลนด์ แต่ก็ไม่ได้คิดเข้าครอบครองเพราะในสายตาของชาวดัตช์ ทวีปออสเตรเลียเป็นดินแดนของคนป่าเถื่อน ในเวลาต่อมาออสเตรเลียถูกอังกฤษยึดพื้นที่ และเปลี่ยนเป็นแหล่งกักกันและทารุณนักโทษ เวลาผ่านไปมีการจัดระเบียบนักโทษดีมากขึ้น มีการคัดนักโทษที่มีความรู้ความสามารถมาทาประโยชน์ เช่น ปลูกสิ่งก่อสร้างต่างๆ มีการจัดทาเงินเหรียญตั้ง ธนาคาร และส่งเสริมการเกษตร ทาให้รัฐบาลอังกฤษเริ่มคิดจัดตั้งออสเตรเลียให้เป็นดินแดนสาหรับการตั้งถิ่นฐานของชาวเสรีชน โดยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
  • 3. การเมืองการปกครอง นับแต่ ค.ศ. ๑๘๒๑ เป็นต้นมา รัฐบาลอังกฤษได้ส่งเสริมให้เสรีชนเดินทางมาตั้งหลักแหล่งในออสเตรเลีย พวกอดีตนักโทษหมดบทบาทในสังคม เกิดการ ขยายชุมชนและการจัดตั้งรัฐต่างๆ ขึ้นเป็นอิสระจากกันโดยแต่ละรัฐมีข้าหลวงปกครองเอง ใน ค.ศ. 1851 ได้มีการค้นพบทองคาในรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรีย ทาให้ชาวตะวันตกและชาติต่างๆ พากันอพยพหลั่งไหลเข้ามาเพื่อเสี่ยงโชคและ ดาเนินธุรกิจ ผู้อพยพส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลางที่มีการศึกษาดี ใน ค.ศ. 1910 รัฐต่างๆ ได้รวมตัวกันเป็นประเทศ เรียกว่า เครือรัฐออสเตรเลีย จัดการปกครองในรูปแบบของสหพันธรัฐ แต่ในปัจจุบันออสเตรเลียเป็น ประเทศหนึ่งในจานวน 54 ประเทศที่เป็นสมาชิกของเครือจักรภพ ที่มีองค์ประมุขของอังกฤษเป็นผู้นา โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 2 ทรงแต่งตั้ง ผู้สาเร็จราชการเป็นผู้แทนพระองค์ปะจาในออสเตรเลีย ส่วนพระองค์ทรงอยู่ในฐานะสมเด็จพระราชินีนาถแห่งออสเตรเลีย
  • 4. สังคมและศิลปวัฒนธรรม ความเสมอภาคของคนขาว ในทศวรรษ 1850 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการค้นพบทองคานั้น ผู้อพยพส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นพวกชนชั้นกลาง ที่มีวัฒนธรรมความเป็นอยู่ เชื้อชาติ และลัทธิศาสนาที่ แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงจากชาวตะวันตก ทาให้ชาวอาณานิคมออสเตรเลียเริ่มมีอคติต่อคนผิวเหลืองจนก่อให้เกิดความรังเกียจและต่อต้าน อันนาไปสู่การออก กฎหมายของรัฐต่างๆ เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาอยู่อาศัยของคนผิวเหลืองรวมทั้งคนผิวดา ต่อมาหลังจากออสเตรเลียจัดตั้งเป็นเครือรัฐออสเตรเลียแล้ว รัฐบาล กลางได้ออกพระราชบัญญัติหลายฉบับเพื่อกีดกันการอพยพของคนผิวเหลืองรวมทั้งคนผิวดา กลายเป็นนโยบายของประเทศ เรียกว่า นโยบายออสเตรเลียสีผิว ขาว ซึ่งรัฐบาลออสเตรเลียได้ดาเนินนโยบายดังกล่าวติดต่อกันมาเป็นเวลาหลายสิบปีและเพิ่งยกเลิกไปในช่วงทศวรรษ 1960 การสร้างสังคมนานาชาติและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างออสเตรเลียกับอังกฤษทั้งด้านสังคมและวัฒนธรรมที่มีมาเริ่มเปลี่ยนแปลง ทาให้ออสเตรเลียมี ลักษณะเป็นสังคมนานาชาติที่มีความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม อีกทั้งวัฒนธรรมการกินอยู่และแนวคิดแบบอเมริกันที่ทหารอเมริกันนามาเผยแผ่ในช่วง สงครามโลก ทาให้ชาวออสเตรเลียเริ่มเปิดตัวต่อสังคมโลกมากขึ้น
  • 5. อิทธิพลของทวีปออสเตรเลียและโอเซียเนียต่อสังคมโลก วัฒนธรรมออสแตรเลียมีลักษณะเป็นวัฒนธรรมตะวันตก ขณะเดียวกันก็คงเอกลักษณ์เฉพาะของชนพื้นเมืองอยู่ รัฐบาลออสเตรเลียได้ให้ความสนใจและ ยอมรับความสาคัญของชาวอะบอริจินิสในฐานะชนพื้นเมืองของออสเตรเลีย ก่อให้เกิดการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการของคนพื้นเมืองขึ้น ศิลปวัฒนธรรมของชาวอะ บอริจินิสได้รับการสนับสนุนทางด้านการเงินจากรัฐบาล รวมทั้งมีการรวบรวมและเผยแพร่งานศิลปะอะบอริจินิสอย่างกวางขวางไปทั่วโลกซึ่งเป็นที่นิยมชื่น ชอบทั้งภายในและภายนอกประเทศ จนมีการจัดแสดงศิลปะอะบอริจินิสทั้งที่เป็นภาพเขียนและศิลปวัตถุในพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ ที่มีชื่อเสียงในประเทศต่างๆ นอกจากนี้ ออสเตรเลียยังเป็นประเทศผู้นาอีกประเทศหนึ่งในด้านวิทยุ โทรทัศน์ อุตสาหกรรมบันทึกเสียง รวมทั้งอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่เริ่มต้นมาตั้งแต่ ค.ศ. 1896 และเริ่มเป็นที่รู้จักกันดีในปลายทศวรรษ 1960 ใน ค.ศ. 1973 มีการจัดตั้งโรงเรียนภาพยนตร์โทรทัศน์และวิทยุแห่งออสเตรเลียขึ้น ปัจจุบันนับว่า อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของออสเตรเลียประสบความสาเร็จอย่างมากและนักแสดงชาวออสเตรเลียก็เป็นที่รู้จักกันอย่างดี มรดกชิ้นสาคัญของออสเตรเลียที่ทิ้งไว้ให้แก่ชาวโลก คือ วิธีการลงคะแนนเสียงโดยวิธีลับในการเลือกตั้ง ออสเตรเลียเป็นประเทศแรกในโลกที่ใช้วิธีการนี้ ตั้งแต่ ค.ศ. 1856 ซึ่งแต่แรกนั้นเรียกว่า การลงคะแนนเสียงแบบออสเตรเลีย
  • 6. ที่ตั้งและอาณาเขต ทวีปออสเตรเลียเป็นทวีปที่อยู่ในซีกโลกใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก มีเนื้อที่ประมาณ 7.6 ล้านตารางกิโลเมตร มีขอบเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับทะเลติมอร์ และทะเลอาราฟูรา ดินแดนที่อยู่เหนือสุดคือ แหลมยอร์ก อยู่ที่ตอนปลายสุดของคาบสมุทรเคปยอร์ก มีช่องแคบทอร์ เรส กั้นระหว่างเกาะนิวกินี กับทวีปออสเตรเลีย, อ่าวคาเฟนทาเรีย ทิศตะวันออก ติดกับทะเลคอรัล และทะเลเทสมัน บริเวณที่อยู่ด้านตะวันออกสุดของทวีปคือแหลมไบรอน ทิศใต้ ติดกับมหาสมุทรอินเดีย อ่าวเกรดออสเตรเลียไบส์ ส่วนที่อยู่ใต้สุดของออสเตรเลีย คือ แหลมวิลสัน มีช่องแคบบาสส์ กั้นระหว่างเกาะแทส เมเนียกับตัวทวีป ทิศตะวันตก ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนที่อยู่ด้านตะวันตกสุดของทวีปคือ แหลมสตีป
  • 7. ลักษณะภูมิประเทศ ตามลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา ภูมิประเทศของทวีปออสเตรเลียอาจจะแบ่งออกได้ 3 เขตใหญ่ๆ ดังนี้ 1. เขตเทือกสูงทางตะวันออก มีเทือกเขาสูงเป็นแนวยาวจากเหนือมาใต้ของทวีป ขนานกับชายฝั่งตะวันออก ตั้งแต่ตอนใต้ของคาบสมุทรเคปยอร์กจนถึงช่อง แคบบาสส์ เป็นระยะทางยาวประมาณ 3,500 กิโลเมตร เรียกว่า เทือกเขาเกรตดิไวดิง 2. เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก มีเนื้อที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของทวีป ภายในที่ราบสูงนี้มีเทือกเขาเตี้ยๆ ตั้งอยู่ใกล้ขอบด้านตะวันตกและด้านตะวันออก คือ เทือกเขาดาร์ลิงและเทือกเขาแฮเมอร์สลีย์ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันตก เทือกเขาแมกดอนเนลล์และเทือกเขามัสเกรฟ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก 3. เขตที่ราบภาคกลาง ประกอบด้วยที่ราบขนาดใหญ่ 4 แห่ง อยู่ระหว่างเขตเทือกเขาสูงทางตะวันออก กับ เขตที่ราบหินเก่าทางตะวันตก ได้แก่ ที่ราบอ่าวคาร์เปนตาเรีย เป็นที่ราบอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทวีป มีแม่น้าสายสั้นๆ ไหลลงอ่าวคาร์เปนตาเรีย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า ที่ราบลุ่มทะเลสาบแอร์ เป็นที่ราบลุ่มรอบๆ ทะเลสาบแอร์ ซึ่งเป็นทะเลสาบน้าเค็มที่ใหญ่ที่สุดของทวีปออสเตรเลีย ที่ราบลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์-ดาร์ลิง เป็นที่ราบใหญ่และสาคัญที่สุดของทวีปออสเตรเลีย ที่ราบลุ่มแม่น้าเมอร์เรย์ และ แม่น้าดาร์ลิง ซึ่งจะไหลลงทะเลที่อ่าวเกรตออสเตรเลียไบท์ ทางตอนใต้
  • 8. ลักษณะภูมิอากาศ จากที่ตั้งและรูปร่างลักษณะของทวีปออสเตรเลีย มีผลต่อลมฟ้าอากาศของทวีปออสเตรเลีย ทั้งหมด 6 ลักษณะ ดังนี้ 1.เขตภูมิอากาศทุ่งหญ้าเมืองร้อน (TROPICAL SAVANA CLIMATE) ได้แก่ดินแดนทางตอนเหนือสุดของทวีป และคาบสมุทรยอร์ก ในฤดูร้อนจะมีลม มรสุมพัดมาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ นาฝนมาตกบ้างเล็กน้อย แต่ในฤดูหนาวอากาศแห้งแล้ง 2. เขตภูมิอากาศแบบทะเลทราย (DESERT CLIMATE) ได้แก่บริเวณตอนกลางของที่ราบสูงด้านตะวันตกของทวีปออสเตรเลีย เป็นเขตที่มีอุณหภูมิสูงและ ได้รับฝนน้อยมาก บริเวณนี้มีทะเลทรายสาคัญ คือ ทะเลทรายเกรตแซนดี อยุ่ทางตอนเหนือ ทะเลทรายกิบสัน ทางด้านตะวันออก 3.เขตภูมือากาศแบบกึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น (SEMI-DESERT CLIMATE) เป็นบริเวณที่ราบรอบๆ ทะเลทรายซึ่งเป็นบริเวณขอบด้านนอกทั้งหมดของเขต ที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก เป็นบริเวณที่มีภูมิอากาศแห้งแล้ง ฝนตกน้อย พืชพันธุ์ธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า
  • 9. 4.เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (MADITERRANEAN CLIMATE) ได้แก่บริเวณชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้ของทวีป และบริเวณชายฝั่งด้าน ตะวันตกของอ่าวเกรตออสเตรเลียไลท์ เป็นบริเวณที่มีภูมิอากาศอบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว ส่วนฤดูร้อนอากาศจะร้อน เป็นเขตปลูกพืชผลไม้ที่สาคัญของ ออสเตรเลีย 5.เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น (HUMID SUBTROPICAL CLIMATE) ได้แก่บริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปออสเตรเลีย เป็นบริเวณที่มี อากาศอบอุ่น อุณหภูมิปานกลาง ฝนตกตลอดปี 6.เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก (MARINE WEST COAST CLIMATE) ได้แก่บริเวณชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เป็น บริเวณที่มีภูมิอากาศอบอุ่นในฤดูร้อน ฤดูหนาวอากาศจะหนาว มีฝนตกกระจายตลอดปี เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมประจาตะวันตก
  • 10. ทรัพยากรและอาชีพ การเพาะปลูก พืชสาคัญที่ปลูกมากในออสเตรเลียได้แก่ ข้าวสาลี ซึ่งส่งเป็นสินค้าออกมาเป็นอันดับ 4 ของโลกบริเวณที่ปลูกข้าวสาลีมากได้แก่บริเวณ เขตภูมิอากาศอบอุ่น ที่ราบชายฝั่งด้านตะวันออกเฉียงใต้ทางตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย จะใช้ในการเพาะปลูกพืชเมืองร้อนที่สาคัญ ได้แก่ อ้อย ฝ้าย ยาสูบ ในรัฐควีนแลนด์ การเลี้ยงสัตว์ แกะเป็นสัตว์เลี้ยงทีสาคัญและมีชื่อเสียงมากทีสุดของโลก ออสเตรเลียมีแกะพันธุ์ที่ให้ทั้งขนและเนื้อคุณภาพดีทีสุด คือ แกะพันธุ์เมอริโน เขต เลี้ยงแกะที่สาคัญได้แก่บริเวณรัฐนิวเซาท์เวลส์ และควีนแลนด์ บริเวณทุ่งหญ้ารอบๆ เขตที่ราบหินเก่าด้านตะวันตกจะใช้ในการเลี้ยงวัวเนื้อ การล่าสัตว์ ชาวพื้นเมืองของออสเตรเลียเป็นพวกที่มีเชื้อชาติ อะบอริจิน ซึ่งดารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ สัตว์ที่ล่าได้แก่ จิ้งโจ้ ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีอยู่เฉพาะทวีป ออสเตรเลียเท่านั้น นอกจากนี้ก็มีสุนัขป่าชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ดิงโก ในเขตทะเลสาบแอร์ ป่ าไม้ ในเขตอาอาศชื้นทางชายฝั่งด้านตะวันออกของทวีปออสเตรเลีย ป่าส่วนใหญ่เป็นป่ายูคาลิปตัส
  • 11. การประมง ออสเตรเลียทาการประมงกันมากทางชายฝั่งด้านตะวันออกของทวีป บริเวณทะเลติมอร์ ทะเลอาลาฟูลา ซึ่งเป็นแหล่งที่มีปลาชุกชุมมากที่สุด แห่งหนึ่งของโลก ปลาที่จับได้ส่วนใหญ่ได้แก่ ปลาทูนา ปลาแซลมอน การขุดแร่ ทวีปออสเตรเลียมีแร่ที่มีค่า เช่น – เหล็ก ที่เมืองไอออนน็อบ (IRON KNOB) – ถ่านหิน ที่เมืองซิดนีย์ (SYDNEY) – ทองคา ที่เมืองคาลกูร์ลี (KALGOORLIE) – ดีบุก ที่เมืองเฮอร์เบอร์ตัน (HERBERTON) – น้ามัน ที่อ่าวเอ็ดซมัช โรมา ในรัฐควีนแลนด์ อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมในออสเตรเลียยังไม่ค่อยก้าวหน้ามากนัก เนื่องจากขาคแคลนแรงงาน และมีประชากรอยู่น้อย ทาให้ค่าจ้างแรงงานสูง มาก อุตสาหกรรมที่สาคัญส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากสัตว์เช่น ขนแกะ
  • 13. ข้อมูลทั่วไป ปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พื้นที่รวม 268,021 ตร.กม. ความหนาแน่น 16.8คน /ตร.กม. อานาจการซื้อ 186.476 พันล้านดอลล่านิวซีแลนด์ เมืองหลวงเวลลิงตัน , เมืองใหญ่ที่สุด โอ๊คแลนด์ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ประวัติและความเป็นมา แต่เดิมปกครองโดยเผ่าเมารี ต่อมามีนักล่องเรือชาวดัตช์ ชื่อ ทวินเจตด้า เปตโต้มาที่เกาะ และได้พบกับชาวเมารี จึงได้เป็น มิตรกันและตั้งชื่อเกาะนี้ว่า New Zealand และได้มีชื่อเสียงไปยังทวีปยุโรป เพราะธรรมชาติ ที่สวยงาม เหมาะแก่การเพาะปลูก,เลี้ยงสัตว์ ต่อมา เจมส์ คุก ได้ล่องเรือมาที่เกาะ และได้เจรจากับชาวเมารี พบว่าชาวเมารีเป็นสายเลือด นักรบ จึงได้ทาการแลกเปลี่ยนพืชพันธุ์ กับ อาวุธจากทางยุโรป ชาวเมารีมีอาวุธมากจนเกินไป ให้เกิดการสู้รบกันเองทาให้ เผ่าเมารีลดน้อยลง ทางอังกฤษจึงได้ส่งคนมาทาสัญญาที่มีชื่อว่า สนธิสัญญา ไวตางี และส่งคนมาสาเร็จราชการ แทน
  • 14. การแบ่งเขตการปกครอง ตอนที่เริ่มตั้งถิ่นฐาน นิวซีแลนด์ได้แบ่งเป็นจังหวัดต่าง ๆ ซึ่งได้ยกเลิกไปใน พ.ศ. 2419 เพื่อให้จัดการปกครองแบบศูนย์กลาง เนื่องด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ทาให้นิวซีแลนด์ ไม่มีการแบ่งการปกครองเป็นระดับรัฐ จังหวัด หรือเขต นอกจากรัฐบาลท้องถิ่น รัฐบาลท้องถิ่นได้ปกครองภูมิภาคต่าง ๆ ของนิวซีแลนด์ เนื่องจากแต่เดิมเป็นอาณานิคม ของอังกฤษ รัฐบาลท้องถิ่นของนิวซีแลนด์จึงได้ออกแบบตามโครงสร้างรัฐบาลท้องถิ่น ของอังกฤษโดยมีสภาท้องถิ่นเป็นผู้ดูแล ในปัจจุบัน ได้แบ่งเป็น/ระดับ สภาภูมิภาค และ สภาดินแดน
  • 15. เศรษฐกิจ นิวซีแลนด์ เป็นประเทศหนึ่งในเขตแปซิฟิกที่มีการทาอุตสาหกรรม เช่น การต่อ เรือ โรงงานเบียร์ไวท์ โรงงานปลากระป๋ อง แต่ส่วนใหญ่การอุตสาหกรรมใน นิวซีแลนด์มีน้อยมาก มีการทาอุตสาหกรรมการเกษตร เช่นการทาผลไม้กระป๋ อง อุตสาหกรรมการขุดแร่ เช่น ถ่านหิน เหล็ก อุตสาหกรรมป่าไม้และ ยังมีการเพาะปลูกที่ทาให้นิวซีแลนด์มีรายได้มากส่วน หนึ่ง เช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์และ ผลไม้เช่น สตรอเบอรี่ และแอปเปิล เป็นต้น การท่องเที่ยว นิวซีแลด์เป็นประเทศหนึ่งที่มีการส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว และ เน้นธรรมชาติเป็นหลัก
  • 16. ประชากร นิวซีแลนด์ส่วนใหญ่มีเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ ส่วนชนเผ่าพื้นเมืองเรียกว่า ชาวเมารี (Maori) มีอยู่ประมาณ 151,100 คน ซึ่งมีสิทธิทางสังคมเทียบเท่ากับชาว ผิวขาวทุกอย่าง โดยรัฐบาลกลางอังกฤษให้ความคุมครองทั่วถึง ประชากรทั้งหมด4,570,038ล้านคน ชาวยุโรปผิวขาว54% , ชาวเมารี7.4% , ลูกครึ่งและเอเชีย 9.7% ชาวนิวซีแลนด์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนส์
  • 17. ภุมิศาสตร์ แบ่งเป็น2เกาะหลัก และเกาะเล็กๆอีกหลายเกาะ ตั้งอยู่กลางกระแสน้าแบ่งซีกโลกเหนือ ละใต้ ประเทศมีแหล่งน้าคลอบคลุมทั้งประเทศ เป็นประเทศอันดับ7ของโลก ที่มีพื้นที่ทางน้าซึ่งมีควมสาคัญทางเศรษฐกิจ จุดสงสุด คือ ภูเขาไฟ Aoraki ทางตอนใต้และ ภูเขาไฟ Mount Ruapehu ทางตอนเหนือ มี4ฤดู คือ ฤดูร้อน เดือนธค.-กพ. , ฤดูใบมีร่วง เดือนมีค.-พค. ฤดูหนาว เดือนมิย. – สค. ฤดูใบไม้ผลิ กย. – พย. เนื่องจากตั้งอยู่ในโซนอากาศอบอุ่น ทาให้มีอากาศอบอุ่นชุ่มชื้นตลอดปี ฤดูร้อนอากาศ ค่อนข้างเย็น ฤดูหนาวไม่หนาวจัดมาก มีฝนตกตลอดปี เกาะทางเหนืออากาศอบอุ่นชื้นทั่วทั้งเกาะ , เกาะทางใต้ช่วงฤดูใบไม้ร่วงย่างเข้าฤดูหนาว หิมะจะปรกคลุม ประเทศใกล้เคียง คือ ออสเตเรีย โดยมีทะเลกั้น
  • 18. วัฒนธรรมและสังคม -คล้ายคลึ่งกับคนยุโรปและอเมริกันและวัฒนธรรมของชาวเผ่าเมารีเป็นวัฒนธรรมที่มีความเคร่งครัดใน เรื่องขนบธรรมเนียม และแบบพิธี -คนนิวซีแลนด์โดยทั่วไปเป็นคนอัธยาศัยดี มีน้าใจเอื้อเฟื้อ และช่วยเหลือผู้เดินทาง การทิปเป็นสิ่งไม่ จาเป็น บางครั้งบริกรจะปฎิเสธเงินค่าทิป ภัยธรรมชาติ สภาพอากาศที่แปรปรวนเป็นภัยธรรมชาติ ที่พบมากที่สุดในนิวซีแลนด์ แม้นิวซีแลนด์จะไม่ใช่เขตที่จะ เกิดพายุไซโคลนได้โดยตรง แต่พายุทั้งจากเขตร้อนและขั้วโลกก็สามารถเข้ามาถึงนิวซีแลนด์ได้หลาย ครั้งต่อปี ทาให้เกิดฝนตกประมาณ 7 – 10 วันในช่วงที่มีพายุเข้ามา แผ่นดินไหวรุนแรง – ที่นิวซีแลนด์เผชิญกับแผ่นดินไหวที่ไม่รุนแรงประมาณ 14000 ครั้ง/ปี มีประมาณ 200 ครั้ง/ปีที่มีการสั่นไหวจนรู้สึกได้ และก่อให้เกิดความเสียหายและบางครั้งมีผู้เสียชีวิต ในนิวซีแลนด์ไม่มีสัตว์ที่เป็นพิษหรือเป็นอันตราย ทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์เลื้อยคลาน มีเพียงแค่ แมลงบางชนิดที่อาจจะทาให้เจ็บได้หากโดนมันกัด และก็มีแมงมุมบางชนิดที่อยู่ตามชายฝั่ง นอกนั้นก็ ไม่มีอันตรายอะไร
  • 19. การคมนาคมและขนส่งสินค้า นิวซีแลนด์มีระบบพื้นฐานการคมนาคม การขนส่ง และการ ติดต่อสื่อสารดีเยี่ยมระดับโลก สายการบินนานาชาติต่างบินเข้าออกเขตเมืองทั้ง 7 แห่งของ นิวซีแลนด์ เรือขนส่งสินค้ากว่า 30 เส้นทางแล่นเข้าท่าเรือน้าลึกของนิวซีแลนด์ และมีค่าขนส่งของขึ้นเรือใหญ่ที่ค่อนข้างต่า นิวซีแลนด์มีเส้นทางรถไฟ และถนนหนทางที่เชื่อมเกาะต่างๆเข้า ด้วยกัน การติดต่อสื่อสารที่พัฒนา โครงสร้างพื้นฐานการติดต่อโทรคมนาคมในนิวซีแลนด์มีเครือข่าย อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงใต้น้าและระบบโครงข่ายโทรศัพท์บน ภาคพื้นดิน โครงข่าย Southern Cross cable สามารถส่งสัญญาณความเร็ว 240 กิ๊กกะบิต/วินาที ไปยังสหรัฐอเมริกา ฮาวาย ออสเตรเลีย และฟิจิได้ และในปัจจุบันกาลังจะมีการขยายเพิ่มเป็น 480 กิ๊กกะบิต/วินาที นิวซีแลนด์มีโครงข่าย 4G ให้บริการในบริเวณชุมชนใหญ่ๆแล้ว และคาดว่าจะขยายครอบคลุมเขตจังหวัดต่างๆในปี 2015
  • 21. การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปครั้งแรกที่มีการบันทึกไว้ เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2149 เป็นเรือของชาวดัตช์ โดยกัปตัน Willem Janszoon ทาแผนที่ชายฝั่งส่วนหนึ่ง ของออสเตรเลีย ระหว่างปีพ.ศ. 2149 และ 2313 มีเรือของชาวยุโรปประมาณ 54 ลาจากหลายชาติเดินทางมาที่ออสเตรเลีย ซึ่งรู้จักในขณะนั้นว่านิวฮอลแลนด์ ในปี พ.ศ. 2313 เจมส์ คุก เดินทางมาสารวจออสเตรเลียและทาแผนที่ชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย และได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร ให้ชื่อ ว่านิวเซาท์เวลส์ ต่อมาสหราชอาณาจักรใช้ออสเตรเลียเป็นอาณานิคมสาหรับนักโทษ (penal colony) ฝูงเรือแรกเดินทางมาถึงออสเตรเลียที่อ่าวซิดนีย์ การค้นพบออสเตรเลียของชาวยุโรปครั้งแรกที่มีการบันทึกไว้ เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2149 เป็นเรือของชาวดัตช์ โดยกัปตัน Willem Janszoon ทาแผนที่ชายฝั่งส่วนหนึ่ง ของออสเตรเลีย ระหว่างปีพ.ศ. 2149 และ 2313 มีเรือของชาวยุโรปประมาณ 54 ลาจากหลายชาติเดินทางมาที่ออสเตรเลีย ซึ่งรู้จักในขณะนั้นว่านิวฮอลแลนด์ ในปี พ.ศ. 2313 เจมส์ คุก เดินทางมาสารวจออสเตรเลียและทาแผนที่ชายฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย และได้ประกาศให้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร ให้ชื่อ ว่านิวเซาท์เวลส์ ต่อมาสหราชอาณาจักรใช้ออสเตรเลียเป็นอาณานิคมสาหรับนักโทษ (penal colony) ฝูงเรือแรกเดินทางมาถึงออสเตรเลียที่อ่าวซิดนีย์
  • 22. ประวัติศาสตร์ – ในประเทศออสเตรเลียพบว่ามีประชากรเข้ามาอาศัยเมื่อประมาณ 40,000-50,000ปี ที่แล้วโดยอพยพไปจากทวีปเอเชียและหมู่เกาะใกล้เคียง ภายหลัง จึงมีการ อพยพคนจากทางยุโรบโดยเฉพาะจากประเทศอังกฤษเข้าไปอยู่อาศัย การเมือง – เคยตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักรแต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงภายในประเทศมากนัก แต่ในภายหลังได้เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบ ประชาธิปไตยโดยมีประธานาธิบดีหรือนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลปกครองประเทศ
  • 23. ภูมิศาสตร์ – ออสเตรเลียมีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปร้อยละ 65 เป็นที่ราบสูง และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทะเลทรายที่แห้งแล้งและทุรกันดาร และ มีขนาดทะเลทรายรวมกันใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทะเลทรายสะฮาราในทวีปแอฟริกา ชาวออสเตรเลียเรียกดินแดนที่แห้งแล้งและทุรกันดารนี้ว่า “เอาต์แบ็ก” สภาพภูมิอากาศประเทศออสเตรเลียตั้งอยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร กว่าหนึ่งในสามของประเทศตั้งอยู่ในเขตร้อน และส่วนที่เหลือตั้งอยู่ในเขตอบอุ่น อย่างไร ก็ตามออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีขนาดกว้างใหญ่ จึงมีสภาพภูมิอากาศที่หลากหลายโดยทั่วไปแล้วอากาศจะเย็นสบาย แต่บริเวณที่ราบสูง ที่ราบในแทสมาเนีย และบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศมีอากาศหนาวเย็น ส่วนภูมิอากาศทางตอนเหนือของประเทศนั้นมีลักษณะคล้ายคลึงกับภูมิอากาศทั่วไปในเขตเอเชีย และแปซิฟิค
  • 24. จานวนประชากร – ประเทศออสเตรเลียมีประชากรทั้งหมด 19 ล้านคน ส่วนมากอทศัยอยู่ทางชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก เฉียงใต้และในแทสมาเนีย ซึ่งประมาณ 85% ของประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ใกล้หรืติดชายฝั่งทะเล ชาวออสเตรเลียใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการและดาเนิน ชีวิตแบบตะวันตก ประเทศออสเตรเลียเปรียบเสมือนบ้านของคนจาดทั่วทุกมุมโลก ประชากรประมาณ 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมดที่อาศัยในประเทศ ออสเตรเลียเป็นชาวต่างชาติ ทั้งจากเอเชีย ยุโรป อังกฤษ และ อเมริกา วัฒนธรรม – เนื่องจากประชากรแต่เดิมส่วนใหญ่อพยพมาจากทวีปยุโรป จึงทาให้วัฒนธรรมเป็นแบบตะวันตก โดยเฉพาะแบบอังกฤษประชากรส่วนใหญ่จะนับถือศาสนา คริสต์ ออสเตรเลียมีความจาเป็นที่จะต้องป้องกันไม่ให้มีการนาเชื้อโรค และศัตรูพืชเข้ามาในประเทศ ทางประเทศออสเตรเลียจึงมีการตรวจตราอย่างเคร่งคัด ที่ สนามบินโดยเจ้าหน้าที่แผนกกักกันโรค เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเฉพาะตัวของประเทศออสเตรเลีย
  • 25. วิถีชีวิต อย่างที่ทราบกันดีว่า ออสเตรเลียนั้นเป็นพหุวัฒนธรรม และค่อนข้างเป็นประเทศที่เปิดเสรีทางความคิด มีอัธยาศัยดี วิถีชีวิตของชาวออสเตรเลียนั้น ค่อนข้างเรียบง่ายและรักธรรมชาติ มีความสนใจในกีฬา และศิลปะทุกแขนง และมีสวนสาธารณะมากมายให้ไปนั่งพักผ่อน และ แลกเปลี่ยนความคิด ระหว่างกัน อาหารการกิน ที่ออสเตรเลีย เป็นแหล่งที่มีอาหารหลากหลายที่สุดในโลกที่หนึ่ง มีทั้งอาหาร เวียดนาม ไทย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น อิตาเลียน ฯ ซึ่งมีให้เลือกได้ตลอดทั้งปี ไม่ว่าจะ เป็นอาหารสดต่างๆ อาหารทะเล เพราะมีทั้งการทาการเกษตร และการประมงตลอดทั้งปีไม่ว่าจะเป็นฤดูกาลใด
  • 27. ประวัติศาสตร์ ฟิจิมีชนพื้นเมืองอาศัยกระจัดกระจายอยู่บนเกาะต่าง ๆ มาราว 3,500 ปีมาแล้ว ชนพื้นเมืองมักต่อต่อสู้แย่งชิงอานาจกัน ต่อมาคาโคบาอูซึ่งเป็นหัวหน้าของชน เผ่าหนึ่งสามารถรวบรวมชนเผ่าต่างๆให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และสถาปนาให้เป็นกษัตริย์ฟิจิ ต่อมาได้มีผู้ค้นพบหมู่เกาะ และ ดินแดนฟิจิ เป็นนักสารวจ ชาวเนเธอร์แลนด์ (ดัตช์) ที่มีชื่อว่า เอเบล ทัชแมน (ค.ศ. 1603 - 1659) ภูมิประเทศ สาธารณรัฐฟิจิ ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ทิศตะวันตกเป็นประเทศวานูอาตู ทิศตะวันออกเป็นประเทศตองกา และทางทิศเหนือคือ ประเทศตูวาลู ประกอบด้วยเกาะ 322 เกาะ แต่มีประชากรอาศัยอยู่เพียง 106 เกาะ เป็นเกาะหินภูเขาไฟ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีพื้นที่ราบเพียงเล็กน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยป่าไม้ และต้นมะพร้าวบริเวณชายฝั่ง บริเวณที่แห้งแล้งเป็นทุ่งหญ้า หรือใช้ใน การทาไร่อ้อย มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
  • 28. เศรษฐกิจการค้า ฟิจิเคยเป็นประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดประเทศหนึ่งในแถบภูมิภาค แปซิฟิก อุตสาหกรรมที่สาคัญที่สุดของฟิจิ คือ น้าตาล เสื้อผ้าสาเร็จรูป ทองคา และการ ท่องเที่ยว แต่เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก จึงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมสาคัญต่างๆ ของฟิจิจนถึงปัจจุบัน ทาให้เศรษฐกิจและการค้าฟิจิประสบภาวะถดถอย ยกเว้นเหมือง ทองคาที่มีสภาวะที่ดีขึ้น
  • 29. ภาพรวมประเทศ สาธารณรัฐฟิจิ ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ทิศตะวันตกเป็นประ เทศวานูอาตู ทิศตะวันออกเป็นประเทศตองกา และทางทิศเหนือคือประเทศตูวาลู ประกอบด้วยเกาะ 322 เกาะ แต่มีประชากรอาศัยอยู่เพียง 106 เกาะ เป็นเกาะหิน ภูเขาไฟ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีพื้นที่ราบเพียงเล็กน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่ปกคลุม ด้วยป่าไม้และต้นมะพร้าวบริเวณชายฝั่ง บริเวณที่แห้งแล้งเป็นทุ่งหญ้า หรือใช้ใน การ ทาไร่อ้อย มีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น สาธารณรัฐฟิจิ มีกรุงซูวาเป็นเมืองหลวง และเป็นที่ตั้งของสถานที่ราชการและหน่วยงานผู้แทนต่างประเทศ และมีเมืองนาดีเป็นเมืองท่องเที่ยว ซึ่งเป็นเมือง ชายทะเลและเป็นศูนย์กลางของฟิจิที่สามารถเชื่อมต่อไปยังหมู่เกาะต่างๆ ผ่านท่าเรือ Denarau ได้แก่ เกาะ South Sea เกาะ Mana และเกาะ Beachcomber รายได้ หลักที่สาคัญของฟิจิมาจากธุรกิจท่องเที่ยวแบบครบวงจรของเมืองนาดี ได้แก่ โรงแรมหรือรีสอร์ท ร้านอาหาร การจัด package ทัวร์ตามเกาะต่าง ๆ และการขายของ ที่ระลึกพื้นเมือง เมืองนาดีมีโรงแรมหรือรีสอร์ ระดับ 4-5 ดาวหลายแห่งที่บริการนักท่องเที่ยวต่างชาติอยู่บนเกาะ Denarau
  • 30. การคมนาคม ระบบคมนาคมและระบบโครงสร้างพื้นฐานของฟิจิ ยังไม่ทันสมัยและต้องการปรับปรุง โดยได้รับความช่วยเหลือจากเงินทุนนอกประเทศ อาทิ Asian Develop Bank (ADB) ให้การสนับสนุนการสร้างถนนและท่าเรืออุตสาหกรรม ญี่ปุ่นให้เงินสนับสนุนการสร้างโรงกรองน้า และประเทศจีนให้ทุนสร้างสะพานเชื่อม เกาะนาวูโซและเงินสนับสนุนรัฐบาลด้านโทรคมนาคน การลงทุน การปรับปรุงคุณภาพของระบบขนส่งและระบบเตือนภัยจากแผ่นดินไหว ท่าอากาศยานระหว่างประเทศของฟิจิมีสองแห่งคือ 1. ท่าอากาศยานระหว่างประเทศที่เมืองนาดี (Nadi) ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ Viti Levu และอยู่ห่างจากกรุงซูวา (Suva) 3 ชั่วโมงโดยรถยนต์ 2. ท่าอากาศยานระหว่างประเทศที่เมือง Nausori ใช้เวลาเดินทาง 30 นาทีจากตัวเมืองซูวา มีอัตรา ค่าโดยสารแท๊กซี่ประมาณ 20 ฟิจิดอลลาร์
  • 32. เกาะที่เป็นที่ตั้งของประเทศปาปัวนิวกินี(ทางตะวันออก)และจังหวัดปาปัวของอินโดนีเซีย(ทางตะวันตก) นั้น มีชื่อเรียกว่าเกาะนิวกินี(New Guinea) เป็ยเกาะที่มี ขนาดใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก รองจากกรีนแลนด์ เกาะนี้ถูกค้นพบโดยนักเดินเรือชาวสเปน เมื่อพบว่าประชากรบนเกาะซึ่งเป็นชาวเมลานีเซียน (Melanesian)นั้นมีลักษณะผิวคล้า ผมหยิกเหมือนกับชาวกินีในแอฟริกา จึงเรียกเกาะนี้ว่า Nueva Guinea หรือ New Guinea ต่อมาเกาะนี้ถูกครอบครองโดยชาวตะวันตก โดยเนเธอร์แลนด์ได้ยึดครองด้านตะวันตกของเกาะ ทางตะวันออกเฉียงเหนือถูกเยอรมนียึดครอง ตะวันออกเฉียงใต้ เป็นของอังกฤษ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมนีได้เสียสิทธิในการครองครองนิวกินีไป
  • 33. สงครามโลกครั้งที่ 2 เกาะนี้ถูกญี่ปุ่นยึดครอง หลังจากที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จบลง อาณานิคมต่างๆก็ได้เอกราช รวมทั้งอินโดนีเซียด้วย เกาะนิวกินีอยู่ภายใต้การดูแลของสหประชาชาติและออสเตรเลียจนมี การลงข้อตกลง New York Agreement ปี 1962 ให้อินโดนีเซียครอบครองซีกตะวันตกของเกาะในปี 1963 และได้เปลี่ยนชื่อเขตนี้เป็น Irian Jaya หรือ "แดนร้อน แห่งชัยชนะ" ส่วนซีกตะวันออกอยู่ภายใต้การดูแลของ UN จนปี 1975 จึงได้เอกราชเป็นประเทศปาปัวนิวกินี กลับมาที่ฟากตะวันตกของนิวกินี คืออิเรียนจายา หากลองมาวิเคราะห์ลักษณะประชากร และขนบธรรมเนียมต่างๆแล้ว จะพบว่า ประชากรส่วนใหญ่ที่ อินโดนีเซียเรียกว่าปาปัว(แปลจากภาษามาเลย์ว่า "หัวหยิกหยอย") นั้น เป็นชาวเมลานีเซียผิวคล้า มีหลายเผ่าทั้งอัสมัต ดานี กอรอวาอิ ฯลฯ มีการนับถือวิญญาณ บรรพบุรุษ มีขนบการเลี้ยงหมู(หมูเป็นสัตว์มีค่ามาก) และมีการกินเนื้อมนุษย์ (ปัจจุบันเลิกไปแล้ว) แทบจะไม่มีอะไรคล้ายกับชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่ที่เป็นคน เอเชียผิวเหลือง นับถือศาสนาอิสลามเลย แต่อินโดนีเซียอ้างว่า ดินแดนนิวกินีเป็นดินแดนทางประวัติศาสตร์ เนื่องจากในอดีตเคยมีการติดต่อกับอาณาจักร โบราณในแถบอินโดนีเซีย และเคยเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์มาเหมือนกัน จากการที่มีการลงข้อตกลงนิยอร์คในปี 1962 นั้น แม้ทางสหรัฐฯจะมองว่าอิเรียนจายาต่างจากอินโดนีเซีย แต่เนื่องจากต้องการให้อินโดนีเซียเป็นพันธมิตรเพื่อ ป้องกันคอมมิวนิสต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงให้เขตนี้อยู่ภายใต้การปกครองของอินโดนีเซีย อินโดนีเซียจึงได้สิทธิในการครองครองด้านตะวันตกของเกาะ และได้จัดให้มีการลงประชามติอีกครั้งในปี 1969 Act of Free Choice พบว่าชาวปาปัวต้องการอยู่กับอินโดนีเซีย (ในภายหลังมีผู้มาเปิดเผยว่า ทางการอินโดนีเซีย ใช้วิธีการบังคับลงคะแนนกับชาวปาปัว)
  • 34. ประวัติศาสตร์ มีชาวพื้นเมืองชื่อว่า ชาวปาปัว ประเทศปาปัวนิวกินีเป็นประเทศที่เปลี่ยน เจ้าของอยู่บ่อย ๆ อังกฤษ เช่น ประเทศประเทศเยอรมนี ประเทศ ออสเตรเลีย การเมือง ปกครองแบบสภาเดียว ภูมิศาสตร์ มีลักษณะเป็นภูเขาและชายฝั่งทะเลเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของโลก (รองจากเกาะกรีนแลนด์) ตั้งอยู่ทิศเหนือของประเทศออสเตรเลีย ทิศ ตะวันตกติดกับอินโดนีเซีย
  • 35. เศรษฐกิจ ปาปัวนิวกินีเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ทรัพยากรทางทะเล ทองคา ทองแดง น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ รายได้หลักของประเทศ ขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมการประมง เหมืองทองแดง เหมืองทองคา และการท่องเที่ยว ส่วนด้านเกษตรกรรม ส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูกกาแฟ โกโก้ และ มะพร้าว ประเทศคู่ค้าที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศนิวซีแลนด์ สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ทองคา น้ามันดิบ กาแฟ ทองแดง ซุง กาแฟ และสัตว์ทะเล ส่วนสินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ น้ามัน เครื่องจักรและอุปกรณ์การขนส่ง ส่วนประกอบ รถยนต์ อาหาร และเชื้อเพลิง รัฐบาลควบคุมสถานะการคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ อัตราเงินเฟ้อต่า อัตราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ เศรษฐกิจได้รับผลดีจากผลผลิตเหมืองแร่ที่เพิ่มขึ้น และราคา สินค้าส่งออกเพิ่มสูงขึ้นได้แก่ ทอง น้ามันดิบ ทองแท่ง เป็นผลให้การส่งออกในช่วงไตรมาสของปีขยายตัวร้อยละ 14 เมื่อเทียบกับปีก่อน และคาดว่าในปีนี้ดุลบัญชี เดินสะพัดจะเกินดุลและเศรษฐกิจโดยรวมจะเติบโตในทิศทางที่ดี อย่างไรก็ตาม ในเดือน มี.ค. 2549 UN ได้เสนอปรับสถานะการพัฒนาของปาปัวนิวกินีจาก ประเทศกาลังพัฒนาเป็นประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (LDCs) ซึ่ง นรม. Sir Michael ปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าว รัฐบาลพยายามดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ขยายการส่งออก (Export-led economy) แสวงหาความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย (look north) และมีบทบาทนา ในกลุ่มประเทศหมู่เกาะแปซิฟิก (Work Pacific) การลงนามความตกลงทางการค้ากับนิวซีแลนด์เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 ทาให้ปาปัวนิวกินีส่งออกสินค้า เกษตร เช่น มะพร้าว เผือก ขิง ไปยังตลาดนิวซีแลนด์ นอกจากนี้ ปาปัวนิวกินียังได้รับโควตาการส่งออกปลาทูน่าไปยังตลาด EU เพิ่มขึ้น ในการประชุมรัฐมนตรี การค้าของเอเปกครั้งที่ 12 ปาปัวนิวกินีตอบรับที่จะยกเลิกการอุดหนุนสินค้าส่งออกทั้งหมดภายในปี พ.ศ. 2556
  • 36. ประชากร ปาปัวนิวกินี ประกอบด้วยชนหลายเผ่าพันธุ์ เช่น ชาวเมลานีเชียน ปาปัว เนกริด ไมโครนีเซียน และโปลินีเซียน มีภาษาทางการเป็นภาษาอังกฤษ เนื่องจากเคยเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร แต่มีคนพูดได้น้อย ส่วนมากจะพูดภาษาทอกพิซินซึ่งเป็นภาษาครีโอล แต่ อย่างไรก็ตาม ประชากรประเทศนี้มีประมาณ 5 ล้านคน และมีภาษามากกว่า 800 ชนิด ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นหลัก แต่ก็มีลัทธิศาสนาตามความเชื่ออื่น ๆ อีกมากมาย วัฒนธรรม ประเทศปาปัวนิวกินีประกอบไปด้วยชนเผ่าเป็นจานวนมาก มีภาษากว่า 800 ภาษาทาให้มีสังคมแบบชนเผ่าอย่างมากในประเทศ ทาให้มีประเพณีที่แตกต่างกัน ถึง 200 ประเพณี เช่น เหล่าชาวบ้านชนเผ่าซิมบูรวมตัวกันแปลงร่างเป็นมนุษย์โคลน มาร่วมงานเทศกาลแสดงวัฒนธรรมประจาปี ครั้งที่ 46 ในเมืองเมาท์ เฮเก็น งานนี้เป็นการรวมตัวของชนเผ่าในประเทศปาปัวนิวกินีทั้งหมด ที่จะนาเอกลักษณ์และความโดดเด่นเฉพาะตัวมาแสดงแลกเปลี่ยนกัน ถือว่าเป็นงานรวมความ หลากหลายทางวัฒนธรรมมากที่สุดงานหนึ่งของโลก
  • 37. เกาะนิวกินีเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทางธรรมชาติมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และเป็นเขตที่มีวัฒนธรรมและ ภาษาหลากหลายที่สุดในโลกเช่นกัน เนื่องจากมีชนเผ่ากว่าร้อยชนเผ่าที่มีภาษาพูดเป็นของตัวเอง นักภาษาศาสตร์บันทึก ภาษาได้กว่าสองร้อยภาษาโดยครึ่งหนึ่งของภาษาเหล่านั้นมีผู้พูดไม่ถึงหนึ่งพันคน แม้กระทั่งบางหมู่บ้านที่ห่างกันเพียง ไม่กี่กิโลเมตร ก็มีภาษาที่ต่างกันแล้ว
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 46. ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ : 12,190 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง : กรุงพอร์ตวิลล่า (Port Vila) ประชากร : 270,000 คน (ในปี พ.ศ. 2558) ภาษาทางการ : ภาษาบิสลามา(Bislama) ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส ศาสนา : คริสต์ ประมุขของรัฐ : H.E. Iolu Johnson Abbil Kaniapnin ประธานาธิบดี หัวหน้ารัฐบาล : The Hon. Moana Carcasses นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ : The Hon. Edward Natapei สถาปนาความสัมพันธ์กับประเทศไทย : 21 กันยายน 2525
  • 47. สาธารณรัฐวานูอาตู ประกอบด้วยเกาะจานวนประมาณ 83 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้อยู่ทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือของนิวแคลิโดเนีย ทางทิศตะวันตกของประเทศฟิจิ และทางทิศใต้ของหมู่เกาะโซโลมอน ชื่อของประเทศนี้ในบุคอาณานิคมคือ นิว เฮบริดีส์ (New Hebrides) ในปี ค.ศ. 2006 วานูอาตูได้รับการจัดอันดับใน Happy Planet Index ว่า เป็นประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก การเมือง รัฐสภาของวานูอาตูเป็นแบบสภานิติบัญญัติสภาเดียว มีสมาชิก 52 คน สมาชิกเหล่านี้ได้รับการเลือกตั้งทุกๆ 4 ปี จากการลงคะแนนเสียง ผู้นาพรรคหลักใน รัฐสภา มักจะได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นผู้นาคณะรัฐบาล สาหรับประมุขของรัฐ คือประธานาธิบดี ได้รับเลือกคราวละ 5 ปี จากรัฐสภาและ ประธานรัฐบาลท้องถิ่น 6 จังหวัด อย่างไรก็ตามการจัดตั้งรัฐบาลนั้นยังปรากฏปัญหาหลายต่อหลายครั้ง อันเนื่องมาจากแตกแยกระหว่างผู้พูดภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส สถานการณ์ทางการเมือง พรรครัฐบาลปัจจุบันประกอบด้วยพรรคเล็ก 8 พรรค และอาจจะทาให้พรรคเล็กเหล่านั้นไปอยู่กับฝ่ายค้านก็ได้ ทาให้รัฐบาลวานูอาตูอาจจะโดนมติไม่ ไว้วางใจในเร็ว ๆ นี้
  • 48. เศรษฐกิจ เศรษฐกิจนั้นส่วนใหญ่จะอิงกับเศรษฐกิจแบบเลี้ยงชีพ หรือเกษตรกรรมขนาดเล็ก ซึ่งเลี้ยงชีพประชากรราว 65% สาหรับการประมง บริการการเงินนอก ประเทศ และการท่องเที่ยว (เมื่อปี ค.ศ. 1997 มีนักท่องเที่ยวประมาณ 50,000 คน) เป็นเศรษฐกิจหลักอันดับรองลงมา นอกจากนี้ก็ยังมีอุตสาหกรรมขนาดเล็ก รายได้จากการเก็บภาษีส่วนใหญ่มาจากภาษีนาเข้า และ 12.5% เป็นภาษีมูลค่าเพิ่มจากสินค้าและบริการ วานูอาตูเป็นเมืองปลอดภาษี ซึ่งไม่เปิดเผยข้อมูลบัญชีแก่รัฐบาลใดๆ และหน่วยงานควบคุมกฎหมาย ในวานูอาตูนั้น ไม่มีภาษีเงินได้ไม่มีการควบคุมการ แลกเปลี่ยนเงินตรา บริษัทต่างๆ เลือกที่จะลงทุนในวานูอาตู เพื่อหลีกเลี่ยงกฎระเบียบ และการกระทาผิดกฎหมาย
  • 49. วัฒนธรรม วานูอาตูยังคงมีความหลากหลายของวัฒนธรรมอย่างเหนียวแน่น ทั้งที่เป็นวัฒนธรรมในท้องถิ่น และได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ วัฒนธรรมของวานูอาตูอาจแบ่งได้ตามภูมิภาคหลักๆ 3 ภาคดังนี้ ภาคเหนือ ความมั่งคั่งจะพิจารณาได้จากว่าผู้คนสามารถให้ทรัพย์สินได้มากเท่าใด (โดยเฉพาะสุกร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่ง ทั่ว ทั้งหมู่เกาะแห่งนี้) ภาคกลาง ถือเป็นแหล่งวัฒนธรรมโปลีนีเซียแบบดั้งเดิมมากกว่า ภาคใต้ มีวัฒนธรรมการมอบตาแหน่งที่เกี่ยวกับสิทธิพิเศษ นอกจากนี้ชายหนุ่มจะมีพิธีต่าง ๆ เกี่ยวกับการเข้าสู่ความเป็นผู้ใหญ่ เพื่อการเริ่มต้นชีวิตวัยผู้ใหญ่