SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
การศึกษาผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
คณะผู้ทาการศึกษา
นางสาวนวพร สาพันธ์ เลขที่ 9
นางสาววรรณรัตน์ นันทะวิชัย เลขที่ 13
นางสาวศิรินภาพร โคทอง เลขที่ 24
นางสาวณัฐรัตน์ ไตปาน เลขที่ 25
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9
การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2)
โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
ชื่อเรื่อง การศึกษาผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริม
วิทย์
ผู้ศึกษา นางสาวนวพร สาพันธ์ เลขที่ 9
นางสาววรรณรัตน์ นันทะวิชัย เลขที่13
นางสาวศิรินภาพร โคทอง เลขที่24
นางสาวณัฐรัตน์ ไตปาน เลขที่ 25
ครูที่ปรึกษา คุณครูกัมปนาถ เกษแก้ว
ระดับการศึกษา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9
โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
รายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ ( Independent Study : IS2 )
ปีการศึกษา 2558
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือและศึกษาแนว
ทางการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ตาบลท่าตูม อาเภอท่าตูม จังหวัด
สุรินทร์ 32120 จานวน 30 คนได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย
แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการคิดคะแนนเฉลี่ย เป็นค่าร้อยละ
ผลการศึกษาพบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์มี
ผลกระทบจากการสื่อสารการใช้โทรศัพท์มือถือในระดับ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 29.63%
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาครั้งนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เพราะได้รับความกรุณา แนะนา ช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่ง
จาก คุณครูรัตตนา เนื่องขันตรี ครูที่ปรึกษารายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ ( is2 ) ซึ่งผู้ศึกษา
รู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ณ โอกาสนี้
ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ คุณครูกัมปนาถ เกษแก้ว ที่ได้กรุณาให้แนวคิด ข้อแนะนาหลาย
ประการ ทาให้งานวิจัยฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
สุดท้ายขอขอบคุณ นักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ที่ให้ข้อมูลอย่างเต็มที่ทาให้
การศึกษาครั้งนี้สาเร็จในเวลาอันรวดเร็วและขอขอบคุณผู้ให้ความช่วยเหลืออีกหลายท่าน ซึ่งไม่
สามารถกล่าวนามในที่นี้ได้หมด
คณะผู้ศึกษา
มกราคม 2558
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญภาพ ช
บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2
ขอบเขตของการศึกษา 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 4
1.ความเป็นมาของโทรศัพท์ 5
1.1 วิวัฒนาการของโทรศัพท์ 5
1.2 ประวัติทั่วไปของโทรศัพท์ 7
1.3 วิวัฒนาการโทรศัพท์ในประเทศไทย 10
2.วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์ 12
2.1ข้อดีของการใช้โทรศัพท์มือถือ
3.ผลกระทบเกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
12
13
3.1 ผลกระทบทั่วไปที่เกิดขึ้น 13
3.2 การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์มือถือ 16
3.3 โทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่ทุกวันนี้ก่อให้เกิดขยะได้ 17
3.4 สารโลหะหนักที่อยู่ในแบตเตอรี่ประกอบด้วย 18
3.5 โรคที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีผลกระทบในเชิงวัฒนธรรมและวิถี
ชีวิตคนไทย
19
3.6 โรคยอดฮิตที่มากับการติดมือถือ 19
3.7 โรคซีวีเอส 21
3.8 แบคทีเรียบนหน้าจอมือถือ 22
4. การใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและลดการเกิดผลกระทบ 23
4.1 การใช้โทรศัพท์มือถืออย่างถูกวิธีเพื่อถนอมสายตา
4.2 การใช้โทรศัพท์อย่างถูกวิธี
4.3 การแก้ไขกันและป้ องกันโรคซีวีเอส
4.4 ป้ องกันสมองเสื่อม
4.5 ป้ องกันแบคทีเรียบนหน้าจอโทรศัพท์
23
25
26
27
27
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 28
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ
ระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
วิธีดาเนินการศึกษา
ขั้นตอนวิธีดาเนินการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการศึกษา
33
33
33
33
35
36
37
37
37
บทที่ 4ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 38
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลการศึกษา
การอภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
41
41
41
42
42
42
42
43
44
ภาคผนวก 45
แบบสอบถาม 47
ประวัติผู้ศึกษา 59
สารบัญตาราง
เรื่อง หน้า
ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 38
ตารางที่ 2. แสดงข้อมูลพฤติกรรมการสื่อสารการใช้โทรศัพท์มือถือ 39
ตารางที่ 3 ผลกระทบจากการสื่อสารการใช้โทรศัพท์มือถือ 40
สารบัญภาพ
เรื่อง หน้า
ภาพที่ 1.1 ALEXANDER GRAHAM BELL 7
ภาพที่ 1.2 แสดงหลักการโทรศัพท์ของ Bell 7
ภาพที่ 1.3 THOMAS ALVA EDISON 8
ภาพที่ 1.4 ลักษณะของทรานสมิทเตอร์ (Transmitter) 9
รูปที่ 1.5 แสดงลักษณะของ AC ที่อยู่บนยอดของ DC 10
ภาพที่ 3.1 ภาพซูมจากกล้องจุลทรรศน์ เชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในหน้าจอของโทรศัพท์ 22
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ณ โลกปัจจุบัน ที่มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ไม่มีที่สิ้นสุด ได้ก่อเกิด
นวัตกรรมที่สร้างความสะดวกสบายให้แก่มนุษย์ในหลายๆด้าน ไปมาหาสู้กันด้วยยานพาหนะ
จัดส่งเอกสารผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ติดต่อค้าขายด้วยเครื่องคมนาคมและเส้นทางคมนาคมที่
ทันสมัย ติดต่อสื่อสารกันด้วยเครื่องมือสื่อสาร เรียกว่า เทคโนโลยีเหล่านี้กลายเป็นปัจจัยหนึ่งในการ
อยู่รอดของมนุษย์ มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตในทุกๆด้าน
ซึ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการใช้ชีวิตประจาวันของคนไทย ในยุคปัจจุบัน
คือ เครื่องมือสื่อสารอย่างโทรศัพท์มือถือ ค่ายโทรศัพท์มือถือแต่ละค่ายต่างแข่งขันกันนาเทคโนโลยี
ใหม่ๆ มาใส่ในโทรศัพท์มือถือของตน เพื่อกระตุ้นความอยากซื้อให้ผู้เสพเทคโนโลยีสนใจ นอกจาก
โทรศัพท์มือถือจะเป็นเครื่องสื่อสารแล้วยังสร้างความบันเทิงในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะ ดูหนัง ฟังเพลง
เชื่อมอินเทอร์เน็ต ใช้ในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากโลกโซเชียลมีเดีย เล่นเกมส์ ถ่ายรูป นาฬิกา
จับเวลา เครื่องคิดเลข และอีกมากมาย ผู้เสพเทคโนโลยีกลุ่มใหญ่ก็คือวัยรุ่น ยิ่งมีฟังก์ชันจานวนมาก
รูปลักษณ์สวยดูล้าสมัย พร้อมด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆราคาแพงๆ โทรศัพท์กลายเป็นเครื่องแสดงฐานะ
ด้วยราคาค่าเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ซึ่งการใช้โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์ทาให้การติดต่อสื่อสาร พร้อม
ทั้งการส่งข้อมูลเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ช่วยให้ความเป็นอยู่ของคนไทยและเศรษฐกิจของ
ประเทศพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการใช้โทรศัพท์มือถือแนบที่หูครั้งละนาน ๆ เป็น
เวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ แพทย์ และนักวิทยาศาสตร์หลายท่านเตือนว่าผู้ที่ได้รับ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิด
โรคได้หลายชนิด เช่น ปวดศีรษะ มะเร็งสมอง หูอักเสบ มะเร็งของเม็ดเลือดขาว และความจาเสื่อม
เป็นต้น
ในปัจจุบันนอกเหนือไปจากอวัยวะครบ 32 ประการในร่างกายคนเรา ดูเหมือนว่า
“โทรศัพท์มือถือ” กาลังจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของคนยุคโลกาภิวัฒน์ที่จะขาดไม่ได้ เพียงแต่ว่า
อวัยวะส่วนนี้โดยมาก จะเริ่มงอกเงยขึ้นมาในช่วงที่เป็น “วัยรุ่น” ซึ่งข้อดีของโทรศัพท์มือถือก็มีอยู่
ไม่น้อย หากผู้ใช้นาไปใช้ในทางที่ผิด หรือใช้ไม่เป็ น โทษของโทรศัพท์มือถือได้ก่อ
ให้เกิดผลกระทบต่างๆตามมา
ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าได้เล็งเห็นผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงจัดทาโครงงานนี้เพื่อศึกษาผลกระทบการ
ใช้โทรศัพท์มือถือ และแนวทางในการแก้ปัญหาจากผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะได้ใช้ได้อย่างถูก
วิธีและไม่ให้เกิดปัญหาหรือผลกระทบที่ตามมา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.เพื่อศึกษาผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
2.เพื่อศึกษาแนวทางการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย
ขอบเขตของการศึกษา
1.ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ แบ่งเป็น
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
2.กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2557 จานวน 30 คน
3.เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา
เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาเป็นเนื้อหาที่เลือกจากปัญหาที่พบในโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
คือ การศึกษาผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือ ของนักเรียน โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
4.ระยะเวลา
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 ถึง
2 มกราคม พ.ศ.2558
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทาให้ทราบถึงผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือ
2.ทาให้ได้แนวทางการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย
บทที่ 2
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเนื้อหาของเอกสาร
งานวิจัยออกเป็นหัวข้อต่างๆดังนี้
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
1.ความเป็นมาของโทรศัพท์
1.1 วิวัฒนาการของโทรศัพท์
1.2 ประวัติทั่วไปของโทรศัพท์
1.3 วิวัฒนาการโทรศัพท์ในประเทศไทย
2.วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์
2.1ข้อดีของการใช้โทรศัพท์มือถือ
3.ผลกระทบเกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
3.1 ผลกระทบทั่วไปที่เกิดขึ้น
3.2 การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์มือถือ
3.3 โทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่ทุกวันนี้ก่อให้เกิดขยะได้
3.4 สารโลหะหนักที่อยู่ในแบตเตอรี่ประกอบด้วย
3.5 โรคที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีผลกระทบในเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนไทย
3.6 โรคยอดฮิตที่มากับการติดมือถือ
3.7 โรคซีวีเอส
3.8 แบคทีเรียบนหน้าจอมือถือ
4. การใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและลดการเกิดผลกระทบ
4.1 การใช้โทรศัพท์มือถืออย่างถูกวิธีเพื่อถนอมสายตา
4.2 การใช้โทรศัพท์อย่างถูกวิธี
4.3 การแก้ไขกันและป้ องกันโรคซีวีเอส
4.4 ป้ องกันสมองเสื่อม
4.5 ป้ องกันแบคทีเรียบนหน้าจอโทรศัพท์
1.ความเป็นมาของโทรศัพท์
1.1 วิวัฒนาการของโทรศัพท์
การติดต่อสื่อสารทางไกลในสมัยโบราณระหว่างมนุษย์ด้วยกันนั้น จะใช้วิธีการง่ายๆอาศัธรรม
ชาติ หรือเลียนแบบธรรมชาติเป็นหลัก เช่น การใช้ควัน เสียง แสง หรือใช้นกพิราบ เป็นต้น การ
สื่อสารที่ใช้ชื่อดังกล่าวนั้นจะไม่ค่อยได้ผลเท่าใดนัก เนื่องจากไม่สามารถให้รายละเอียดข่าวสาร
ได้มาก หรือแม้จะให้รายละเอียดได้มาก แต่ก็ไม่ค่อยจะปลอดภัยเท่าใด เช่น นกพิราบ นาสารซึ่งให้
รายละเอียดได้มาก แต่เป็นการเสี่ยง เพราะนกพิราบ อาจไปไม่ถึง ปลายทางได้ อย่างไรก็ตามการ
สื่อสารดังกล่าวนี้ เป็นการสื่อสารที่ราคาถูก ความรวดเร็วก็พอใช้ได้ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นยุค
โลกาภิวัฒน์ เป็นยุคแห่งความเจริญทางด้านเทคโนโลยี มนุษย์ได้นาเอาเทคโนโลยี ที่มีอยู่มา
ประยุกต์ใช้กับการสื่อสาร ทาให้การติดต่อสื่อสารในปัจจุบันมีประสิทธิภาพสูงมาก ทั้งความ
สะดวกสบายรวดเร็วและถูกต้องชัดเจนแน่นอน
ระบบสื่อสารที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้มีหลายชนิด เช่น วิทยุสื่อสาร (Radio Communication) โทร
เลข (Telegraphy) โทรพิมพ์ (Telex) โทรศัพท์ (Telephone) โทรสาร (Facsimile) หรือวิทยุตามตัว
(Pager) เป็นต้น แต่ระบบสื่อสาร ที่ได้รับความนิยมทั่วโลกก็คือ โทรศัพท์ เพราะโทรศัพท์สามารถ
โต้ตอบกันได้ทันที รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งระบบ อื่น ๆ ทาไม่ได้ โทรศัพท์จึงได้รับความนิยม
เป็นอย่างมากและในโลกของการสื่อสารปัจจุบัน โทรศัพท์ก็เป็นเครื่องบ่งชี้ ถึงความเจริญ รุ่งเรือง
ของประเทศ ต่าง ๆ ด้วยมีคากล่าวหรือข้อกาหนดเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศอยู่ว่า ประเทศใด ที่มี
จานวนเลขหมาย โทรศัพท์ในประเทศ 40 หมายเลขต่อประชากร 100 คน ถือว่าประเทศนั้นมีความ
เจริญแล้ว หรือเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศใดที่มีหมายเลขโทรศัพท์ 10 เลขหมายขึ้นไป
ต่อประชากร100คนถือว่าประเทศนั้นกาลังได้รับการพัฒนา
จะเห็นว่าประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ให้ความสาคัญกับกิจการโทรศัพท์เป็นอย่างมากในประเทศ
ไทย คาว่า โทรศัพท์ ได้เริ่ม รู้จักกันตั้งแต่รัชการที่ 5 ซึ่งโทรศัพท์ตรงกับภาษากรีกคาว่า Telephone
โดยที่ Tele แปลว่า ทางไกล และ Phone แปลว่า การ สนทนา เมื่อแปลรวมกันแล้วก็หมายถึงการ
สนทนากันในระยะทางไกลๆ หรือการส่งเสียงจากจุดหนึ่ง ไปยังจุดหนึ่งได้ ตามต้องการ
1.2 ประวัติทั่วไปของโทรศัพท์
โทรศัพท์ได้ถูกคิดค้นและประดิษฐ์ขึ้นมาในปี พ.ศ. 2419 โดยนักประดิษฐ์ ชื่อ ALEXANDER
GRAHAM BELL หลักการของโทรศัพท์ที่ Alexander ประดิษฐ์ก็คือ ตัวส่ง (Transmitter) และ
ตัวรับ (Receiver)
ภาพที่ 1.1 ALEXANDER GRAHAM BELL
ภาพที่ 1.2 แสดงหลักการโทรศัพท์ของ Bell
ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนลาโพงในปัจจุบัน กล่าวคือ มีแผ่น ไดอะแฟรม (Diaphragm) ติดอยู่กับขดลวด
ซึ่งวางอยู่ใกล้ ๆ แม่เหล็กถาวร เมื่อมีเสียงมากระทบแผ่น ไดอะแฟรม ก็จะสั่นทาให้ขดลวดสั่นหรือ
เคลื่อนที่ตัดสนามแม่เหล็ก เกิดกระแสขึ้นมา ในขดลวด กระแสไฟฟ้านี้ จะวิ่งตามสายไฟถึงตัวรับซึ่ง
ตัวรับก็จะมีโครงสร้างเหมือนกับ ตัวส่ง เมื่อกระแสไฟฟ้ามาถึงก็จะ เข้าไปในขดลวด เนื่องจาก
กระแสไฟฟ้าที่มานี้ เป็น AC มีการเปลี่ยนแปลงขั้วบวกและลบอยู่ตลอดเวลา ก็จะทาให้เกิดสนาม
แม่เหล็กขึ้นรอบๆ ขดลวดของ ตัวรับ สนามแม่เหล็กนี้จะไปผลัก หรือดูดกับสนามแม่เหล็กถาวร
ของตัวรับ แต่เนื่องจาก แม่เหล็กถาวร ที่ตัวรับนั้นไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ขดลวดและแผ่น
ไดอะแฟรม จึงเป็นฝ่ายที่ถูกผลักและดูดให้เคลื่อนที่ การที่ ไดอะแฟรม เคลื่อนที่ จึงเป็นการตีอากาศ
ตามจังหวะของกระแสไฟฟ้าที่ส่งมา นั่นคือ เกิดเป็นคลื่นเสียงขึ้นมาในอากาศ ทาให้ได้ยิน แต่
อย่างไรก็ตาม กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากตัวส่งนี้มี ขนาดเล็กมาก ถ้าหากใช้สายส่งยาวมาก จะไม่
สามารถได้ยิน เสียงของผู้ ที่ส่งมา วิธีการของ ALEXANDER GRAHAM BELL จึงไม่ประสบ
ผลสาเร็จเท่าใดนัก แต่ก็เป็นเครื่องต้นแบบ ให้มีการพัฒนา ต่อมาในปี พ.ศ. 2420 THOMAS ALVA
EDISON ได้ประดิษฐ์ ตัวส่งขึ้นมาใหม่ให้สามารถ ส่งได้ไกล ขึ้นกว่าเดิมซึ่ง ตัวส่งที่ Edison
ประดิษฐ์ขึ้นมา มีชื่อว่า คาร์บอน ทรานสมิทเตอร์ (Carbon Transmitter) คาร์บอนทรานสมิทเตอร์
ให้กระแส ไฟฟ้าออกมาแรงมาก
ภาพที่ 1.3 THOMAS ALVA EDISON
ภาพที่ 1.4 ลักษณะของทรานสมิทเตอร์ (Transmitter)
เนื่องจากเมื่อมีเสียงมากระทบแผ่นไดอะแฟรม แผ่นไดอะแฟรมจะไปกดผง คาร์บอน (Carbon) ทา
ให้ค่าความต้านทานของ ผงคาร์บอน เปลี่ยนแปลงไปตามแรงกด ดังนั้นแรงเคลื่อน ตกคร่อมผง
คาร์บอนจะเปลี่ยนแปลงด้วย เนื่องจากแรงเคลื่อน ที่จ่ายให้ คาร์บอน มีค่ามากพอสมควร การ
เปลี่ยนแปลงแรงเคลื่อน จึงมีมากตามไปด้วย และการเปลี่ยนแปลงนี้ เป็นการเปลี่ยนแปลง ยอดของ
DC ที่จ่ายให้คาร์บอน (ดังรูปที่ 1.4) ซึ่งเราอาจกล่าวได้ว่า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ก็คือ AC ที่ขี่อยู่
บนยอดของ DC นั่นเอง
รูปที่ 1.5 แสดงลักษณะของ AC ที่อยู่บนยอดของ DC
ดังนั้น เมื่อ DC ไปถึงไหน AC ก็ไปถึงนั่นเช่นกัน แต่ DC มีค่าประมาณ 6-12 Volts
(ค่าแรงเคลื่อนเลี้ยงสายโทรศัพท์ ขณะยกหู) ซึ่งมากพอที่จะวิ่งไปได้ระยะทาง ประมาณ 5 กิโลเมตร
นั่นคือ AC ที่เป็นสัญญาณเสียงก็ไปได้เช่นกัน หลังจากนี้ ก็ได้มี การพัฒนาโทรศัพท์ขึ้นมาใช้งาน
มากมายหลายระบบตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ ซึ่งมีการพัฒนาทั้งระบบชุมสาย
(Exchange) และ ตัวเครื่องโทรศัพท์ (Telephone Set) ด้วย ให้สามารถใช้งานได้สะดวกสบาย และมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
1.3 วิวัฒนาการโทรศัพท์ในประเทศไทย
" ตานานไปรษณีย์โทรเลขสยาม" พ.ศ. 2429 ถึง พ.ศ. 2468 ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับโทรศัพท์
ในประเทศไทยไว้ว่า ประเทศไทยได้นาเอาโทรศัพท์มาใช้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2424 ตรงกับ
รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยกรมกลาโหม (กระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน) ได้สั่งเข้ามาใช้
งานในกิจการเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ โดยติดตั้งที่กรมอู่ทหารเรือกรุงเทพฯ 1 เครื่อง และป้อมยาม
ปากน้าเจ้าพระยา จังหวัดสมุทรปราการอีก 1 เครื่อง รวม 2 เครื่อง เพื่อจะได้แจ้งข่าวเรือ เข้าออกใน
แม่น้าเจ้าพระยาให้ทางกรุงเทพฯทราบ
พ.ศ. 2429 กิจการโทรศัพท์ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้น จานวนเลขหมายและบุคลากร ก็เพิ่มมากขึ้น
ยุ่งยากแก่การบริหารงาน ของกรมกลาโหม ดังนั้น กรมกลาโหม จึงได้โอนกิจการของโทรศัพท์ ให้
ไปอยู่ใน การ ดูแลและดาเนินการ ของกรมไปรษณีย์ โทรเลข ต่อมากรมไปรษณีย์โทรเลขก็ได้ขยาย
กิจการโทรศัพท์จากภาครัฐสู่เอกชนโดยให้ประชาชนมีโอกาสใช้โทรศัพท์ได้ในระยะนี้เครื่องที่ใช้
จะเป็นระบบแม็กนีโต(Magneto)หรือระบบโลคอลแบตเตอรี่(LocalBattery)
พ.ศ. 2450 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้สั่งโทรศัพท์ ระบบคอมมอนแบตเตอรี่ (Common Battery)
หรือ เซ็นทรัล แบตเตอรี่ (Central Battery) มาใช้ซึ่งสะดวกและประหยัดกว่าระบบแม็กนีโตมาก
พ.ศ. 2479 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้สั่งซื้อชุมสายระบบสเต็บบายสเต็บ (Step by Step) ซึ่งเป็น
ระบบอัตโนมัติ สามารถหมุนเลขหมายถึงกันโดยตรง โดยไม่ต้องผ่านพนักงานต่อสาย (Operator)
เหมือนโลคอลแบตเตอรี่หรือเซ็นทรัลแบตเตอรี่
พ.ศ. 2497 เนื่องจากกิจการโทรศัพท์ได้เจริญก้าวหน้ามาก ประชาชนนิยมใช้ แพร่หลายไปทั่ว
ประเทศ กิจการใหญ่ โตขึ้นมากทาให้การบริหารงานลาบากมากขึ้น เพราะกรมไปรษณีย์โทรเลข
ต้องดูแลเรื่องอื่นอีกมาก ดังนั้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 จึงได้มีพระบรมราชโองการโปรด
เกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติตั้งองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยขึ้น โดยแยก กองช่างโทรศัพท์
กรมไปรษณีย์โทรเลขมาตั้งเป็นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยขึ้น มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัด
กระทรวง คมนาคมมาจนถึงปัจจุบัน องค์การโทรศัพท์หลังจากที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นแล้ว ก็ได้รับ
โอนงานกิจการโทรศัพท์มาดูแล
พ.ศ. 2517 องค์การโทรศัพท์ก็สั่งซื้อชุมสายโทรศัพท์ระบบคอสบาร์ (Cross Bar) มาใช้งาน
ระบบคอสบาร์ เป็นระบบอัตโนมัติเหมือนระบบสเต็บบายสเต็บแต่ทันสมัยกว่าทางานได้เร็วกว่า มี
วงจรพูดได้มากกว่าและขนาดเล็กกว่า
พ.ศ. 2526 องค์การโทรศัพท์ได้นาระบบชุมสาย SPC (Storage Program Control) มาใช้งาน
ระบบ SPC เป็นระบบที่ควบคุมการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer) ทางานได้รวดเร็วมาก
ขนาดเล็กกินไฟน้อยและยังให้บริการเสริมด้านอื่นๆได้อีกด้วย
ในปัจจุบันชุมสายโทรศัพท์ที่ติดตั้งใหม่ ๆ จะเป็นระบบ SPC ทั้งหมด ระบบอื่น ๆ เลิกผลิตแล้ว
ประเทศไทยเรากาลัง เร่งติดตั้งโทรศัพท์เพื่อให้พอใช้กับประชาชน ดังจะเห็นจากโครงการ 3 ล้าน
เลขหมายในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 และโครงการอื่น ๆ ต่อไป รวมทั้ง
วิทยุโทรศัพท์อีกด้วย เพื่อเสริมให้ระบบสื่อสารในประเทศไทยมีประสิทธิภาพ เอื้ออานวย ต่อการ
พัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป
2. วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์
วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์มือถือกับวัยรุ่นในปัจจุบันไม่ใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารเพียง
อย่างเดียวเท่านั้นจะเห็นได้ว่าบริษัทผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือต่างๆในตอนนี้ต่างก็แข่งขันกันทาลูกเล่น
ใหม่ๆขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพราะในยุคที่มีการแข่งขันสูงการนาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้กับโทรศัพท์มือถือนั้นยิ่งทาให้มีความน่าสนใจมากขึ้นนอกจากจะโทรออก
หรือรับสายได้แล้วยังสามารถทาอย่างอื่นได้ เช่น ถ่ายภาพ ถ่ายวีดี โอฟังเพลง เล่นเกม รวมถึงการ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและรับส่งอีเมล์ซึ่งเป็นการก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการสื่อสารที่ไร้พรมแดนจากผล
สารวจของกรุงเทพโพลล์โดยเก็บข้อมูลจากวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานครที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
จานวนทั้งสิ้น 1,700 คน เป็นเพศชายร้อยละ 48.8 และเพศหญิงร้อยละ 51.2สรุปผลว่า มีดังนี้
- พูดคุยและส่ง SMS ร้อยละ 57.7
- ฟังเพลง ฟังวิทยุร้อยละ 20.3
- ถ่ายรูปถ่ายคลิปวีดีโอ ร้อยละ 11.6
- เล่นเกม ร้อยละ 5.6
- เล่นอินเทอร์เน็ตร้อยละ 4.8
2.1 ข้อดีของการใช้โทรศัพท์มือถือ
1.ใช้สื่อสารทางไกลได้ สะดวกต่อการคุยงานหรือธุรกิจต่างๆได้
2.สามารถ ถ่ายภาพ ติดตามข่าวสาร ท่องอินเตอร์เน็ตได้สะดวกรวดเร็ว
3.ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น บางทีอาจสามารถใช้แทนคอมพิวเตอร์ได้เลย
4.ช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องหรือชี้นาเส้นทาง กรณีที่ต้องเดินทางไปในสถานที่ไม่
คุ้นเคย เพื่อป้ องกันการขับรถหลงทาง
5.พกพาสะดวก
6.สามารถขอความช่วยเหลือได้ทันทีหากเกิดเหตุด่วน
7.ช่วยเตือนความจาได้
3.ผลกระทบเกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
ผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือส่ง
ผลกระทบต่อเซลล์และโครโมโซมของมนุษย์ทาให้ร่างกายไม่สามารถซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอได้
และยังมีความสาคัญกับการเกิดโรคมะเร็งที่สมอง ในประเทศอังกฤษมีการประกาศเตือนเด็กวัยรุ่นที่
อายุต่ากว่า ๑๖ ปี ให้หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือ เพราะเป็นวัยที่สมองเติบโตไม่เต็มที่โดย
กะโหลกและสมองไม่สามารถต้านทานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและรังสีได้จากกรณีดังกล่าวทาให้
ประชาชนเกิดความวิตกกังวลต่อผลกระทบที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสถาบันมะเร็ง
แห่งชาติได้ศึกษาและติดตามข้อมูลจากสถาบันต่าง ๆ จากรายงานล่าสุดขององค์การอนามัยโลก เมื่อ
ปี ๒๐๐๐ ในเรื่องโทรศัพท์มือถือกับการเกิดโรคมะเร็ง ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานชัดเจนที่บ่งบอกถึง
สาเหตุของมะเร็งในสมอง ประกอบกับการศึกษาของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ของประเทศ
สหรัฐอเมริกา และ American health care foundation พบว่า โทรศัพท์มือถือไม่ได้เพิ่มโอกาสการ
เป็นมะเร็งในสมอง แต่อย่างไรก็ตาม มีการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์บางประเทศได้รายงานผล
ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสัตว์ทดลอง และในเนื้อเยื่อ พบว่า ทาให้เซลล์แบ่งตัวเร็วกว่าปกติ
3.1 ผลกระทบทั่วไปที่เกิดขึ้น
ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือเป็นอุปกรณ์สื่อสารที่สาคัญในชีวิตประจาวันของประชากรมากกว่า
๑.๔ พันล้านคนทั่วโลก สาหรับในประเทศไทยมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า ๒๐ ล้านคน และมี
แนวโน้มที่จะมีจานวนของผู้ใช้มากขึ้นทุกปี โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์ทาให้การติดต่อสื่อสารด้วย
วาจาพร้อมทั้งการส่งข้อมูลเป็นไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ช่วยให้ความเป็นอยู่ของคนไทยและ
เศรษฐกิจของประเทศพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการใช้โทรศัพท์มือถือแนบที่หูครั้งละ
นาน ๆ เป็นเวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ แพทย์ และนักวิทยาศาสตร์หลายท่านเตือน
ว่าผู้ที่ได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจจะมีโอกาส
เสี่ยงในการเกิดโรคได้หลายชนิด เช่น ปวดศีรษะ มะเร็งสมอง หูอักเสบ มะเร็งของเม็ดเลือดขาว
และความจาเสื่อม เป็นต้น จากคาเตือนดังกล่าวทาให้มีการวิจัยถึงผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
จากโทรศัพท์มือถือมากขึ้น ในปัจจุบันข้อมูลที่ได้รับจากรายงานการวิจัยชี้ว่ายังมีข้อขัดแย้งกัน
เกี่ยวกับผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถือกับการทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ในมนุษย์
แต่จากการศึกษาของนักวิชาการ ผู้รู้ ผู้เกี่ยวข้อง จากในและต่างประเทศ สรุปได้ดังนี้
1. การใช้โทรศัพท์มือถือแนบไว้ที่หูนาน ๆ เป็นเวลาหลายปีน่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของ
ผู้ใช้โดยตรงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยมีรายงานการวิจัยในหลอดทดลองพบว่าคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) ที่เกิดจากการรับ - ส่งสัญญาณโทรศัพท์มือถือซึ่งมีความถี่
อยู่ในช่วงคลื่นไมโครเวฟนั้น สามารถทาให้เกิดความร้อน และทาร้ายเซลล์ภายในเนื้อเยื่อบริเวณหู
ตา และสมอง ทาให้เกิดผลกระทบกับผู้ใช้ คือ ผลในระยะสั้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจาก
โทรศัพท์มือถือจะทาให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น ปวดหู ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว มึนงง ขาดสมาธิ และ
เครียดเนื่องจากระบบพลังงานในร่างกายถูกรบกวน นอนไม่หลับเนื่องจากมีการหลั่งฮอร์โมนเมลา
โตนิน (melatonin) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการนอนหลับในร่างกายลดลง และคลื่นสมองมีการ
เปลี่ยนแปลงไป ผลในระยะยาว คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถืออาจทาให้เกิดโรคความจา
เสื่อม เนื่องจากเนื้อเยื่อสมองถูกทาลาย โรคมะเร็งสมองเนื่องจากเนื้อเยื่อสมองมีการเปลี่ยนแปลง
ทางพันธุกรรมไปจากปกติ โรคมะเร็งของเม็ดเลือดขาว เช่น leukemia และ lymphoma เป็นต้น
แต่อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยต่าง ๆ เกี่ยวกับผลกระทบในการทาให้เกิดโรคความจาเสื่อมและ
โรคมะเร็งนั้น ยังมีข้อโต้แย้งกันอยู่ และยังหาข้อสรุปที่ชัดเจนไม่ได้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือทุกคนก็ควร
จะตระหนักและระมัดระวังในการใช้ข้อแนะนาในขณะนี้ คือ ไม่ควรพูดโทรศัพท์นานหรือใช้ถี่
เกินไป และควรใช้เครื่องแบบ small talk หรือ hand free ดังนั้นรัฐบาลไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สมควรสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อพิสูจน์หาข้อเท็จจริงของเรื่องนี้ในคนไทยต่อไป
2. เนื่องจากเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า การที่จะต้องรับสัมผัสเป็นเวลานาน ๆ จึงก่อให้เกิดความ
กังวลว่า อาจจะเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งหรือเนื้องอกของสมองได้อย่างไรก็ตามจากรายงาน
การศึกษาล่าสุด ยังไม่มีการศึกษาใดที่จะพิสูจน์สมมติฐานอันนี้ได้ นักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งมีความ
เชื่อว่า โอกาสเสี่ยงที่จะเกิดโรคมะเร็งของสมองเป็นไปได้น้อยมาก เนื่องจากปริมาณการรับสัมผัส
กับคลื่นรังสี (Radiofrequency (RF) exposure) ในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก
เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานของ International RF guidelines ในทานองตรงกันข้ามจากการศึกษา
ของ Hardell และคณะในประเทศสวีเดน พบว่า แม้จะไม่มีความแตกต่างของความชุกของ
โรคมะเร็งของสมองในกลุ่มผู้ใช้และผู้ไม่ใช้โทรศัพท์มือถือ แต่มีการพบความสัมพันธ์ของการตรวจ
พบก้อนเนื้องอกของสมองในข้างเดียวกันกับด้านที่ใช้โทรศัพท์มือถือในกลุ่มของผู้ใช้เท่าที่ผ่านมา
ข้อจากัดของการศึกษาในปัจจุบัน อาจจะเนื่องมาจากระยะเวลาการรับสัมผัส (duration of
exposura) ยังสั้นเกินไป มีปัจจัยกวนมากและการเก็บข้อมูลประวัติการรับสัมผัส(dose of exposure)
ยังไม่ดีพอ
3. จากการศึกษาโดย Sandstrom และคณะ ในประเทศนอร์เวย์ พบว่า เครื่องใช้โทรศัพท์ใน
ระบบดิจิตอล (GSM) ไม่ได้ก่อให้เกิดอาการผิดปกติในผู้ใช้มากไปกว่าเครื่องในระบบอนาล็อก
(NMT) นอกจากนี้อาการผิดปกติ คือ อาการร้อนบริเวณรอบ ๆ หู ยังมีการรายงานในกลุ่มผู้ใช้
โทรศัพท์มือถือในระบบดิจิตอลน้อยกว่าด้วย
4. การใช้โทรศัพท์มือถือในเด็กเล็กที่มีอายุต่ากว่า ๑๐ ขวบ จะมีผลกระทบต่อสุขภาพมากกว่า
ในผู้ใหญ่ เนื่องจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าสามารถผ่านกะโหลกศีรษะของเด็กเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองได้ลึก
กว่าของผู้ใหญ่
5. ในบริเวณที่มีสัญญาณคลื่นโทรศัพท์จากสถานีส่งต่า ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือจะได้รับผลกระทบ
จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของโทรศัพท์มือถือมากกว่าปกติ เนื่องจากโทรศัพท์มือถือจะเพิ่มพลังในการ
ส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาสูงมาก
6. การใช้อุปกรณ์หูฟัง (small talk หรือ hand free) จะทาให้ผู้ใช้ได้รับผลกระทบจากคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าที่ผ่านเข้าสู่สมองน้อยกว่าการใช้โทรศัพท์มือถือที่แนบหูโดยตรง
7.การโทรไม่ติดหรือหลุดบ่อยทาให้อารมณ์เสีย หงุดหงิด สุขภาพจิตเสื่อมลง กล้ามเนื้อคอ
หัวไหล่มักจะเกร็งเนื่องจากต้องถือโทรศัพท์อยู่ตลอดเวลาและบางครั้งยังต้องพยายามเอียงคอและใช้
มือดันโทรศัพท์ให้แนบติดกับใบหูอยู่ตลอดเวลา การเกร็งตัวของกล้ามเนื้อคอเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่
ทาให้ปวดศีรษะ เพราะเมื่อกล้ามเนื้อหดตัวตลอดเวลาหลอดเลือดจะส่งเลือดไปเลี้ยงสมองไม่
เพียงพอ การแก้ไขอาจต้องใช้โทรศัพท์ที่มีขนาดเบาอย่าคุยโทรศัพท์นานเกินควร และถ้าอยู่ในรถ
อาจผ่านขยายเครื่องขยายเสียงและใช้ไมโครโฟนในการสนทนา ซึ่งในกรณีนี้นอกจากจะไม่เป็น
ผลเสีย ต่อสุขภาพแล้วยังลดอุบัติเหตุบนท้องถนนลงได้
8. ถ่านไฟที่ใช้กับโทรศัพท์มือถือประกอบด้วยสารอันตรายหลายชนิดไส้แบตเตอรี่ใน
โทรศัพท์มือถือที่ท่านต้องเปลี่ยนตามเวลาทุก 12-18เดือนนั้นไส้แบตเตอรี่ที่ใช้ในถ่าน
โทรศัพท์มือถือมี 2 ชนิด คือ ชนิดNICAD(Nickel Cadmium Cells) และ Hydride (Nickel Metal
Hydride Cells) สารประกอบที่ใช้ในถ่านชนิดแรกคือ NICADจัดเป็นขยะอันตรายที่จะก่อโทษกับ
สุขภาพของคนและเกิดมลภาวะในสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจากขั้วลบของถ่านชนิดนี้เป็ น
แคดเมียมไฮดรอกไซด์ เมื่อบรรจุไฟแล้วจะกลายสภาพเป็นแคดเมียมซึ่งเป็นสารก่อพิษในสิ่งมีชีวิต
ทุกชนิดในโลก แคดเมียมเป็นโลหะหนักมีอยู่ในธรรมชาติจานวนน้อย หากได้รับเข้าไปทีละน้อย
จากการหายใจ กินหรือดื่มก็จะเกิดพิษเรื้อรังทีละน้อย ด้วยอาการสาคัญคือ ไตอักเสบ ไตวาย ข้อ
เสื่อมถุงลมปอดโป่งพอง ระบบหายใจผิดปกติ และทาให้เกิดมะเร็งในอวัยวะหลายชนิดที่น่ากลัวคือ
แคดเมียมที่ ถูกทิ้งจากการอุตสาหกรรมหรือแบตเตอรี่จะปนเปื้อนเข้าในดิน น้า ซึ่งสัตว์และพืชจะ
รับเข้าไปในตัวเมื่อคนกินสัตว์หรือพืชเข้าไปก็จะได้รับแคดเมียมสะสมเข้าไปในปริมาณที่เกิดพิษได้
ง่ายขณะนี้ตัวเลขที่ได้จากการจดทะเบียนมือถือทั่วประเทศมีจานวนมากและมีจานวนไม่น้อยที่ใช้
แบตเตอรี่แบบ NICADซึ่งแต่ละก้อนจะมีอายุการใช้งานประมาณ1 ปี ดังนั้นจะมีแบตเตอรี่
NICAD เป็นพิษทิ้งจานวนหลายล้านก้อนต่อปีขณะนี้มีประชาชนที่รู้ถึงพิษของขยะอันตราย และ
พยายามแยกขยะแต่ก็ไม่สามารถที่จะหาที่ทิ้งที่ถูกต้อง หรือหาหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงได้
9. การขับรถการใช้โทรศัพท์มือถือทาให้มีอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น
10. กล้องโทรศัพท์มือถือในหลายๆครั้งพบว่ากล้องของโทรศัพท์มือถือถูกนามาใช้ในทางเสีย
เช่นคลิปวิดีโอแอบถ่าย รูปภาพแอบถ่าย เป็นต้น
11. ทาให้เกิดอาชญากรรมอันถึงแก่ชีวิตได้หากโทรศัพท์สะดุดเข้าตาโจร
12. การรบกวนของคลื่นวิทยุจะรบกวนการทางานของอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น
เครื่องกระตุ้นการเต้นของหัวใจ Pacemaker, defibrillatorและอาจจะมีผลต่อการควบคุมการบิน
3.2การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์มือถือ
โดยสิ่งที่ได้รับการกล่าวถึง ในด้านอันตรายที่สุดก็คือ การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์เอง ซึ่งเป็นที่
ทราบกันดีอยู่แล้วว่า สิ่งมีชีวิตหากได้รับรังสีในปริมาณมากๆ ยิ่งมีความเข้มของรังสีสูงแล้ว ย่อมทา
อันตรายถึงชีวิตได้ โดยโรคที่คาดว่าจะก่อให้เกิดได้จากการรับรังสีจากมือถือ ก็คือ มะเร็งในสมอง
องค์การอาหารและยาของอเมริกา ยอมรับว่า คลื่นความถี่รังสีวิทยุ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสิ่งมี
ชีวิต (เช่น ไมโครเวฟ) และในโทรศัพท์มือถือ ก็ก่อให้เกิดรังสีประเภทนี้ แม้ในภาวะปกติ จะพบรังสี
นี้อยู่น้อยมากแต่เมื่อเกิดการสื่อสาร พูดคุย ปริมาณรังสีก็จะมากขึ้น โดยในปีหนึ่งๆ มีผู้ป่วยด้วย
มะเร็งในสมองเป็นอัตรา6คนต่อ1แสนคนถ้ามีผู้ใช้โทรศัพท์ 80 ล้านคน ก็จะมีผู้ป่วยถึง 4800 คนใน
แต่ละปี แต่ก็ไม่ได้ฟันธงลงไปว่า ผู้ป่ วยเป็นมะเร็งเพราะใช้มือถือ ได้แต่เพียงเตือนว่า ผู้ใช้
มือถือมีโอกาสเป็นมะเร็งในสมองสูงกว่าผู้ไม่ได้ใช้เท่านั้นเอง นายแพทย์สักกะ ณ ตะกั่วทุ่ง แพทย์หู
คอจมูกประจาโรงพยาบาลพญาไทกล่าวว่าสิ่งที่วงการแพทย์สามารถยืนยันได้ถึงผลกระทบดังกล่าว
ในขณะนี้ก็คือการคุยโทรศัพท์เคลื่อนที่นานๆผู้ใช้อาจเกิดอาการปวดศีรษะ,ผิวหนังเหี่ยวย่น, ความจา
แย่ลง ขณะเดียวกัน ยังมีข้อสมมติฐานที่ว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าของโทรศัพท์เคลื่อนที่ อาจ
ทาให้เกิดการรั่วของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ซึ่งจะสะสมในระบบหมุนเวียนโลหิต ส่งผลให้เกิด
โรคความดันสูงนอกจากนี้ยังทาให้เยื่อหุ้มสมองเสื่อม เป็นผลให้เกิดโรคความจาเสื่อม และอัลไซ
เมอร์ได้ นักวิทยาศาสตร์กล่าวแจ้งว่ามะเร็งของสมองต้องใช้เวลาก่อตัวหลายสิบปี ก่อนหน้านี้ราช
สมาคมในลอนดอน ก็เคยเปิดเผยรายงานผลการศึกษาว่าผู้ใหญ่ที่ใช้โทรศัพท์มือถือมาก่อนอายุ20ปี
เสี่ยงกับการจะเป็นมะเร็งสมองเมื่อตอนอายุ29 ปี ยิ่งกว่าคนที่ไม่ได้ใช้ถึง 5 เท่า ดร.คาร์เปนเตอร์ ชี้ว่า
“มันอาจจะเป็นกับศีรษะทางด้านที่ใช้พูดโทรศัพท์” และกล่าวว่า “เด็กทุกคนพากันใช้มันตลอดเวลา
และทั้งโลกพากันใช้โทรศัพท์มือถือมากถึง3พันล้านเครื่องเขาเรียกร้องว่าควรจะมีการติดคาเตือน
ให้กับโทรศัพท์มือถือเหมือนกับตามซองบุหรี่เสียนอกจากนี้ยังมีคาเตือนจากแพทย์ว่าผู้ชายไม่ควร
พกมือถือที่เอว เสี่ยงรับผลกระทบต่อไขกระดูก และอัณฑะ ส่วนกรณีโรคหัวใจไม่ควรพกใส่
กระเป๋ าเสื้อแม้ไม่มีผลยืนยันชัดเจนแต่ต้องป้ องกันไว้ก่อน อีกทั้งไม่ควรโทรนานเกิน 15 นาที เพราะ
อาจส่งผลต่อการทางานของสมองและระบบเม็ดเลือดแดง
3.3 โทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่ทุกวันนี้ก่อให้เกิดขยะได้
คงมีน้อยคนที่รู้ว่าในแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ จะมีส่วนประกอบที่เป็น
สารโลหะหนักผสมอยู่ ไส้แบตเตอรี่ ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้มี 2 ชนิดคือ... ชนิด NICAD (Nickel
Cadmium Cells) และชนิด HYDRIDE (Nickel Metal Hydride Cells)สารประกอบที่ใช้ในถ่านชนิด
NICAD จัดเป็นขยะอันตรายที่ก่อให้เกิดโทษกับสุขภาพของคน และเกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อม
เนื่องจาก ขั้วลบของถ่านชนิดนี้เป็น "แคดเมียม ไฮดรอกไซด์" เมื่อบรรจุไฟแล้วจะกลายสภาพเป็น
แคดเมียมเป็นสารก่อพิษในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในโลก แคดเมียมเป็นโลหะหนัก มีอยู่ในธรรมชาติแต่
เป็นจานวนน้อยซึ่งหากร่างกายได้รับเข้าไปทีละน้อยจากการหายใจ-กิน-ดื่มก็จะเกิดพิษเรื้อรัง ทีละ
น้อย จนที่สุดอาจก่อให้เกิดอาการ... ระบบหายใจผิดปกติ ไตอักเสบ ไตวาย ข้อเสื่อม ถุงลมโป่งพอง
และทาให้เกิด มะเร็ง ในอวัยวะได้หลายชนิด "แคดเมียมที่ถูกทิ้งหรือปนเปื้อนเข้าใน ดิน-น้า หาก
สัตว์หรือพืชรับเข้าไปเมื่อคนกินสัตว์หรือพืชเข้าไปก็จะได้รับแคดเมียมสะสมเข้าไปในปริมาณที่เกิด
พิษได้ง่าย"นิกเกิลกับแคดเมียมก็เป็นอีกสาเหตุที่ก่อให้เกิด"โรคชนิดใหม่" ขึ้นมา ซึ่งกว่าจะรู้ตัวก็อาจ
สายไปเสียแล้วและแม้ว่าบางบริษัทผู้ผลิตจะบอกว่าโทรศัพท์หรือแบตเตอรี่ทามาจาก"แมงกานีส"
ซึ่งมีพิษน้อย จึงไม่เรียกคืน แต่แมงกานีสนี้ก็เป็นอันตรายต่อมนุษย์เหมือนกัน
3.4 สารโลหะหนักที่อยู่ในแบตเตอรี่ประกอบด้วย
1. แคดเมียม ซึ่งหากสะสมในร่างกายในปริมาณถึงระดับหนึ่งก็จะก่อให้เกิดโรคไตวายได้ และ
เป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งโดยการสูดดม
2. ตะกั่ว เป็นสารก่อมะเร็ง และมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางระบบย่อยอาหาร ไต โลหิต
หัวใจ การพัฒนาของทารกในครรภ์
3. ลิเธียม ก่อให้เกิดการการระเคืองต่อจมูก ลาคอ ทาให้หายใจติดขัดถ้ากลืนกินเข้าไปจะมีฤทธิ์
กัดกร่อนทาให้เกิดอาการเจ็บคอ ปวดท้องและอาเจียนได้ ถ้าเข้าตาจะทาให้เกิดการระคายเคืองและ
อาจทาให้ตาบอด
4. ทองแดง ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบหายใจ และเป็นอันตรายหากกลืนกิน
5. นิเกิล เป็นสารก่อมะเร็ง เมื่อหายใจเข้าไปอาจทาให้เกิดอาการหอบหืด หลอดลมอักเสบ
หายใจติดขัดและทาให้ผิวหนัง อักเสบ และถ้ากลืนหรือกินเข้าไปอาจก่อให้เกิดอันตรายได้
3.5 โรคที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีผลกระทบในเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนไทย
1. โรคเห่อตามแฟชั่นโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นนิยมเปลี่ยนมือถือตามแฟชั่นเพื่อให้อินเทรนด์ ดู
ทันสมัยไม่ตกรุ่นทัดเทียมเพื่อนดังนั้นมือถือจึงกลายเป็นเครื่องประดับที่บ่งบอกสถานภาพทางสังคม
อีกทางหนึ่ง
2. โรคทรัพย์จาง ซึ่งหลายคนต้องหาเงินเพื่อมาซื้อมือถือรุ่นใหม่ทั้งนี้บางคนไม่มีเงินแต่รสนิยม
สูงจึงเกิดสภาวะทรัพย์จางต้องไปกู้ยืมหนี้ยืมสินมาซื้อมือถือ เป็นต้น
3. โรคขาดความอดทนและใจร้อนเนื่องจากคุณสมบัติของโทรศัพท์มือถือกดปุ๊ บต้อง ติดปั๊บ
ทาให้หลายคนกลายเป็นคนไม่มีความอดทนแม้แต่เรื่องเล็กๆ เช่น นัดเพื่อนไว้ช้าแค่ 5 นาที ต้องโทร
ตาม จึงกลายเป็นคนเร่งรีบ ร้อนรน และไม่รอบคอบ
4. โรคขาดกาลเทศะและไร้มารยาทซึ่งการโทรศัพท์ไปหาบุคคลที่เราอยากจะพูด ทุกเวลาโดย
ไม่ดูเวลาหรือกาลเทศะที่ควรโทร บางคนโทรขายประกัน ขายเครื่องกรองน้าชวนสมัครบัตรเครดิต
ทั้งๆที่ไม่รู้จักกันทาให้ผู้รับสายเกิดความราคาญใจ
5.โรคขาดมนุษยสัมพันธ์ คนส่วนใหญ่จะใช้มือถือพูดคุยกับญาติสนิท ขาดความใส่ใจที่จะ
สร้างสัมพันธ์กับผู้อื่นหลบมุมโทรไปคุยกับเพื่อนแทนที่จะพูดคุยกับพ่อแม่ผู้ปกครองหรือทกิจกรรม
ที่ทาให้ความสัมพันธ์ในบ้านห่างเหินซึ่งจะเกิดอาการเฉาหรือเหงาหงอยกลายเป็นคนแยกตัวออก
จากสังคมมีโลกของตัวเองและเป็นโรคติดโทรศัพท์ในที่สุด
6.โรคไม่จริงใจ เนื่องจากการพูดคุยทางโทรศัพท์ไม่ต้องเห็นหน้าตาท่าทาง สายตาและ
ปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อกัน ทาให้หลายคนสามารถใช้คาหวานหลอกลวงหรือพูดโกหกผู้อื่น หรือนิยม
ส่ง sms ไปยังอีกฝ่าย ทาเสมือนรักใคร่ ผูกพันหรือห่วงใย
3.6 โรคยอดฮิตที่มากับการติดมือถือ
โรคติดโทรศัพท์มือถือนั้นมืชื่อเรียกในภาษาการแพทย์ว่า “โนโมโฟเบีย” ถือเป็นโรคสมัยใหม่
ที่ YouGov ซึ่งเป็นองค์การวิจัยของสหราชอาณาจักร บัญญัติศัพท์คานี้ออกมาเรียกใช้ โดยการนาคา
ว่า no-mobile-phone มารวมกับคาว่า phobia ซึ่งหมายถึงโรคกลัวในทางจิตเวช จัดอยู่ในกลุ่มวิตก
กังวล เป็นความกลัวที่มากกว่าความกลัวทั่วๆ ไปคนที่ เป็นโรคโนโมโฟเบีย จะมีอาการเครียด
คลื่นไส้ ตัวสั่น เป็นอาการเกิดจากความหวาดกลัวในการขาดโทรศัพท์มือถือ ไม่มีโทรศัพท์อยู่ติดกับ
ตัว รวมไปถึงความเครียดเมื่ออยู่ในจุดอับสัญญาณ ความกังวลเมื่อเเบตเตอรี่หมด กลัวที่จะไม่
สามารถติดต่อสื่อสารกับใครได้
การบ่งบอกสัญญาณของโรคติดมือถือ เช่น หมกมุ่นอยู่กับการเช็คมือถือตลอดเวลา กังวลไปว่า
มือถือจะหายคอยตรวจเช็คดูตลอด ต้องวางมือถือไว้ในจุดที่เอื้อมหยิบถึงได้ตลอดเวลา ใช้เวลากับ
โทรศัพท์มือถือมากว่าสนทนากับคนรอบข้าง ก่อนทานอาหารต้องถ่ายรูปเพื่อโพสลงโซเชี่ยล
เน็ตเวิร์ค โพสรูปและความรู้สึกลงในสื่อออนไลน์ตลอดเวลา วันละหลายครั้ง และทีนี้มาดู
ผลกระทบต่อส่วนต่างๆ ของร่างกายกันบ้าง
อาการปวดเมื่อย
อาการปวดเมื่อย คอ บ่า ไหล่ ถือเป็นอาการลาดับแรกๆ ที่เป็นผลมาจากการนั่งเกร็งในท่าเดิมๆ
ยิ่งไปกว่านั้นเวลาที่เราเพ่งดูหน้าจอนั้น ท่าทางรายการของเราก็จะค่อยค้อมลง ตัวงอและงุ้ม ส่งผล
ให้ล้าไปทั้งคอและบ่า และอาจส่งผลไปถึงการปวดศีรษะ เพราะเลือดที่ไปเลี้ยงสมองนั้นต้องไหล
ผ่านกล้ามเนื้อส่วนบ่า ต้นคอ เมื่อเกิดอาการเกร็งจนกล้ามเนื้อบิด ทาให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกนัก
เมื่อเป็นบ่อยครั้งเข้าจะทาให้รู้สึกปวดศีรษะได้หากเกิดอาการนี้กับเด็กหรือวัยรุ่นจะส่งผลให้กระดูก
หรือหมอนรองกระดูกเสื่อก่อนวันอันควรอีกด้วยนอกจากปวดเมื่อยแล้วจากการนั่งหลังงุ้มแล้ว ยัง
ส่งผลต่อโรคระบบทางเดินหายใจ เมื่อนั่งหลังงุ้มจะทาให้หายใจไม่สุดปอด หายใจสั้นและติดขัด
ส่งผลต่อการขับของเสียหรือเชื้อโรคในทางเดินหายใจที่ถูกจากัดลง
อาการตาเสื่อม
การจ้องหน้าจอนานๆ ทาให้กล้ามเนื้อรอบดวงตาเกร็งตัว เมื่อมองแสงสีของภาพจากจอที่
ฉูดฉาด เคลื่อนที่เร็ว ทาให้ประสาทตาล้า เกิดอาการตาแห้ง ซึ่งเมื่อเป็นแบบนี้บ่อยครั้งเข้าก็จะส่งผล
ให้ประสาทตาเสื่อมสภาพเร็วขึ้น
อาการนิ้วล็อก
การใช้มือถือจิ้มที่หน้าจอบ่อยๆ นานๆ อาจทาให้เป็นอาการนิ้วล็อก นิ้วชา ปวดข้อมือ อาจะถึง
ขั้นเส้นเอ็นข้อมืออักเสบ ลักษณะอาการนิ้วล็อกให้สังเกตจาก จะเริ่มกามือไม่ค่อยลง มือและนิ้วแข็ง
กาแล้วเหยียดขึ้นไม่ได้ เมื่อตื่นนอนขึ้นมายิ่งรู้สึกมือแข็งมาก รู้สึกปวดเมื่อยมือและนิ้ว ให้สงสัยได้
เลยว่าคุณกาลังเป็นโรคนิ้วล็อก ควรพบแพทย์เพื่อรักษาต่อไป
อาการอ้วนและโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร
การนั่งอยู่กับที่นานๆ ทาให้ร่างกายไม่เกิดการเผาผลาญ อาหารถูกพอกพูนเป็นไขมันสะสม
โดยเฉพาะบริเวณหน้าท้อง ก้น และต้นขา เกิดการสะสมเซลลูไลท์ นอกจากจะทาให้อ้วนขึ้นแล้ว ยัง
ส่งผลต่อสุขภาพของกระเพาะอาหาร อาหารย่อยยาก ท้องอืด ลาไส้อ่อนแรง เพราะไม่ค่อยมีการ
เคลื่อนไหวของลาไส้
3.7 โรคซีวีเอส
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า การใช้งานโทรศัพท์มือถือ
สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ที่มากเกินความจาเป็นอาจส่งผลเสียต่อร่างกายได้ ซึ่งหนึ่ง
ในโรคที่อาจส่งกระทบต่อสุขภาพ คือ "คอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม" (Computer Vision Syndrome)
หรือ "โรคซีวีเอส" คนที่ทางานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ เช่น เกินสองถึง
สามชั่วโมง มักจะมีอาการปวดตา แสบตา ตามัว และบ่อยครั้งที่จะมีอาการปวดหัวร่วมด้วย
ทั้งนี้อาการทางสายตาเหล่านี้ เกิดจากการจ้องดูข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานานเกินไป
อาการเหล่านี้พบได้ถึงร้อยละ 75 ของบุคคลที่ใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
อาการในบางคนอาจเป็นเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่บั่นทอนการทางาน หรือพักการใช้คอมพิวเตอร์สักครู่ก็
หายไป บางคนอาจต้องว่างเว้นการใช้เป็นวันก็หายไป บางรายอาจต้องใช้ยาระงับอาการ
ส่วนสาเหตุของโรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือ
นานๆ และไม่ค่อยกระพริบตา หากเราอ่านหนังสือหรือนั่งจ้องคอมพิวเตอร์ อัตราการกระพริบจะ
ลดลง ประกอบกับแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์ ทาให้ตาเมื่อยล้า ทั้งแสงจ้าและแสงสะท้อนมายัง
จอภาพ อาจเกิดจากแสงสว่างไม่พอเหมาะ มีไฟส่องเข้าหน้าหรือหลังจอภาพโดยตรง หรือแม้แต่
แสงสว่างจากหน้าต่างปะทะหน้าจอภาพโดยตรง ก่อให้เกิดแสงจ้าและแสงสะท้อนเข้าตาผู้ใช้ ทาให้
เมื่อยล้าตาง่าย หรือระยะทางานที่ห่างจากจอภาพไม่เหมาะสม มีสายตาผิดปกติ เช่น สายตายาวไม่
มาก โดยการทางานตามปกติไม่ก่อให้เกิดอาการ แต่ถ้ามาทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์จะก่ออาการ
เมื่อยล้าตาได้นอกจากนี้บางรายมีโรคตาบางอย่างประจาตัวอยู่ เช่น ต้อหินเรื้อรัง ม่านตาอักเสบ เยื่อ
บุตาอักเสบเรื้อรัง ตลอดจนโรคทางกาย เช่น ไซนัสอักเสบ โรคหวัด ภูมิแพ้เรื้อรัง หรือร่างกาย
อ่อนเพลีย ทาให้ต้องปรับสายตามากเวลาใช้คอมพิวเตอร์ จึงก่อให้เกิดอาการเมื่อยตาได้ง่าย อีกทั้ง
การทางานจ้องจอภาพนานเกินไป ย่อมเกิดอาการทางตาได้ง่ายจากการเกร็งกล้ามเนื้อตาตลอดเวลา
3.8 แบคทีเรียบนหน้าจอมือถือ
นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเซอร์เรย์ ประเทศอังกฤษ ทาการเพาะเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากสมาร์ท
โฟน ซึ่งเกิดจากมือของเราที่ทานอาหารขณะเล่นมือถือไปด้วย เชื้อแบคทีเรียเหล่านี้ไม่เป็นอันตราย
กับตัวมนุษย์ แต่ไม่ใช่ทั้งหมด ยังมีบางส่วนที่เรียกว่า “สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส” ซึ่งอาจทาให้เกิด
โรคอาหารเป็นพิษได้
ภาพที่ 3.1 ภาพซูมจากกล้องจุลทรรศน์ เชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในหน้าจอของโทรศัพท์
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2
Is2

More Related Content

What's hot

การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาPennapa Boopphacharoensok
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อpeter dontoom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงdefeat overcome
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตPloyko Stawbery
 

What's hot (20)

รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
กีตาร์
กีตาร์กีตาร์
กีตาร์
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
Chapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of designChapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of design
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
Infographic Design การออกแบบอินโฟกราฟิก
Infographic Design การออกแบบอินโฟกราฟิกInfographic Design การออกแบบอินโฟกราฟิก
Infographic Design การออกแบบอินโฟกราฟิก
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ต
 

Similar to Is2

2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 ssuser0c005f
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46ssuser0c005f
 
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของchaimate
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีballjantakong
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือchaimate
 
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนมICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนมFerny Kookie
 
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มMew Kewalin
 
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มIct กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มMew Kewalin
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnattarikaii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnattarikaii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnattarikaii
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11noeiinoii
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 

Similar to Is2 (20)

Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46
 
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Ict
IctIct
Ict
 
Ict
IctIct
Ict
 
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือแบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามการใช้โทรศัพท์มือถือ
 
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนมICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
 
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
 
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มIct กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 

Is2

  • 1. การศึกษาผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ คณะผู้ทาการศึกษา นางสาวนวพร สาพันธ์ เลขที่ 9 นางสาววรรณรัตน์ นันทะวิชัย เลขที่ 13 นางสาวศิรินภาพร โคทอง เลขที่ 24 นางสาวณัฐรัตน์ ไตปาน เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS2) โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
  • 2. ชื่อเรื่อง การศึกษาผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริม วิทย์ ผู้ศึกษา นางสาวนวพร สาพันธ์ เลขที่ 9 นางสาววรรณรัตน์ นันทะวิชัย เลขที่13 นางสาวศิรินภาพร โคทอง เลขที่24 นางสาวณัฐรัตน์ ไตปาน เลขที่ 25 ครูที่ปรึกษา คุณครูกัมปนาถ เกษแก้ว ระดับการศึกษา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ รายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ ( Independent Study : IS2 ) ปีการศึกษา 2558 บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือและศึกษาแนว ทางการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ตาบลท่าตูม อาเภอท่าตูม จังหวัด สุรินทร์ 32120 จานวน 30 คนได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการคิดคะแนนเฉลี่ย เป็นค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์มี ผลกระทบจากการสื่อสารการใช้โทรศัพท์มือถือในระดับ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 29.63%
  • 3. กิตติกรรมประกาศ การศึกษาครั้งนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี เพราะได้รับความกรุณา แนะนา ช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่ง จาก คุณครูรัตตนา เนื่องขันตรี ครูที่ปรึกษารายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ ( is2 ) ซึ่งผู้ศึกษา รู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ณ โอกาสนี้ ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ คุณครูกัมปนาถ เกษแก้ว ที่ได้กรุณาให้แนวคิด ข้อแนะนาหลาย ประการ ทาให้งานวิจัยฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น สุดท้ายขอขอบคุณ นักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ที่ให้ข้อมูลอย่างเต็มที่ทาให้ การศึกษาครั้งนี้สาเร็จในเวลาอันรวดเร็วและขอขอบคุณผู้ให้ความช่วยเหลืออีกหลายท่าน ซึ่งไม่ สามารถกล่าวนามในที่นี้ได้หมด คณะผู้ศึกษา มกราคม 2558
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ฉ สารบัญภาพ ช บทที่ 1 บทนา 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตของการศึกษา 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 4 1.ความเป็นมาของโทรศัพท์ 5 1.1 วิวัฒนาการของโทรศัพท์ 5 1.2 ประวัติทั่วไปของโทรศัพท์ 7 1.3 วิวัฒนาการโทรศัพท์ในประเทศไทย 10 2.วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์ 12 2.1ข้อดีของการใช้โทรศัพท์มือถือ 3.ผลกระทบเกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ 12 13 3.1 ผลกระทบทั่วไปที่เกิดขึ้น 13 3.2 การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์มือถือ 16 3.3 โทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่ทุกวันนี้ก่อให้เกิดขยะได้ 17 3.4 สารโลหะหนักที่อยู่ในแบตเตอรี่ประกอบด้วย 18 3.5 โรคที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีผลกระทบในเชิงวัฒนธรรมและวิถี ชีวิตคนไทย 19 3.6 โรคยอดฮิตที่มากับการติดมือถือ 19 3.7 โรคซีวีเอส 21
  • 5. 3.8 แบคทีเรียบนหน้าจอมือถือ 22 4. การใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและลดการเกิดผลกระทบ 23 4.1 การใช้โทรศัพท์มือถืออย่างถูกวิธีเพื่อถนอมสายตา 4.2 การใช้โทรศัพท์อย่างถูกวิธี 4.3 การแก้ไขกันและป้ องกันโรคซีวีเอส 4.4 ป้ องกันสมองเสื่อม 4.5 ป้ องกันแบคทีเรียบนหน้าจอโทรศัพท์ 23 25 26 27 27 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 28 บทที่ 3 วิธีดาเนินการ ระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษา วิธีดาเนินการศึกษา ขั้นตอนวิธีดาเนินการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการศึกษา 33 33 33 33 35 36 37 37 37 บทที่ 4ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 38 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการศึกษา การอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม 41 41 41 42 42 42 42 43 44 ภาคผนวก 45 แบบสอบถาม 47
  • 6. ประวัติผู้ศึกษา 59 สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 38 ตารางที่ 2. แสดงข้อมูลพฤติกรรมการสื่อสารการใช้โทรศัพท์มือถือ 39 ตารางที่ 3 ผลกระทบจากการสื่อสารการใช้โทรศัพท์มือถือ 40
  • 7. สารบัญภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ 1.1 ALEXANDER GRAHAM BELL 7 ภาพที่ 1.2 แสดงหลักการโทรศัพท์ของ Bell 7 ภาพที่ 1.3 THOMAS ALVA EDISON 8 ภาพที่ 1.4 ลักษณะของทรานสมิทเตอร์ (Transmitter) 9 รูปที่ 1.5 แสดงลักษณะของ AC ที่อยู่บนยอดของ DC 10 ภาพที่ 3.1 ภาพซูมจากกล้องจุลทรรศน์ เชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในหน้าจอของโทรศัพท์ 22
  • 8. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ณ โลกปัจจุบัน ที่มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ไม่มีที่สิ้นสุด ได้ก่อเกิด นวัตกรรมที่สร้างความสะดวกสบายให้แก่มนุษย์ในหลายๆด้าน ไปมาหาสู้กันด้วยยานพาหนะ จัดส่งเอกสารผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ติดต่อค้าขายด้วยเครื่องคมนาคมและเส้นทางคมนาคมที่ ทันสมัย ติดต่อสื่อสารกันด้วยเครื่องมือสื่อสาร เรียกว่า เทคโนโลยีเหล่านี้กลายเป็นปัจจัยหนึ่งในการ อยู่รอดของมนุษย์ มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตในทุกๆด้าน ซึ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการใช้ชีวิตประจาวันของคนไทย ในยุคปัจจุบัน คือ เครื่องมือสื่อสารอย่างโทรศัพท์มือถือ ค่ายโทรศัพท์มือถือแต่ละค่ายต่างแข่งขันกันนาเทคโนโลยี ใหม่ๆ มาใส่ในโทรศัพท์มือถือของตน เพื่อกระตุ้นความอยากซื้อให้ผู้เสพเทคโนโลยีสนใจ นอกจาก โทรศัพท์มือถือจะเป็นเครื่องสื่อสารแล้วยังสร้างความบันเทิงในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะ ดูหนัง ฟังเพลง เชื่อมอินเทอร์เน็ต ใช้ในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากโลกโซเชียลมีเดีย เล่นเกมส์ ถ่ายรูป นาฬิกา จับเวลา เครื่องคิดเลข และอีกมากมาย ผู้เสพเทคโนโลยีกลุ่มใหญ่ก็คือวัยรุ่น ยิ่งมีฟังก์ชันจานวนมาก รูปลักษณ์สวยดูล้าสมัย พร้อมด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆราคาแพงๆ โทรศัพท์กลายเป็นเครื่องแสดงฐานะ ด้วยราคาค่าเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ซึ่งการใช้โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์ทาให้การติดต่อสื่อสาร พร้อม ทั้งการส่งข้อมูลเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ช่วยให้ความเป็นอยู่ของคนไทยและเศรษฐกิจของ ประเทศพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการใช้โทรศัพท์มือถือแนบที่หูครั้งละนาน ๆ เป็น เวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ แพทย์ และนักวิทยาศาสตร์หลายท่านเตือนว่าผู้ที่ได้รับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจจะมีโอกาสเสี่ยงในการเกิด โรคได้หลายชนิด เช่น ปวดศีรษะ มะเร็งสมอง หูอักเสบ มะเร็งของเม็ดเลือดขาว และความจาเสื่อม เป็นต้น ในปัจจุบันนอกเหนือไปจากอวัยวะครบ 32 ประการในร่างกายคนเรา ดูเหมือนว่า “โทรศัพท์มือถือ” กาลังจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของคนยุคโลกาภิวัฒน์ที่จะขาดไม่ได้ เพียงแต่ว่า
  • 9. อวัยวะส่วนนี้โดยมาก จะเริ่มงอกเงยขึ้นมาในช่วงที่เป็น “วัยรุ่น” ซึ่งข้อดีของโทรศัพท์มือถือก็มีอยู่ ไม่น้อย หากผู้ใช้นาไปใช้ในทางที่ผิด หรือใช้ไม่เป็ น โทษของโทรศัพท์มือถือได้ก่อ ให้เกิดผลกระทบต่างๆตามมา ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าได้เล็งเห็นผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงจัดทาโครงงานนี้เพื่อศึกษาผลกระทบการ ใช้โทรศัพท์มือถือ และแนวทางในการแก้ปัญหาจากผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อที่จะได้ใช้ได้อย่างถูก วิธีและไม่ให้เกิดปัญหาหรือผลกระทบที่ตามมา วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือ 2.เพื่อศึกษาแนวทางการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย ขอบเขตของการศึกษา 1.ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ แบ่งเป็น นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2.กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จานวน 30 คน 3.เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาเป็นเนื้อหาที่เลือกจากปัญหาที่พบในโรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ คือ การศึกษาผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือ ของนักเรียน โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์
  • 10. 4.ระยะเวลา ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 ถึง 2 มกราคม พ.ศ.2558 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ทาให้ทราบถึงผลกระทบการใช้โทรศัพท์มือถือ 2.ทาให้ได้แนวทางการใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย
  • 11. บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเนื้อหาของเอกสาร งานวิจัยออกเป็นหัวข้อต่างๆดังนี้ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1.ความเป็นมาของโทรศัพท์ 1.1 วิวัฒนาการของโทรศัพท์ 1.2 ประวัติทั่วไปของโทรศัพท์ 1.3 วิวัฒนาการโทรศัพท์ในประเทศไทย 2.วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์ 2.1ข้อดีของการใช้โทรศัพท์มือถือ 3.ผลกระทบเกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ 3.1 ผลกระทบทั่วไปที่เกิดขึ้น 3.2 การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์มือถือ 3.3 โทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่ทุกวันนี้ก่อให้เกิดขยะได้ 3.4 สารโลหะหนักที่อยู่ในแบตเตอรี่ประกอบด้วย 3.5 โรคที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีผลกระทบในเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนไทย 3.6 โรคยอดฮิตที่มากับการติดมือถือ 3.7 โรคซีวีเอส 3.8 แบคทีเรียบนหน้าจอมือถือ 4. การใช้โทรศัพท์มือถือที่ถูกวิธีและลดการเกิดผลกระทบ 4.1 การใช้โทรศัพท์มือถืออย่างถูกวิธีเพื่อถนอมสายตา 4.2 การใช้โทรศัพท์อย่างถูกวิธี
  • 12. 4.3 การแก้ไขกันและป้ องกันโรคซีวีเอส 4.4 ป้ องกันสมองเสื่อม 4.5 ป้ องกันแบคทีเรียบนหน้าจอโทรศัพท์
  • 13. 1.ความเป็นมาของโทรศัพท์ 1.1 วิวัฒนาการของโทรศัพท์ การติดต่อสื่อสารทางไกลในสมัยโบราณระหว่างมนุษย์ด้วยกันนั้น จะใช้วิธีการง่ายๆอาศัธรรม ชาติ หรือเลียนแบบธรรมชาติเป็นหลัก เช่น การใช้ควัน เสียง แสง หรือใช้นกพิราบ เป็นต้น การ สื่อสารที่ใช้ชื่อดังกล่าวนั้นจะไม่ค่อยได้ผลเท่าใดนัก เนื่องจากไม่สามารถให้รายละเอียดข่าวสาร ได้มาก หรือแม้จะให้รายละเอียดได้มาก แต่ก็ไม่ค่อยจะปลอดภัยเท่าใด เช่น นกพิราบ นาสารซึ่งให้ รายละเอียดได้มาก แต่เป็นการเสี่ยง เพราะนกพิราบ อาจไปไม่ถึง ปลายทางได้ อย่างไรก็ตามการ สื่อสารดังกล่าวนี้ เป็นการสื่อสารที่ราคาถูก ความรวดเร็วก็พอใช้ได้ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นยุค โลกาภิวัฒน์ เป็นยุคแห่งความเจริญทางด้านเทคโนโลยี มนุษย์ได้นาเอาเทคโนโลยี ที่มีอยู่มา ประยุกต์ใช้กับการสื่อสาร ทาให้การติดต่อสื่อสารในปัจจุบันมีประสิทธิภาพสูงมาก ทั้งความ สะดวกสบายรวดเร็วและถูกต้องชัดเจนแน่นอน ระบบสื่อสารที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้มีหลายชนิด เช่น วิทยุสื่อสาร (Radio Communication) โทร เลข (Telegraphy) โทรพิมพ์ (Telex) โทรศัพท์ (Telephone) โทรสาร (Facsimile) หรือวิทยุตามตัว (Pager) เป็นต้น แต่ระบบสื่อสาร ที่ได้รับความนิยมทั่วโลกก็คือ โทรศัพท์ เพราะโทรศัพท์สามารถ โต้ตอบกันได้ทันที รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งระบบ อื่น ๆ ทาไม่ได้ โทรศัพท์จึงได้รับความนิยม เป็นอย่างมากและในโลกของการสื่อสารปัจจุบัน โทรศัพท์ก็เป็นเครื่องบ่งชี้ ถึงความเจริญ รุ่งเรือง ของประเทศ ต่าง ๆ ด้วยมีคากล่าวหรือข้อกาหนดเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศอยู่ว่า ประเทศใด ที่มี จานวนเลขหมาย โทรศัพท์ในประเทศ 40 หมายเลขต่อประชากร 100 คน ถือว่าประเทศนั้นมีความ เจริญแล้ว หรือเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศใดที่มีหมายเลขโทรศัพท์ 10 เลขหมายขึ้นไป ต่อประชากร100คนถือว่าประเทศนั้นกาลังได้รับการพัฒนา จะเห็นว่าประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ให้ความสาคัญกับกิจการโทรศัพท์เป็นอย่างมากในประเทศ ไทย คาว่า โทรศัพท์ ได้เริ่ม รู้จักกันตั้งแต่รัชการที่ 5 ซึ่งโทรศัพท์ตรงกับภาษากรีกคาว่า Telephone โดยที่ Tele แปลว่า ทางไกล และ Phone แปลว่า การ สนทนา เมื่อแปลรวมกันแล้วก็หมายถึงการ สนทนากันในระยะทางไกลๆ หรือการส่งเสียงจากจุดหนึ่ง ไปยังจุดหนึ่งได้ ตามต้องการ
  • 14. 1.2 ประวัติทั่วไปของโทรศัพท์ โทรศัพท์ได้ถูกคิดค้นและประดิษฐ์ขึ้นมาในปี พ.ศ. 2419 โดยนักประดิษฐ์ ชื่อ ALEXANDER GRAHAM BELL หลักการของโทรศัพท์ที่ Alexander ประดิษฐ์ก็คือ ตัวส่ง (Transmitter) และ ตัวรับ (Receiver) ภาพที่ 1.1 ALEXANDER GRAHAM BELL ภาพที่ 1.2 แสดงหลักการโทรศัพท์ของ Bell ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนลาโพงในปัจจุบัน กล่าวคือ มีแผ่น ไดอะแฟรม (Diaphragm) ติดอยู่กับขดลวด ซึ่งวางอยู่ใกล้ ๆ แม่เหล็กถาวร เมื่อมีเสียงมากระทบแผ่น ไดอะแฟรม ก็จะสั่นทาให้ขดลวดสั่นหรือ เคลื่อนที่ตัดสนามแม่เหล็ก เกิดกระแสขึ้นมา ในขดลวด กระแสไฟฟ้านี้ จะวิ่งตามสายไฟถึงตัวรับซึ่ง ตัวรับก็จะมีโครงสร้างเหมือนกับ ตัวส่ง เมื่อกระแสไฟฟ้ามาถึงก็จะ เข้าไปในขดลวด เนื่องจาก กระแสไฟฟ้าที่มานี้ เป็น AC มีการเปลี่ยนแปลงขั้วบวกและลบอยู่ตลอดเวลา ก็จะทาให้เกิดสนาม
  • 15. แม่เหล็กขึ้นรอบๆ ขดลวดของ ตัวรับ สนามแม่เหล็กนี้จะไปผลัก หรือดูดกับสนามแม่เหล็กถาวร ของตัวรับ แต่เนื่องจาก แม่เหล็กถาวร ที่ตัวรับนั้นไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ขดลวดและแผ่น ไดอะแฟรม จึงเป็นฝ่ายที่ถูกผลักและดูดให้เคลื่อนที่ การที่ ไดอะแฟรม เคลื่อนที่ จึงเป็นการตีอากาศ ตามจังหวะของกระแสไฟฟ้าที่ส่งมา นั่นคือ เกิดเป็นคลื่นเสียงขึ้นมาในอากาศ ทาให้ได้ยิน แต่ อย่างไรก็ตาม กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากตัวส่งนี้มี ขนาดเล็กมาก ถ้าหากใช้สายส่งยาวมาก จะไม่ สามารถได้ยิน เสียงของผู้ ที่ส่งมา วิธีการของ ALEXANDER GRAHAM BELL จึงไม่ประสบ ผลสาเร็จเท่าใดนัก แต่ก็เป็นเครื่องต้นแบบ ให้มีการพัฒนา ต่อมาในปี พ.ศ. 2420 THOMAS ALVA EDISON ได้ประดิษฐ์ ตัวส่งขึ้นมาใหม่ให้สามารถ ส่งได้ไกล ขึ้นกว่าเดิมซึ่ง ตัวส่งที่ Edison ประดิษฐ์ขึ้นมา มีชื่อว่า คาร์บอน ทรานสมิทเตอร์ (Carbon Transmitter) คาร์บอนทรานสมิทเตอร์ ให้กระแส ไฟฟ้าออกมาแรงมาก ภาพที่ 1.3 THOMAS ALVA EDISON
  • 16. ภาพที่ 1.4 ลักษณะของทรานสมิทเตอร์ (Transmitter) เนื่องจากเมื่อมีเสียงมากระทบแผ่นไดอะแฟรม แผ่นไดอะแฟรมจะไปกดผง คาร์บอน (Carbon) ทา ให้ค่าความต้านทานของ ผงคาร์บอน เปลี่ยนแปลงไปตามแรงกด ดังนั้นแรงเคลื่อน ตกคร่อมผง คาร์บอนจะเปลี่ยนแปลงด้วย เนื่องจากแรงเคลื่อน ที่จ่ายให้ คาร์บอน มีค่ามากพอสมควร การ เปลี่ยนแปลงแรงเคลื่อน จึงมีมากตามไปด้วย และการเปลี่ยนแปลงนี้ เป็นการเปลี่ยนแปลง ยอดของ DC ที่จ่ายให้คาร์บอน (ดังรูปที่ 1.4) ซึ่งเราอาจกล่าวได้ว่า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ก็คือ AC ที่ขี่อยู่ บนยอดของ DC นั่นเอง
  • 17. รูปที่ 1.5 แสดงลักษณะของ AC ที่อยู่บนยอดของ DC ดังนั้น เมื่อ DC ไปถึงไหน AC ก็ไปถึงนั่นเช่นกัน แต่ DC มีค่าประมาณ 6-12 Volts (ค่าแรงเคลื่อนเลี้ยงสายโทรศัพท์ ขณะยกหู) ซึ่งมากพอที่จะวิ่งไปได้ระยะทาง ประมาณ 5 กิโลเมตร นั่นคือ AC ที่เป็นสัญญาณเสียงก็ไปได้เช่นกัน หลังจากนี้ ก็ได้มี การพัฒนาโทรศัพท์ขึ้นมาใช้งาน มากมายหลายระบบตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ ซึ่งมีการพัฒนาทั้งระบบชุมสาย (Exchange) และ ตัวเครื่องโทรศัพท์ (Telephone Set) ด้วย ให้สามารถใช้งานได้สะดวกสบาย และมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 1.3 วิวัฒนาการโทรศัพท์ในประเทศไทย " ตานานไปรษณีย์โทรเลขสยาม" พ.ศ. 2429 ถึง พ.ศ. 2468 ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับโทรศัพท์ ในประเทศไทยไว้ว่า ประเทศไทยได้นาเอาโทรศัพท์มาใช้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2424 ตรงกับ รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยกรมกลาโหม (กระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน) ได้สั่งเข้ามาใช้ งานในกิจการเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ โดยติดตั้งที่กรมอู่ทหารเรือกรุงเทพฯ 1 เครื่อง และป้อมยาม ปากน้าเจ้าพระยา จังหวัดสมุทรปราการอีก 1 เครื่อง รวม 2 เครื่อง เพื่อจะได้แจ้งข่าวเรือ เข้าออกใน แม่น้าเจ้าพระยาให้ทางกรุงเทพฯทราบ พ.ศ. 2429 กิจการโทรศัพท์ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้น จานวนเลขหมายและบุคลากร ก็เพิ่มมากขึ้น ยุ่งยากแก่การบริหารงาน ของกรมกลาโหม ดังนั้น กรมกลาโหม จึงได้โอนกิจการของโทรศัพท์ ให้ ไปอยู่ใน การ ดูแลและดาเนินการ ของกรมไปรษณีย์ โทรเลข ต่อมากรมไปรษณีย์โทรเลขก็ได้ขยาย
  • 18. กิจการโทรศัพท์จากภาครัฐสู่เอกชนโดยให้ประชาชนมีโอกาสใช้โทรศัพท์ได้ในระยะนี้เครื่องที่ใช้ จะเป็นระบบแม็กนีโต(Magneto)หรือระบบโลคอลแบตเตอรี่(LocalBattery) พ.ศ. 2450 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้สั่งโทรศัพท์ ระบบคอมมอนแบตเตอรี่ (Common Battery) หรือ เซ็นทรัล แบตเตอรี่ (Central Battery) มาใช้ซึ่งสะดวกและประหยัดกว่าระบบแม็กนีโตมาก พ.ศ. 2479 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้สั่งซื้อชุมสายระบบสเต็บบายสเต็บ (Step by Step) ซึ่งเป็น ระบบอัตโนมัติ สามารถหมุนเลขหมายถึงกันโดยตรง โดยไม่ต้องผ่านพนักงานต่อสาย (Operator) เหมือนโลคอลแบตเตอรี่หรือเซ็นทรัลแบตเตอรี่ พ.ศ. 2497 เนื่องจากกิจการโทรศัพท์ได้เจริญก้าวหน้ามาก ประชาชนนิยมใช้ แพร่หลายไปทั่ว ประเทศ กิจการใหญ่ โตขึ้นมากทาให้การบริหารงานลาบากมากขึ้น เพราะกรมไปรษณีย์โทรเลข ต้องดูแลเรื่องอื่นอีกมาก ดังนั้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 จึงได้มีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติตั้งองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยขึ้น โดยแยก กองช่างโทรศัพท์ กรมไปรษณีย์โทรเลขมาตั้งเป็นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยขึ้น มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัด กระทรวง คมนาคมมาจนถึงปัจจุบัน องค์การโทรศัพท์หลังจากที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นแล้ว ก็ได้รับ โอนงานกิจการโทรศัพท์มาดูแล พ.ศ. 2517 องค์การโทรศัพท์ก็สั่งซื้อชุมสายโทรศัพท์ระบบคอสบาร์ (Cross Bar) มาใช้งาน ระบบคอสบาร์ เป็นระบบอัตโนมัติเหมือนระบบสเต็บบายสเต็บแต่ทันสมัยกว่าทางานได้เร็วกว่า มี วงจรพูดได้มากกว่าและขนาดเล็กกว่า พ.ศ. 2526 องค์การโทรศัพท์ได้นาระบบชุมสาย SPC (Storage Program Control) มาใช้งาน ระบบ SPC เป็นระบบที่ควบคุมการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer) ทางานได้รวดเร็วมาก ขนาดเล็กกินไฟน้อยและยังให้บริการเสริมด้านอื่นๆได้อีกด้วย ในปัจจุบันชุมสายโทรศัพท์ที่ติดตั้งใหม่ ๆ จะเป็นระบบ SPC ทั้งหมด ระบบอื่น ๆ เลิกผลิตแล้ว ประเทศไทยเรากาลัง เร่งติดตั้งโทรศัพท์เพื่อให้พอใช้กับประชาชน ดังจะเห็นจากโครงการ 3 ล้าน เลขหมายในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 และโครงการอื่น ๆ ต่อไป รวมทั้ง วิทยุโทรศัพท์อีกด้วย เพื่อเสริมให้ระบบสื่อสารในประเทศไทยมีประสิทธิภาพ เอื้ออานวย ต่อการ พัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป
  • 19. 2. วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์ วัตถุประสงค์ของการใช้โทรศัพท์มือถือกับวัยรุ่นในปัจจุบันไม่ใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารเพียง อย่างเดียวเท่านั้นจะเห็นได้ว่าบริษัทผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือต่างๆในตอนนี้ต่างก็แข่งขันกันทาลูกเล่น ใหม่ๆขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพราะในยุคที่มีการแข่งขันสูงการนาเทคโนโลยี ที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้กับโทรศัพท์มือถือนั้นยิ่งทาให้มีความน่าสนใจมากขึ้นนอกจากจะโทรออก หรือรับสายได้แล้วยังสามารถทาอย่างอื่นได้ เช่น ถ่ายภาพ ถ่ายวีดี โอฟังเพลง เล่นเกม รวมถึงการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและรับส่งอีเมล์ซึ่งเป็นการก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการสื่อสารที่ไร้พรมแดนจากผล สารวจของกรุงเทพโพลล์โดยเก็บข้อมูลจากวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานครที่ใช้โทรศัพท์มือถือ จานวนทั้งสิ้น 1,700 คน เป็นเพศชายร้อยละ 48.8 และเพศหญิงร้อยละ 51.2สรุปผลว่า มีดังนี้ - พูดคุยและส่ง SMS ร้อยละ 57.7 - ฟังเพลง ฟังวิทยุร้อยละ 20.3 - ถ่ายรูปถ่ายคลิปวีดีโอ ร้อยละ 11.6 - เล่นเกม ร้อยละ 5.6 - เล่นอินเทอร์เน็ตร้อยละ 4.8 2.1 ข้อดีของการใช้โทรศัพท์มือถือ 1.ใช้สื่อสารทางไกลได้ สะดวกต่อการคุยงานหรือธุรกิจต่างๆได้ 2.สามารถ ถ่ายภาพ ติดตามข่าวสาร ท่องอินเตอร์เน็ตได้สะดวกรวดเร็ว 3.ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น บางทีอาจสามารถใช้แทนคอมพิวเตอร์ได้เลย 4.ช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องหรือชี้นาเส้นทาง กรณีที่ต้องเดินทางไปในสถานที่ไม่ คุ้นเคย เพื่อป้ องกันการขับรถหลงทาง 5.พกพาสะดวก 6.สามารถขอความช่วยเหลือได้ทันทีหากเกิดเหตุด่วน 7.ช่วยเตือนความจาได้
  • 20. 3.ผลกระทบเกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือส่ง ผลกระทบต่อเซลล์และโครโมโซมของมนุษย์ทาให้ร่างกายไม่สามารถซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอได้ และยังมีความสาคัญกับการเกิดโรคมะเร็งที่สมอง ในประเทศอังกฤษมีการประกาศเตือนเด็กวัยรุ่นที่ อายุต่ากว่า ๑๖ ปี ให้หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือ เพราะเป็นวัยที่สมองเติบโตไม่เต็มที่โดย กะโหลกและสมองไม่สามารถต้านทานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและรังสีได้จากกรณีดังกล่าวทาให้ ประชาชนเกิดความวิตกกังวลต่อผลกระทบที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสถาบันมะเร็ง แห่งชาติได้ศึกษาและติดตามข้อมูลจากสถาบันต่าง ๆ จากรายงานล่าสุดขององค์การอนามัยโลก เมื่อ ปี ๒๐๐๐ ในเรื่องโทรศัพท์มือถือกับการเกิดโรคมะเร็ง ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานชัดเจนที่บ่งบอกถึง สาเหตุของมะเร็งในสมอง ประกอบกับการศึกษาของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ของประเทศ สหรัฐอเมริกา และ American health care foundation พบว่า โทรศัพท์มือถือไม่ได้เพิ่มโอกาสการ เป็นมะเร็งในสมอง แต่อย่างไรก็ตาม มีการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์บางประเทศได้รายงานผล ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสัตว์ทดลอง และในเนื้อเยื่อ พบว่า ทาให้เซลล์แบ่งตัวเร็วกว่าปกติ 3.1 ผลกระทบทั่วไปที่เกิดขึ้น ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือเป็นอุปกรณ์สื่อสารที่สาคัญในชีวิตประจาวันของประชากรมากกว่า ๑.๔ พันล้านคนทั่วโลก สาหรับในประเทศไทยมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า ๒๐ ล้านคน และมี แนวโน้มที่จะมีจานวนของผู้ใช้มากขึ้นทุกปี โทรศัพท์มือถือมีประโยชน์ทาให้การติดต่อสื่อสารด้วย วาจาพร้อมทั้งการส่งข้อมูลเป็นไปได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ช่วยให้ความเป็นอยู่ของคนไทยและ เศรษฐกิจของประเทศพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการใช้โทรศัพท์มือถือแนบที่หูครั้งละ นาน ๆ เป็นเวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ แพทย์ และนักวิทยาศาสตร์หลายท่านเตือน ว่าผู้ที่ได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากการใช้โทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจจะมีโอกาส เสี่ยงในการเกิดโรคได้หลายชนิด เช่น ปวดศีรษะ มะเร็งสมอง หูอักเสบ มะเร็งของเม็ดเลือดขาว และความจาเสื่อม เป็นต้น จากคาเตือนดังกล่าวทาให้มีการวิจัยถึงผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จากโทรศัพท์มือถือมากขึ้น ในปัจจุบันข้อมูลที่ได้รับจากรายงานการวิจัยชี้ว่ายังมีข้อขัดแย้งกัน
  • 21. เกี่ยวกับผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถือกับการทาให้เกิดโรคต่าง ๆ ในมนุษย์ แต่จากการศึกษาของนักวิชาการ ผู้รู้ ผู้เกี่ยวข้อง จากในและต่างประเทศ สรุปได้ดังนี้ 1. การใช้โทรศัพท์มือถือแนบไว้ที่หูนาน ๆ เป็นเวลาหลายปีน่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของ ผู้ใช้โดยตรงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยมีรายงานการวิจัยในหลอดทดลองพบว่าคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) ที่เกิดจากการรับ - ส่งสัญญาณโทรศัพท์มือถือซึ่งมีความถี่ อยู่ในช่วงคลื่นไมโครเวฟนั้น สามารถทาให้เกิดความร้อน และทาร้ายเซลล์ภายในเนื้อเยื่อบริเวณหู ตา และสมอง ทาให้เกิดผลกระทบกับผู้ใช้ คือ ผลในระยะสั้น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจาก โทรศัพท์มือถือจะทาให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น ปวดหู ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว มึนงง ขาดสมาธิ และ เครียดเนื่องจากระบบพลังงานในร่างกายถูกรบกวน นอนไม่หลับเนื่องจากมีการหลั่งฮอร์โมนเมลา โตนิน (melatonin) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการนอนหลับในร่างกายลดลง และคลื่นสมองมีการ เปลี่ยนแปลงไป ผลในระยะยาว คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากโทรศัพท์มือถืออาจทาให้เกิดโรคความจา เสื่อม เนื่องจากเนื้อเยื่อสมองถูกทาลาย โรคมะเร็งสมองเนื่องจากเนื้อเยื่อสมองมีการเปลี่ยนแปลง ทางพันธุกรรมไปจากปกติ โรคมะเร็งของเม็ดเลือดขาว เช่น leukemia และ lymphoma เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยต่าง ๆ เกี่ยวกับผลกระทบในการทาให้เกิดโรคความจาเสื่อมและ โรคมะเร็งนั้น ยังมีข้อโต้แย้งกันอยู่ และยังหาข้อสรุปที่ชัดเจนไม่ได้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือทุกคนก็ควร จะตระหนักและระมัดระวังในการใช้ข้อแนะนาในขณะนี้ คือ ไม่ควรพูดโทรศัพท์นานหรือใช้ถี่ เกินไป และควรใช้เครื่องแบบ small talk หรือ hand free ดังนั้นรัฐบาลไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สมควรสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อพิสูจน์หาข้อเท็จจริงของเรื่องนี้ในคนไทยต่อไป 2. เนื่องจากเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า การที่จะต้องรับสัมผัสเป็นเวลานาน ๆ จึงก่อให้เกิดความ กังวลว่า อาจจะเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งหรือเนื้องอกของสมองได้อย่างไรก็ตามจากรายงาน การศึกษาล่าสุด ยังไม่มีการศึกษาใดที่จะพิสูจน์สมมติฐานอันนี้ได้ นักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งมีความ เชื่อว่า โอกาสเสี่ยงที่จะเกิดโรคมะเร็งของสมองเป็นไปได้น้อยมาก เนื่องจากปริมาณการรับสัมผัส กับคลื่นรังสี (Radiofrequency (RF) exposure) ในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานของ International RF guidelines ในทานองตรงกันข้ามจากการศึกษา ของ Hardell และคณะในประเทศสวีเดน พบว่า แม้จะไม่มีความแตกต่างของความชุกของ โรคมะเร็งของสมองในกลุ่มผู้ใช้และผู้ไม่ใช้โทรศัพท์มือถือ แต่มีการพบความสัมพันธ์ของการตรวจ
  • 22. พบก้อนเนื้องอกของสมองในข้างเดียวกันกับด้านที่ใช้โทรศัพท์มือถือในกลุ่มของผู้ใช้เท่าที่ผ่านมา ข้อจากัดของการศึกษาในปัจจุบัน อาจจะเนื่องมาจากระยะเวลาการรับสัมผัส (duration of exposura) ยังสั้นเกินไป มีปัจจัยกวนมากและการเก็บข้อมูลประวัติการรับสัมผัส(dose of exposure) ยังไม่ดีพอ 3. จากการศึกษาโดย Sandstrom และคณะ ในประเทศนอร์เวย์ พบว่า เครื่องใช้โทรศัพท์ใน ระบบดิจิตอล (GSM) ไม่ได้ก่อให้เกิดอาการผิดปกติในผู้ใช้มากไปกว่าเครื่องในระบบอนาล็อก (NMT) นอกจากนี้อาการผิดปกติ คือ อาการร้อนบริเวณรอบ ๆ หู ยังมีการรายงานในกลุ่มผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือในระบบดิจิตอลน้อยกว่าด้วย 4. การใช้โทรศัพท์มือถือในเด็กเล็กที่มีอายุต่ากว่า ๑๐ ขวบ จะมีผลกระทบต่อสุขภาพมากกว่า ในผู้ใหญ่ เนื่องจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าสามารถผ่านกะโหลกศีรษะของเด็กเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองได้ลึก กว่าของผู้ใหญ่ 5. ในบริเวณที่มีสัญญาณคลื่นโทรศัพท์จากสถานีส่งต่า ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือจะได้รับผลกระทบ จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของโทรศัพท์มือถือมากกว่าปกติ เนื่องจากโทรศัพท์มือถือจะเพิ่มพลังในการ ส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาสูงมาก 6. การใช้อุปกรณ์หูฟัง (small talk หรือ hand free) จะทาให้ผู้ใช้ได้รับผลกระทบจากคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าที่ผ่านเข้าสู่สมองน้อยกว่าการใช้โทรศัพท์มือถือที่แนบหูโดยตรง 7.การโทรไม่ติดหรือหลุดบ่อยทาให้อารมณ์เสีย หงุดหงิด สุขภาพจิตเสื่อมลง กล้ามเนื้อคอ หัวไหล่มักจะเกร็งเนื่องจากต้องถือโทรศัพท์อยู่ตลอดเวลาและบางครั้งยังต้องพยายามเอียงคอและใช้ มือดันโทรศัพท์ให้แนบติดกับใบหูอยู่ตลอดเวลา การเกร็งตัวของกล้ามเนื้อคอเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ ทาให้ปวดศีรษะ เพราะเมื่อกล้ามเนื้อหดตัวตลอดเวลาหลอดเลือดจะส่งเลือดไปเลี้ยงสมองไม่ เพียงพอ การแก้ไขอาจต้องใช้โทรศัพท์ที่มีขนาดเบาอย่าคุยโทรศัพท์นานเกินควร และถ้าอยู่ในรถ อาจผ่านขยายเครื่องขยายเสียงและใช้ไมโครโฟนในการสนทนา ซึ่งในกรณีนี้นอกจากจะไม่เป็น ผลเสีย ต่อสุขภาพแล้วยังลดอุบัติเหตุบนท้องถนนลงได้
  • 23. 8. ถ่านไฟที่ใช้กับโทรศัพท์มือถือประกอบด้วยสารอันตรายหลายชนิดไส้แบตเตอรี่ใน โทรศัพท์มือถือที่ท่านต้องเปลี่ยนตามเวลาทุก 12-18เดือนนั้นไส้แบตเตอรี่ที่ใช้ในถ่าน โทรศัพท์มือถือมี 2 ชนิด คือ ชนิดNICAD(Nickel Cadmium Cells) และ Hydride (Nickel Metal Hydride Cells) สารประกอบที่ใช้ในถ่านชนิดแรกคือ NICADจัดเป็นขยะอันตรายที่จะก่อโทษกับ สุขภาพของคนและเกิดมลภาวะในสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจากขั้วลบของถ่านชนิดนี้เป็ น แคดเมียมไฮดรอกไซด์ เมื่อบรรจุไฟแล้วจะกลายสภาพเป็นแคดเมียมซึ่งเป็นสารก่อพิษในสิ่งมีชีวิต ทุกชนิดในโลก แคดเมียมเป็นโลหะหนักมีอยู่ในธรรมชาติจานวนน้อย หากได้รับเข้าไปทีละน้อย จากการหายใจ กินหรือดื่มก็จะเกิดพิษเรื้อรังทีละน้อย ด้วยอาการสาคัญคือ ไตอักเสบ ไตวาย ข้อ เสื่อมถุงลมปอดโป่งพอง ระบบหายใจผิดปกติ และทาให้เกิดมะเร็งในอวัยวะหลายชนิดที่น่ากลัวคือ แคดเมียมที่ ถูกทิ้งจากการอุตสาหกรรมหรือแบตเตอรี่จะปนเปื้อนเข้าในดิน น้า ซึ่งสัตว์และพืชจะ รับเข้าไปในตัวเมื่อคนกินสัตว์หรือพืชเข้าไปก็จะได้รับแคดเมียมสะสมเข้าไปในปริมาณที่เกิดพิษได้ ง่ายขณะนี้ตัวเลขที่ได้จากการจดทะเบียนมือถือทั่วประเทศมีจานวนมากและมีจานวนไม่น้อยที่ใช้ แบตเตอรี่แบบ NICADซึ่งแต่ละก้อนจะมีอายุการใช้งานประมาณ1 ปี ดังนั้นจะมีแบตเตอรี่ NICAD เป็นพิษทิ้งจานวนหลายล้านก้อนต่อปีขณะนี้มีประชาชนที่รู้ถึงพิษของขยะอันตราย และ พยายามแยกขยะแต่ก็ไม่สามารถที่จะหาที่ทิ้งที่ถูกต้อง หรือหาหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงได้ 9. การขับรถการใช้โทรศัพท์มือถือทาให้มีอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น 10. กล้องโทรศัพท์มือถือในหลายๆครั้งพบว่ากล้องของโทรศัพท์มือถือถูกนามาใช้ในทางเสีย เช่นคลิปวิดีโอแอบถ่าย รูปภาพแอบถ่าย เป็นต้น 11. ทาให้เกิดอาชญากรรมอันถึงแก่ชีวิตได้หากโทรศัพท์สะดุดเข้าตาโจร 12. การรบกวนของคลื่นวิทยุจะรบกวนการทางานของอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น เครื่องกระตุ้นการเต้นของหัวใจ Pacemaker, defibrillatorและอาจจะมีผลต่อการควบคุมการบิน 3.2การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์มือถือ โดยสิ่งที่ได้รับการกล่าวถึง ในด้านอันตรายที่สุดก็คือ การแผ่รังสี ของตัวโทรศัพท์เอง ซึ่งเป็นที่ ทราบกันดีอยู่แล้วว่า สิ่งมีชีวิตหากได้รับรังสีในปริมาณมากๆ ยิ่งมีความเข้มของรังสีสูงแล้ว ย่อมทา
  • 24. อันตรายถึงชีวิตได้ โดยโรคที่คาดว่าจะก่อให้เกิดได้จากการรับรังสีจากมือถือ ก็คือ มะเร็งในสมอง องค์การอาหารและยาของอเมริกา ยอมรับว่า คลื่นความถี่รังสีวิทยุ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสิ่งมี ชีวิต (เช่น ไมโครเวฟ) และในโทรศัพท์มือถือ ก็ก่อให้เกิดรังสีประเภทนี้ แม้ในภาวะปกติ จะพบรังสี นี้อยู่น้อยมากแต่เมื่อเกิดการสื่อสาร พูดคุย ปริมาณรังสีก็จะมากขึ้น โดยในปีหนึ่งๆ มีผู้ป่วยด้วย มะเร็งในสมองเป็นอัตรา6คนต่อ1แสนคนถ้ามีผู้ใช้โทรศัพท์ 80 ล้านคน ก็จะมีผู้ป่วยถึง 4800 คนใน แต่ละปี แต่ก็ไม่ได้ฟันธงลงไปว่า ผู้ป่ วยเป็นมะเร็งเพราะใช้มือถือ ได้แต่เพียงเตือนว่า ผู้ใช้ มือถือมีโอกาสเป็นมะเร็งในสมองสูงกว่าผู้ไม่ได้ใช้เท่านั้นเอง นายแพทย์สักกะ ณ ตะกั่วทุ่ง แพทย์หู คอจมูกประจาโรงพยาบาลพญาไทกล่าวว่าสิ่งที่วงการแพทย์สามารถยืนยันได้ถึงผลกระทบดังกล่าว ในขณะนี้ก็คือการคุยโทรศัพท์เคลื่อนที่นานๆผู้ใช้อาจเกิดอาการปวดศีรษะ,ผิวหนังเหี่ยวย่น, ความจา แย่ลง ขณะเดียวกัน ยังมีข้อสมมติฐานที่ว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าของโทรศัพท์เคลื่อนที่ อาจ ทาให้เกิดการรั่วของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ซึ่งจะสะสมในระบบหมุนเวียนโลหิต ส่งผลให้เกิด โรคความดันสูงนอกจากนี้ยังทาให้เยื่อหุ้มสมองเสื่อม เป็นผลให้เกิดโรคความจาเสื่อม และอัลไซ เมอร์ได้ นักวิทยาศาสตร์กล่าวแจ้งว่ามะเร็งของสมองต้องใช้เวลาก่อตัวหลายสิบปี ก่อนหน้านี้ราช สมาคมในลอนดอน ก็เคยเปิดเผยรายงานผลการศึกษาว่าผู้ใหญ่ที่ใช้โทรศัพท์มือถือมาก่อนอายุ20ปี เสี่ยงกับการจะเป็นมะเร็งสมองเมื่อตอนอายุ29 ปี ยิ่งกว่าคนที่ไม่ได้ใช้ถึง 5 เท่า ดร.คาร์เปนเตอร์ ชี้ว่า “มันอาจจะเป็นกับศีรษะทางด้านที่ใช้พูดโทรศัพท์” และกล่าวว่า “เด็กทุกคนพากันใช้มันตลอดเวลา และทั้งโลกพากันใช้โทรศัพท์มือถือมากถึง3พันล้านเครื่องเขาเรียกร้องว่าควรจะมีการติดคาเตือน ให้กับโทรศัพท์มือถือเหมือนกับตามซองบุหรี่เสียนอกจากนี้ยังมีคาเตือนจากแพทย์ว่าผู้ชายไม่ควร พกมือถือที่เอว เสี่ยงรับผลกระทบต่อไขกระดูก และอัณฑะ ส่วนกรณีโรคหัวใจไม่ควรพกใส่ กระเป๋ าเสื้อแม้ไม่มีผลยืนยันชัดเจนแต่ต้องป้ องกันไว้ก่อน อีกทั้งไม่ควรโทรนานเกิน 15 นาที เพราะ อาจส่งผลต่อการทางานของสมองและระบบเม็ดเลือดแดง 3.3 โทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่ทุกวันนี้ก่อให้เกิดขยะได้ คงมีน้อยคนที่รู้ว่าในแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ จะมีส่วนประกอบที่เป็น สารโลหะหนักผสมอยู่ ไส้แบตเตอรี่ ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้มี 2 ชนิดคือ... ชนิด NICAD (Nickel Cadmium Cells) และชนิด HYDRIDE (Nickel Metal Hydride Cells)สารประกอบที่ใช้ในถ่านชนิด
  • 25. NICAD จัดเป็นขยะอันตรายที่ก่อให้เกิดโทษกับสุขภาพของคน และเกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อม เนื่องจาก ขั้วลบของถ่านชนิดนี้เป็น "แคดเมียม ไฮดรอกไซด์" เมื่อบรรจุไฟแล้วจะกลายสภาพเป็น แคดเมียมเป็นสารก่อพิษในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในโลก แคดเมียมเป็นโลหะหนัก มีอยู่ในธรรมชาติแต่ เป็นจานวนน้อยซึ่งหากร่างกายได้รับเข้าไปทีละน้อยจากการหายใจ-กิน-ดื่มก็จะเกิดพิษเรื้อรัง ทีละ น้อย จนที่สุดอาจก่อให้เกิดอาการ... ระบบหายใจผิดปกติ ไตอักเสบ ไตวาย ข้อเสื่อม ถุงลมโป่งพอง และทาให้เกิด มะเร็ง ในอวัยวะได้หลายชนิด "แคดเมียมที่ถูกทิ้งหรือปนเปื้อนเข้าใน ดิน-น้า หาก สัตว์หรือพืชรับเข้าไปเมื่อคนกินสัตว์หรือพืชเข้าไปก็จะได้รับแคดเมียมสะสมเข้าไปในปริมาณที่เกิด พิษได้ง่าย"นิกเกิลกับแคดเมียมก็เป็นอีกสาเหตุที่ก่อให้เกิด"โรคชนิดใหม่" ขึ้นมา ซึ่งกว่าจะรู้ตัวก็อาจ สายไปเสียแล้วและแม้ว่าบางบริษัทผู้ผลิตจะบอกว่าโทรศัพท์หรือแบตเตอรี่ทามาจาก"แมงกานีส" ซึ่งมีพิษน้อย จึงไม่เรียกคืน แต่แมงกานีสนี้ก็เป็นอันตรายต่อมนุษย์เหมือนกัน 3.4 สารโลหะหนักที่อยู่ในแบตเตอรี่ประกอบด้วย 1. แคดเมียม ซึ่งหากสะสมในร่างกายในปริมาณถึงระดับหนึ่งก็จะก่อให้เกิดโรคไตวายได้ และ เป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งโดยการสูดดม 2. ตะกั่ว เป็นสารก่อมะเร็ง และมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางระบบย่อยอาหาร ไต โลหิต หัวใจ การพัฒนาของทารกในครรภ์ 3. ลิเธียม ก่อให้เกิดการการระเคืองต่อจมูก ลาคอ ทาให้หายใจติดขัดถ้ากลืนกินเข้าไปจะมีฤทธิ์ กัดกร่อนทาให้เกิดอาการเจ็บคอ ปวดท้องและอาเจียนได้ ถ้าเข้าตาจะทาให้เกิดการระคายเคืองและ อาจทาให้ตาบอด 4. ทองแดง ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบหายใจ และเป็นอันตรายหากกลืนกิน 5. นิเกิล เป็นสารก่อมะเร็ง เมื่อหายใจเข้าไปอาจทาให้เกิดอาการหอบหืด หลอดลมอักเสบ หายใจติดขัดและทาให้ผิวหนัง อักเสบ และถ้ากลืนหรือกินเข้าไปอาจก่อให้เกิดอันตรายได้
  • 26. 3.5 โรคที่เกิดจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีผลกระทบในเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตคนไทย 1. โรคเห่อตามแฟชั่นโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นนิยมเปลี่ยนมือถือตามแฟชั่นเพื่อให้อินเทรนด์ ดู ทันสมัยไม่ตกรุ่นทัดเทียมเพื่อนดังนั้นมือถือจึงกลายเป็นเครื่องประดับที่บ่งบอกสถานภาพทางสังคม อีกทางหนึ่ง 2. โรคทรัพย์จาง ซึ่งหลายคนต้องหาเงินเพื่อมาซื้อมือถือรุ่นใหม่ทั้งนี้บางคนไม่มีเงินแต่รสนิยม สูงจึงเกิดสภาวะทรัพย์จางต้องไปกู้ยืมหนี้ยืมสินมาซื้อมือถือ เป็นต้น 3. โรคขาดความอดทนและใจร้อนเนื่องจากคุณสมบัติของโทรศัพท์มือถือกดปุ๊ บต้อง ติดปั๊บ ทาให้หลายคนกลายเป็นคนไม่มีความอดทนแม้แต่เรื่องเล็กๆ เช่น นัดเพื่อนไว้ช้าแค่ 5 นาที ต้องโทร ตาม จึงกลายเป็นคนเร่งรีบ ร้อนรน และไม่รอบคอบ 4. โรคขาดกาลเทศะและไร้มารยาทซึ่งการโทรศัพท์ไปหาบุคคลที่เราอยากจะพูด ทุกเวลาโดย ไม่ดูเวลาหรือกาลเทศะที่ควรโทร บางคนโทรขายประกัน ขายเครื่องกรองน้าชวนสมัครบัตรเครดิต ทั้งๆที่ไม่รู้จักกันทาให้ผู้รับสายเกิดความราคาญใจ 5.โรคขาดมนุษยสัมพันธ์ คนส่วนใหญ่จะใช้มือถือพูดคุยกับญาติสนิท ขาดความใส่ใจที่จะ สร้างสัมพันธ์กับผู้อื่นหลบมุมโทรไปคุยกับเพื่อนแทนที่จะพูดคุยกับพ่อแม่ผู้ปกครองหรือทกิจกรรม ที่ทาให้ความสัมพันธ์ในบ้านห่างเหินซึ่งจะเกิดอาการเฉาหรือเหงาหงอยกลายเป็นคนแยกตัวออก จากสังคมมีโลกของตัวเองและเป็นโรคติดโทรศัพท์ในที่สุด 6.โรคไม่จริงใจ เนื่องจากการพูดคุยทางโทรศัพท์ไม่ต้องเห็นหน้าตาท่าทาง สายตาและ ปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อกัน ทาให้หลายคนสามารถใช้คาหวานหลอกลวงหรือพูดโกหกผู้อื่น หรือนิยม ส่ง sms ไปยังอีกฝ่าย ทาเสมือนรักใคร่ ผูกพันหรือห่วงใย 3.6 โรคยอดฮิตที่มากับการติดมือถือ โรคติดโทรศัพท์มือถือนั้นมืชื่อเรียกในภาษาการแพทย์ว่า “โนโมโฟเบีย” ถือเป็นโรคสมัยใหม่ ที่ YouGov ซึ่งเป็นองค์การวิจัยของสหราชอาณาจักร บัญญัติศัพท์คานี้ออกมาเรียกใช้ โดยการนาคา
  • 27. ว่า no-mobile-phone มารวมกับคาว่า phobia ซึ่งหมายถึงโรคกลัวในทางจิตเวช จัดอยู่ในกลุ่มวิตก กังวล เป็นความกลัวที่มากกว่าความกลัวทั่วๆ ไปคนที่ เป็นโรคโนโมโฟเบีย จะมีอาการเครียด คลื่นไส้ ตัวสั่น เป็นอาการเกิดจากความหวาดกลัวในการขาดโทรศัพท์มือถือ ไม่มีโทรศัพท์อยู่ติดกับ ตัว รวมไปถึงความเครียดเมื่ออยู่ในจุดอับสัญญาณ ความกังวลเมื่อเเบตเตอรี่หมด กลัวที่จะไม่ สามารถติดต่อสื่อสารกับใครได้ การบ่งบอกสัญญาณของโรคติดมือถือ เช่น หมกมุ่นอยู่กับการเช็คมือถือตลอดเวลา กังวลไปว่า มือถือจะหายคอยตรวจเช็คดูตลอด ต้องวางมือถือไว้ในจุดที่เอื้อมหยิบถึงได้ตลอดเวลา ใช้เวลากับ โทรศัพท์มือถือมากว่าสนทนากับคนรอบข้าง ก่อนทานอาหารต้องถ่ายรูปเพื่อโพสลงโซเชี่ยล เน็ตเวิร์ค โพสรูปและความรู้สึกลงในสื่อออนไลน์ตลอดเวลา วันละหลายครั้ง และทีนี้มาดู ผลกระทบต่อส่วนต่างๆ ของร่างกายกันบ้าง อาการปวดเมื่อย อาการปวดเมื่อย คอ บ่า ไหล่ ถือเป็นอาการลาดับแรกๆ ที่เป็นผลมาจากการนั่งเกร็งในท่าเดิมๆ ยิ่งไปกว่านั้นเวลาที่เราเพ่งดูหน้าจอนั้น ท่าทางรายการของเราก็จะค่อยค้อมลง ตัวงอและงุ้ม ส่งผล ให้ล้าไปทั้งคอและบ่า และอาจส่งผลไปถึงการปวดศีรษะ เพราะเลือดที่ไปเลี้ยงสมองนั้นต้องไหล ผ่านกล้ามเนื้อส่วนบ่า ต้นคอ เมื่อเกิดอาการเกร็งจนกล้ามเนื้อบิด ทาให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกนัก เมื่อเป็นบ่อยครั้งเข้าจะทาให้รู้สึกปวดศีรษะได้หากเกิดอาการนี้กับเด็กหรือวัยรุ่นจะส่งผลให้กระดูก หรือหมอนรองกระดูกเสื่อก่อนวันอันควรอีกด้วยนอกจากปวดเมื่อยแล้วจากการนั่งหลังงุ้มแล้ว ยัง ส่งผลต่อโรคระบบทางเดินหายใจ เมื่อนั่งหลังงุ้มจะทาให้หายใจไม่สุดปอด หายใจสั้นและติดขัด ส่งผลต่อการขับของเสียหรือเชื้อโรคในทางเดินหายใจที่ถูกจากัดลง อาการตาเสื่อม การจ้องหน้าจอนานๆ ทาให้กล้ามเนื้อรอบดวงตาเกร็งตัว เมื่อมองแสงสีของภาพจากจอที่ ฉูดฉาด เคลื่อนที่เร็ว ทาให้ประสาทตาล้า เกิดอาการตาแห้ง ซึ่งเมื่อเป็นแบบนี้บ่อยครั้งเข้าก็จะส่งผล ให้ประสาทตาเสื่อมสภาพเร็วขึ้น อาการนิ้วล็อก การใช้มือถือจิ้มที่หน้าจอบ่อยๆ นานๆ อาจทาให้เป็นอาการนิ้วล็อก นิ้วชา ปวดข้อมือ อาจะถึง ขั้นเส้นเอ็นข้อมืออักเสบ ลักษณะอาการนิ้วล็อกให้สังเกตจาก จะเริ่มกามือไม่ค่อยลง มือและนิ้วแข็ง กาแล้วเหยียดขึ้นไม่ได้ เมื่อตื่นนอนขึ้นมายิ่งรู้สึกมือแข็งมาก รู้สึกปวดเมื่อยมือและนิ้ว ให้สงสัยได้ เลยว่าคุณกาลังเป็นโรคนิ้วล็อก ควรพบแพทย์เพื่อรักษาต่อไป
  • 28. อาการอ้วนและโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร การนั่งอยู่กับที่นานๆ ทาให้ร่างกายไม่เกิดการเผาผลาญ อาหารถูกพอกพูนเป็นไขมันสะสม โดยเฉพาะบริเวณหน้าท้อง ก้น และต้นขา เกิดการสะสมเซลลูไลท์ นอกจากจะทาให้อ้วนขึ้นแล้ว ยัง ส่งผลต่อสุขภาพของกระเพาะอาหาร อาหารย่อยยาก ท้องอืด ลาไส้อ่อนแรง เพราะไม่ค่อยมีการ เคลื่อนไหวของลาไส้ 3.7 โรคซีวีเอส นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า การใช้งานโทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ที่มากเกินความจาเป็นอาจส่งผลเสียต่อร่างกายได้ ซึ่งหนึ่ง ในโรคที่อาจส่งกระทบต่อสุขภาพ คือ "คอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม" (Computer Vision Syndrome) หรือ "โรคซีวีเอส" คนที่ทางานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ เช่น เกินสองถึง สามชั่วโมง มักจะมีอาการปวดตา แสบตา ตามัว และบ่อยครั้งที่จะมีอาการปวดหัวร่วมด้วย ทั้งนี้อาการทางสายตาเหล่านี้ เกิดจากการจ้องดูข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานานเกินไป อาการเหล่านี้พบได้ถึงร้อยละ 75 ของบุคคลที่ใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี อาการในบางคนอาจเป็นเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่บั่นทอนการทางาน หรือพักการใช้คอมพิวเตอร์สักครู่ก็ หายไป บางคนอาจต้องว่างเว้นการใช้เป็นวันก็หายไป บางรายอาจต้องใช้ยาระงับอาการ ส่วนสาเหตุของโรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือ นานๆ และไม่ค่อยกระพริบตา หากเราอ่านหนังสือหรือนั่งจ้องคอมพิวเตอร์ อัตราการกระพริบจะ ลดลง ประกอบกับแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์ ทาให้ตาเมื่อยล้า ทั้งแสงจ้าและแสงสะท้อนมายัง จอภาพ อาจเกิดจากแสงสว่างไม่พอเหมาะ มีไฟส่องเข้าหน้าหรือหลังจอภาพโดยตรง หรือแม้แต่ แสงสว่างจากหน้าต่างปะทะหน้าจอภาพโดยตรง ก่อให้เกิดแสงจ้าและแสงสะท้อนเข้าตาผู้ใช้ ทาให้ เมื่อยล้าตาง่าย หรือระยะทางานที่ห่างจากจอภาพไม่เหมาะสม มีสายตาผิดปกติ เช่น สายตายาวไม่ มาก โดยการทางานตามปกติไม่ก่อให้เกิดอาการ แต่ถ้ามาทางานหน้าจอคอมพิวเตอร์จะก่ออาการ เมื่อยล้าตาได้นอกจากนี้บางรายมีโรคตาบางอย่างประจาตัวอยู่ เช่น ต้อหินเรื้อรัง ม่านตาอักเสบ เยื่อ บุตาอักเสบเรื้อรัง ตลอดจนโรคทางกาย เช่น ไซนัสอักเสบ โรคหวัด ภูมิแพ้เรื้อรัง หรือร่างกาย อ่อนเพลีย ทาให้ต้องปรับสายตามากเวลาใช้คอมพิวเตอร์ จึงก่อให้เกิดอาการเมื่อยตาได้ง่าย อีกทั้ง การทางานจ้องจอภาพนานเกินไป ย่อมเกิดอาการทางตาได้ง่ายจากการเกร็งกล้ามเนื้อตาตลอดเวลา
  • 29. 3.8 แบคทีเรียบนหน้าจอมือถือ นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเซอร์เรย์ ประเทศอังกฤษ ทาการเพาะเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากสมาร์ท โฟน ซึ่งเกิดจากมือของเราที่ทานอาหารขณะเล่นมือถือไปด้วย เชื้อแบคทีเรียเหล่านี้ไม่เป็นอันตราย กับตัวมนุษย์ แต่ไม่ใช่ทั้งหมด ยังมีบางส่วนที่เรียกว่า “สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส” ซึ่งอาจทาให้เกิด โรคอาหารเป็นพิษได้ ภาพที่ 3.1 ภาพซูมจากกล้องจุลทรรศน์ เชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในหน้าจอของโทรศัพท์