SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
บทที่ 1 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อ 
การศึกษา
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
1. สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของ 
เทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบ 
เทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาใน 
ช่วคงวายมุคหตม่าายงขๆองเทคโนโลยีและสอื่การศึกษา 
“เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา” หมายถึง การนำา 
แนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน 
ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อ 
ปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น 
“สื่อการศึกษา” หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือ 
หรือช่องทางสำาหรับทำาให้การสอนของครูไปถึงผู้เรียน และ 
ทำาให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามจุดประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้ 
เป็นอย่างดี สื่อที่ใช้ในการสอนนี้ อาจจะเป็นวัตถุสิ่งของที่มีตัว 
ตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้ ดังนั้นเทคโนโลยีจึงมีบทบาทสำาคัญ 
ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาใน 
สามารถแบง่ออกเป็นช 3่ว งชย่วุคงเตวล่าางๆ 
ดังนี้คือ 
พัฒนาการของ 
เทคโนโลยีการศึกษา 
ค.ศ.1700-1900 
เทคโนโลยีการศึกษา 
ค.ศ.1900-ปัจจุบัน
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
ยุคเริ่มแรกจนถึงปี ค.ศ.1700 
1. เทคโนโลยีการศึกษาของกลุ่มโซฟิสต์ 
ในตอนปลายของศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราชนั้น มี 
กลุ่มนักการศึกษากลุ่มเล็กๆ ที่เรียกได้ว่าเป็นครูรับจ้างสอนตาม 
บ้านในกรุงเอเธนส์ กรีกโบราณ รูปแบบการสอนของกลุ่มโซ 
ฟิสต์มี 3 ขั้นตอนคือ 
- เตรียมคำาบรรยายอย่างละเอียด 
- เปิดโอกาสให้ผู้ฟังเสนอแนะให้บรรยายในสิ่งที่เขา 
ต้องการรู้ 
- บรรยายตามความต้องการของผู้บรรยายหรือผู้ฟัง 
นอกจากนั้นกลุ่มโซฟิสต์ยังได้ใช้ระบบการพบปะ 
สนทนากับผู้เรียน (Tutorial System) เพื่อสร้างสัมพันธ์กับ ผู้ 
เรียน
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
2. เทคโนโลยีการศึกษาของโสเครติส (ค.ศ.399-470) 
วิธีการนั้นมุ่งที่จะสอนให้ผู้เรียนเสาะแสวงหรือสืบเสาะหาความรู้ที่ 
เหมาะสมเอง จากการป้อนคำาถามต่าง ๆ ที่เป็นการชี้แนะแนวทาง 
ให้ผ3ู้ต. อเทบไคดโ้ขน้อโคลิดยีการศึกษาของอเบลาร์ด ในระหว่างคริสต์ 
ศตวรรษที่ 12 - 13 ยุโรปเริ่มตื่นตัวในเรื่องการจัดการเรียนการสอน 
แบบมีสถานศึกษาหรือโรงเรียน เขาได้ฝึกนักเรียนของเขา โดย 
อาศัยหลักการวิเคราะห์ตรรกศาสตร์ เสนอแนะว่าอะไรควร (Yes) 
และอะไรไม่ควร (No) นักเรียนจะเป็นผู้ตัดสินใจและสรุปเลือกเอง 
อย่า4ง.เ สเทรีคโนโลยีทางการศึกษาของคอมินิอุส Johann 
Amoss Cominius (1592-1670) จุดมุ่งหมายทางการศึกษาของ 
คอมินิอุส คือ ความรู้ คุณธรรม และความเคร่งครัดในศาสนา เขา 
เชื่อมั่นว่าการศึกษาเป็นเครื่องมือสำาหรับเตรียมคนเพื่อดำารงชีพอยู่ 
อย่างเป็นสุขมากกว่าที่จะให้การศึกษาเพื่อมีอาชีพหรือตำาแหน่ง 
และนอกจากนั้น คอมินิอุสยังมุ่งหวังที่จะให้การศึกษาเพื่อสังคม 
มากกว่าที่จะเน้นเรื่องความสามารถ
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1700- 
1900 
1. เทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์ Joseph 
Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่เลี้ยง 
(Monitor System) คือ การจัดสภาพห้องเรียนและดำาเนินการ 
สอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนื้อหาวิชาที่เรียนโดย 
พิจารณาถึงระดับชั้น วิธีการสอนของแลนคาสเตอร์ พยายามใช้ 
วัสดุอุปกรณ์ราคาถูกและประหยัด นอกจากนั้นทางโรงเรียนยังจัด 
หน2ัง.ส เือททคี่ใโชน้เรโียลนยใีกหา้นร้อศยึกที่สษุดาเขทอ่าทงเี่จปำาสเปต็นาล เป็นกระบวนการสอน 
โดยการเพิ่มความรู้สึกต่อความรู้ในเรื่องความเจริญเติบโตและ 
พัฒนาการของเด็กนั้น เป็นสิ่งจำาเป็นที่สุด นอกจากนั้น เปสตาลอสซี 
ยังคำานึงถึงเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลอันจะมีผลต่อการเรียนรู้ 
ของผู้เรียนด้วย
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
3. เทคโนโลยีทางการศึกษาของฟรอเบล จุดมุ่ง 
หมายของนักการศึกษาก็คือการควบคุมดูแลเยาวชนให้เติบโต 
เป็นผู้ใหญ่เท่านั้น มีความหมายกว้างออกไปถึงการควบคุม 
พัฒนาการต่าง ๆ โดยให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับชีวิตจริงในฐานะที่ 
เขาเป็นส่วนหนึ่งของสังคม 
4. เทคโนโลยีการศึกษาของแฮร์บาร์ท แฮร์บาร์ทได้ 
เน้นในเรื่องของจริยธรรม (Moral) โดยถือว่าเป็นพื้นฐาน 
สำาคัญของการศึกษาและเขาจะใช้อุปกรณ์ทางประวัติศาสตร์ 
เพื่อให้การสอนบรรลุเป้าหมาย
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
เทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1900-ปัจจุบัน 
1. เทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์ 
Joseph Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่ 
เลี้ยง (Monitor System) คือ การจัดสภาพห้องเรียนและ 
ดำาเนินการสอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนื้อหาวิชา 
ที่เรียนโดยพิจารณาถึงระดับชั้น วิธีการสอนของแลนคาส 
เตอร์ พยายามใช้วัสดุอุปกรณ์ราคาถูกและประหยัด 
นอกจากนั้นทางโรงเรียนยังจัดหนังสือที่ใช้เรียนให้น้อยที่สุด 
เท่าที่จำาเป็น 
2. เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้ ได้ใช้แนวความ 
คิดในการแก้ปัญหา (Problem-Solving) วิธีการไตร่ตรอง 
(Reflective Method) หรือการพิจารณาอย่างรอบคอบและ 
แน่นอน เกี่ยวกับความเชื่อหรือแบบแผนของความรู้ที่เกิดขึ้น
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
3 เทคโนโลยีการศึกษามอนเตสซอรี ความสนใจใน 
เรื่องพัฒนาการและกิจกรรมของเด็ก ทำาให้เธอหันเหชีวิตจาก 
งานด้านการแพทย์เข้ามาสู่การศึกษา 
4. เทคโนโลยีการศึกษาของเลวิน เขาได้เน้นในเรื่อง 
เกี่ยวกับการจูงใจเป็นหลักการสำาคัญ ซึ่งเป็นโลกทางความคิด 
หรือโลกของจิต (Rsychological World) ของแต่ละบุคคล 
5 ทฤษฎีการศึกษาของสกินเนอร์ เขามีความเห็นว่ามนุษย์ 
เรานั้นมีลักษณะที่เป็นกลางและอยู่นิ่งเฉย (Man is neutral and 
passive) ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหลายของมนุษย์จึงสามารถอธิบายได้ 
ด้วยเรื่องของกลไก (Mechanistic) ในการควบคุมพฤติกรรม คือ 
"การกระทำาใด ๆ ถ้าได้รับการเร้าด้วยการเสริมแรง อัตราความเข้ม 
แข็งของการตอบสนองจะมีโอกาสสูงขึ้น" อย่างไรก็ตาม การเสริมแรง 
มีทั้งทางบวกและทางลบ ตลอดจนตัวเสริมแรงปฐมภูมิและทุติยภูมิ 
(Primary and Secondary Reinforces) ดังนั้นพฤติกรรมในด้าน 
การตอบสนองต่อตัวเสริมแรง จึงมีแตกต่างกันออกไปตามแต่ชนิดของ
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
2. จำาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยี 
ทางการศึกษาว่ามีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษา 
ในยุคปัจจุบันอย่างไร
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
การออกแบบ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึง 
กรอบหรือโครงร่างที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและ 
ทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ที่จะนำาไปสร้างและพัฒนางานทางด้าน 
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม 
การพัฒนา (Development) เป็นขอบข่ายของการ 
สร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆโดยนำาพื้นฐานที่ได้ 
ออกมาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ 
การใช้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ 
การนำาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้อง 
คำานึงถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียน 
การสอน
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
การจัดการ (Management) เป็นขอบข่ายหลักที่ 
เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้อง 
นำาไปสนับสนุนในทุกๆขอบข่าย ซึ่งจะต้องมีการจัด 
ระเบียบและแนะนำาหรือการจัดการทรัพยากรทางการ 
เรียนรู้ 
การประเมิน (Evaluation) ขอบข่ายด้านนี้จะ 
เกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุงและเพื่อแสดง 
ให้เห็นถึงประสิทธิภาพ
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
3. Educational Technology และ Instructional 
Technology มีความเหมือน ความแตกต่างหรือ 
สัมพันธ์กันอย่างไร 
คำาว่า Instructional Technology เป็นคำาที่มีความ 
เหมาะสมกับ Technology ในการอธิบายส่วนประกอบของ 
เทคโนโลยีได้ครอบคลุมชัดเจนมากว่า 
คำาว่า Educational Technology มีความหมาย 
โดยทั่วไปที่ใช้กับโรงเรียน หรือระบบ การศึกษา 
แต่คำาว่า Instructional นั้นไม่เพียงแต่สอดคล้องกับ 
ระบบการศึกษาเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสถานการณ์การฝึก 
อบรมได้เช่นกัน
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
"Instructional" เกี่ยวข้องกับปัญหาด้านการเรียนการ 
สอน ในขณะที่ "Educational" เป็นคำาที่มีความหมายกว้างๆ 
รวมลักษณะต่าง ๆ ของการศึกษาเข้าไว้ นอกจากนี้ยังได้ 
ชี้แจงเหตุผลของการใช้คำา Educational Technology 
เพราะว่า Instruction หรือ การเรียนการสอนเป็นส่วน 
ประกอบหนึ่งของ Educational Technology ดังนั้น คำานี้จึง 
ช่วยขยายขอบเขตของสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาให้ 
กว้างขวางยิ่งขึ้น และ "Educational" มีความหมายครอบคลุม 
ไปถึง การเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย รวมทั้งบ้าน 
โรงเรียน ที่ทำางาน แต่ Instructional มุ่งเน้นแต่เพียงสิ่ง 
แวดล้อมในโรงเรียนเท่านั้น
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี 
ทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ 
เรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูป 
ธรรกมารไปดฏ้อิรยูป่ากงาไรรศึกษาในปัจจุบัน จะเน้นให้มีการ 
ปฏิรูป 3 ลักษณะ คือ 
1 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 
2 โอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้คนไทยเข้าถึงการเรียนรู้ 
อย่างมีคุณภาพ 
ดัง3นั้นกาใรนมกีสา่วรนนรำา่วคมวจาามกรทู้เกุกี่ยภวากคับสเว่ทนคขโอนงโสลงัยคีมมาใช้จำาเป็นต้อง 
มีความสอดคล้องกัน
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
เทคโนโลยีจะเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน 3 
ลักษณะ คือ 
1. การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี (Learning about 
Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ระบบการทำางานของ 
คอมพิวเตอร์ เรียนรู้จนสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ทำาระบบ 
ข้อมูลสารสนเทศเป็น สอื่สารข้อมูลทางไกลผ่าน Email และ 
Internet ได้ เป็นต้น 
2. การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning 
by Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ความรู้ ใหม่ ๆ และฝึก 
ความสามารถ ทักษะบางประการ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น ใช้ 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ทางโทรทัศน์ที่ 
ส่งผ่านดาวเทียม การค้นคว้าเรื่องที่สนใจผ่าน Internet 
เป็นต้น
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 
3. การเรียนรู้กับเทคโนโลยี (Learning with 
Technology) ได้แก่การเรียนรู้ด้วยระบบ การสอื่สาร 2 
ทาง (Interactive) กับเทคโนโลยี เช่น การฝึกทักษะ 
ภาษากับโปรแกรมที่ให้ข้อมูลย้อนกลับถึงความถูก 
ต้อง (Feedback) การฝึกการแก้ปัญหากับสถานการณ์ 
จำาลองซ (ึ่งSเiทmคuโlaนtโioลnย)ี ดเัปง็กนลต่า้นวมีการนำามาประยุกต์ใช้ใน 
การเรียนการสอนในปัจจุบันเป็นอย่างมาก และ 
เป็นการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนควบคู่ 
ไปกับการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์
ผู้จัดทำา
TThhaannkk yyoouu!! 
Contact Address: 
Prof. Somchai Doe 
Tel: 
Email: 
www.kku.ac.th

More Related Content

What's hot

STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
Wachira Srikoom
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Markker Promma
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
Pari Za
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
boomakung
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Fern's Supakyada
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
snxnuux
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
nanza
 

What's hot (17)

บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
STEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningSTEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century Learning
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 

Viewers also liked

บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนบทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
teawweaw1206
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
Chanathip Tangz
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
masaya_32
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
Kobwit Piriyawat
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (7)

บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอนบทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
บทที่1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการสอน
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Similar to นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
Sattakamon
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
boomakung
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
apostrophe0327
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
Bunsasi
 

Similar to นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา (20)

นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Chapter1_Technologies
Chapter1_TechnologiesChapter1_Technologies
Chapter1_Technologies
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from June Khanittha (13)

ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
 
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิตออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
ออกแบบการเรียนการสอนเรขาคณิต
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
สรุปการแสดงความคิดเห็น
สรุปการแสดงความคิดเห็นสรุปการแสดงความคิดเห็น
สรุปการแสดงความคิดเห็น
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

  • 2. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 1. สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของ เทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบ เทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาใน ช่วคงวายมุคหตม่าายงขๆองเทคโนโลยีและสอื่การศึกษา “เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา” หมายถึง การนำา แนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อ ปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น “สื่อการศึกษา” หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือ หรือช่องทางสำาหรับทำาให้การสอนของครูไปถึงผู้เรียน และ ทำาให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามจุดประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้ เป็นอย่างดี สื่อที่ใช้ในการสอนนี้ อาจจะเป็นวัตถุสิ่งของที่มีตัว ตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้ ดังนั้นเทคโนโลยีจึงมีบทบาทสำาคัญ ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • 3. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาใน สามารถแบง่ออกเป็นช 3่ว งชย่วุคงเตวล่าางๆ ดังนี้คือ พัฒนาการของ เทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1700-1900 เทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1900-ปัจจุบัน
  • 4. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร ยุคเริ่มแรกจนถึงปี ค.ศ.1700 1. เทคโนโลยีการศึกษาของกลุ่มโซฟิสต์ ในตอนปลายของศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราชนั้น มี กลุ่มนักการศึกษากลุ่มเล็กๆ ที่เรียกได้ว่าเป็นครูรับจ้างสอนตาม บ้านในกรุงเอเธนส์ กรีกโบราณ รูปแบบการสอนของกลุ่มโซ ฟิสต์มี 3 ขั้นตอนคือ - เตรียมคำาบรรยายอย่างละเอียด - เปิดโอกาสให้ผู้ฟังเสนอแนะให้บรรยายในสิ่งที่เขา ต้องการรู้ - บรรยายตามความต้องการของผู้บรรยายหรือผู้ฟัง นอกจากนั้นกลุ่มโซฟิสต์ยังได้ใช้ระบบการพบปะ สนทนากับผู้เรียน (Tutorial System) เพื่อสร้างสัมพันธ์กับ ผู้ เรียน
  • 5. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 2. เทคโนโลยีการศึกษาของโสเครติส (ค.ศ.399-470) วิธีการนั้นมุ่งที่จะสอนให้ผู้เรียนเสาะแสวงหรือสืบเสาะหาความรู้ที่ เหมาะสมเอง จากการป้อนคำาถามต่าง ๆ ที่เป็นการชี้แนะแนวทาง ให้ผ3ู้ต. อเทบไคดโ้ขน้อโคลิดยีการศึกษาของอเบลาร์ด ในระหว่างคริสต์ ศตวรรษที่ 12 - 13 ยุโรปเริ่มตื่นตัวในเรื่องการจัดการเรียนการสอน แบบมีสถานศึกษาหรือโรงเรียน เขาได้ฝึกนักเรียนของเขา โดย อาศัยหลักการวิเคราะห์ตรรกศาสตร์ เสนอแนะว่าอะไรควร (Yes) และอะไรไม่ควร (No) นักเรียนจะเป็นผู้ตัดสินใจและสรุปเลือกเอง อย่า4ง.เ สเทรีคโนโลยีทางการศึกษาของคอมินิอุส Johann Amoss Cominius (1592-1670) จุดมุ่งหมายทางการศึกษาของ คอมินิอุส คือ ความรู้ คุณธรรม และความเคร่งครัดในศาสนา เขา เชื่อมั่นว่าการศึกษาเป็นเครื่องมือสำาหรับเตรียมคนเพื่อดำารงชีพอยู่ อย่างเป็นสุขมากกว่าที่จะให้การศึกษาเพื่อมีอาชีพหรือตำาแหน่ง และนอกจากนั้น คอมินิอุสยังมุ่งหวังที่จะให้การศึกษาเพื่อสังคม มากกว่าที่จะเน้นเรื่องความสามารถ
  • 6. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1700- 1900 1. เทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์ Joseph Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่เลี้ยง (Monitor System) คือ การจัดสภาพห้องเรียนและดำาเนินการ สอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนื้อหาวิชาที่เรียนโดย พิจารณาถึงระดับชั้น วิธีการสอนของแลนคาสเตอร์ พยายามใช้ วัสดุอุปกรณ์ราคาถูกและประหยัด นอกจากนั้นทางโรงเรียนยังจัด หน2ัง.ส เือททคี่ใโชน้เรโียลนยใีกหา้นร้อศยึกที่สษุดาเขทอ่าทงเี่จปำาสเปต็นาล เป็นกระบวนการสอน โดยการเพิ่มความรู้สึกต่อความรู้ในเรื่องความเจริญเติบโตและ พัฒนาการของเด็กนั้น เป็นสิ่งจำาเป็นที่สุด นอกจากนั้น เปสตาลอสซี ยังคำานึงถึงเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลอันจะมีผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนด้วย
  • 7. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 3. เทคโนโลยีทางการศึกษาของฟรอเบล จุดมุ่ง หมายของนักการศึกษาก็คือการควบคุมดูแลเยาวชนให้เติบโต เป็นผู้ใหญ่เท่านั้น มีความหมายกว้างออกไปถึงการควบคุม พัฒนาการต่าง ๆ โดยให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับชีวิตจริงในฐานะที่ เขาเป็นส่วนหนึ่งของสังคม 4. เทคโนโลยีการศึกษาของแฮร์บาร์ท แฮร์บาร์ทได้ เน้นในเรื่องของจริยธรรม (Moral) โดยถือว่าเป็นพื้นฐาน สำาคัญของการศึกษาและเขาจะใช้อุปกรณ์ทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้การสอนบรรลุเป้าหมาย
  • 8. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร เทคโนโลยีการศึกษา ค.ศ.1900-ปัจจุบัน 1. เทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์ Joseph Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่มการสอนระบบพี่ เลี้ยง (Monitor System) คือ การจัดสภาพห้องเรียนและ ดำาเนินการสอนแบบประหยัด รวมถึงการจัดระบบเนื้อหาวิชา ที่เรียนโดยพิจารณาถึงระดับชั้น วิธีการสอนของแลนคาส เตอร์ พยายามใช้วัสดุอุปกรณ์ราคาถูกและประหยัด นอกจากนั้นทางโรงเรียนยังจัดหนังสือที่ใช้เรียนให้น้อยที่สุด เท่าที่จำาเป็น 2. เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้ ได้ใช้แนวความ คิดในการแก้ปัญหา (Problem-Solving) วิธีการไตร่ตรอง (Reflective Method) หรือการพิจารณาอย่างรอบคอบและ แน่นอน เกี่ยวกับความเชื่อหรือแบบแผนของความรู้ที่เกิดขึ้น
  • 9. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 3 เทคโนโลยีการศึกษามอนเตสซอรี ความสนใจใน เรื่องพัฒนาการและกิจกรรมของเด็ก ทำาให้เธอหันเหชีวิตจาก งานด้านการแพทย์เข้ามาสู่การศึกษา 4. เทคโนโลยีการศึกษาของเลวิน เขาได้เน้นในเรื่อง เกี่ยวกับการจูงใจเป็นหลักการสำาคัญ ซึ่งเป็นโลกทางความคิด หรือโลกของจิต (Rsychological World) ของแต่ละบุคคล 5 ทฤษฎีการศึกษาของสกินเนอร์ เขามีความเห็นว่ามนุษย์ เรานั้นมีลักษณะที่เป็นกลางและอยู่นิ่งเฉย (Man is neutral and passive) ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหลายของมนุษย์จึงสามารถอธิบายได้ ด้วยเรื่องของกลไก (Mechanistic) ในการควบคุมพฤติกรรม คือ "การกระทำาใด ๆ ถ้าได้รับการเร้าด้วยการเสริมแรง อัตราความเข้ม แข็งของการตอบสนองจะมีโอกาสสูงขึ้น" อย่างไรก็ตาม การเสริมแรง มีทั้งทางบวกและทางลบ ตลอดจนตัวเสริมแรงปฐมภูมิและทุติยภูมิ (Primary and Secondary Reinforces) ดังนั้นพฤติกรรมในด้าน การตอบสนองต่อตัวเสริมแรง จึงมีแตกต่างกันออกไปตามแต่ชนิดของ
  • 10. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 2. จำาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยี ทางการศึกษาว่ามีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษา ในยุคปัจจุบันอย่างไร
  • 11. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร การออกแบบ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึง กรอบหรือโครงร่างที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและ ทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ที่จะนำาไปสร้างและพัฒนางานทางด้าน เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม การพัฒนา (Development) เป็นขอบข่ายของการ สร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆโดยนำาพื้นฐานที่ได้ ออกมาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ การใช้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ การนำาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้อง คำานึงถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียน การสอน
  • 12. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร การจัดการ (Management) เป็นขอบข่ายหลักที่ เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้อง นำาไปสนับสนุนในทุกๆขอบข่าย ซึ่งจะต้องมีการจัด ระเบียบและแนะนำาหรือการจัดการทรัพยากรทางการ เรียนรู้ การประเมิน (Evaluation) ขอบข่ายด้านนี้จะ เกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุงและเพื่อแสดง ให้เห็นถึงประสิทธิภาพ
  • 13. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 3. Educational Technology และ Instructional Technology มีความเหมือน ความแตกต่างหรือ สัมพันธ์กันอย่างไร คำาว่า Instructional Technology เป็นคำาที่มีความ เหมาะสมกับ Technology ในการอธิบายส่วนประกอบของ เทคโนโลยีได้ครอบคลุมชัดเจนมากว่า คำาว่า Educational Technology มีความหมาย โดยทั่วไปที่ใช้กับโรงเรียน หรือระบบ การศึกษา แต่คำาว่า Instructional นั้นไม่เพียงแต่สอดคล้องกับ ระบบการศึกษาเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสถานการณ์การฝึก อบรมได้เช่นกัน
  • 14. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร "Instructional" เกี่ยวข้องกับปัญหาด้านการเรียนการ สอน ในขณะที่ "Educational" เป็นคำาที่มีความหมายกว้างๆ รวมลักษณะต่าง ๆ ของการศึกษาเข้าไว้ นอกจากนี้ยังได้ ชี้แจงเหตุผลของการใช้คำา Educational Technology เพราะว่า Instruction หรือ การเรียนการสอนเป็นส่วน ประกอบหนึ่งของ Educational Technology ดังนั้น คำานี้จึง ช่วยขยายขอบเขตของสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น และ "Educational" มีความหมายครอบคลุม ไปถึง การเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย รวมทั้งบ้าน โรงเรียน ที่ทำางาน แต่ Instructional มุ่งเน้นแต่เพียงสิ่ง แวดล้อมในโรงเรียนเท่านั้น
  • 15. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี ทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ เรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูป ธรรกมารไปดฏ้อิรยูป่ากงาไรรศึกษาในปัจจุบัน จะเน้นให้มีการ ปฏิรูป 3 ลักษณะ คือ 1 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 2 โอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้คนไทยเข้าถึงการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ดัง3นั้นกาใรนมกีสา่วรนนรำา่วคมวจาามกรทู้เกุกี่ยภวากคับสเว่ทนคขโอนงโสลงัยคีมมาใช้จำาเป็นต้อง มีความสอดคล้องกัน
  • 16. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร เทคโนโลยีจะเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน 3 ลักษณะ คือ 1. การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี (Learning about Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ระบบการทำางานของ คอมพิวเตอร์ เรียนรู้จนสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ทำาระบบ ข้อมูลสารสนเทศเป็น สอื่สารข้อมูลทางไกลผ่าน Email และ Internet ได้ เป็นต้น 2. การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning by Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ความรู้ ใหม่ ๆ และฝึก ความสามารถ ทักษะบางประการ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น ใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ทางโทรทัศน์ที่ ส่งผ่านดาวเทียม การค้นคว้าเรื่องที่สนใจผ่าน Internet เป็นต้น
  • 17. ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร 3. การเรียนรู้กับเทคโนโลยี (Learning with Technology) ได้แก่การเรียนรู้ด้วยระบบ การสอื่สาร 2 ทาง (Interactive) กับเทคโนโลยี เช่น การฝึกทักษะ ภาษากับโปรแกรมที่ให้ข้อมูลย้อนกลับถึงความถูก ต้อง (Feedback) การฝึกการแก้ปัญหากับสถานการณ์ จำาลองซ (ึ่งSเiทmคuโlaนtโioลnย)ี ดเัปง็กนลต่า้นวมีการนำามาประยุกต์ใช้ใน การเรียนการสอนในปัจจุบันเป็นอย่างมาก และ เป็นการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนควบคู่ ไปกับการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์
  • 19. TThhaannkk yyoouu!! Contact Address: Prof. Somchai Doe Tel: Email: www.kku.ac.th