SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
การพัฒนาหลักสูตรและการสอน ทฤษฎีและหลักการ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ทฤษฎีหลักสูตร ความหมายของทฤษฎี  ตามพจนานุกรมภาษาไทย หมายถึง ความเห็น การเห็น การเห็นด้วยใจ ลักษณะที่คิดคาด เอาตามหลักวิชาเพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์ หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมีระเบียบ
[object Object]
[object Object],[object Object]
องค์ประกอบของทฤษฎี   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1 2 3
สรุปความหมายของทฤษฎี ,[object Object]
[object Object],การปฏิบัติ การปฏิบัติ ทฤษฎี การปฏิบัติ กฎเกณฑ์ ทฤษฎี การปฏิบัติ การปฏิบัติ การปฏิบัติ การวิจัย สูตร ความสัมพันธ์ระหว่าง ทฤษฎีกับการปฏิบัติ
ทฤษฎีการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประโยชน์ของทฤษฎี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความหมายของหลักสูตร ( Conception of Curriculum) หลักสูตร ตามรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า  currere  หมายถึง Running course  หรือเส้นทางที่ใช้ในการวิ่ง  ต่อมาเมื่อใช้กับการศึกษา จึงหมายถึง  running sequence of courses or learning experience   เปรียบหลักสูตรเหมือนสนามหรือลู่วิ่งให้ ผู้เรียนฟันฝ่าความยากของวิชาหรือประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
ความหมายของหลักสูตร ตามอักษรย่อ  SOPEA ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความหมายของหลักสูตร ตามอักษรย่อ  SOPEA ,[object Object],[object Object],หลักสูตรเป็นรายวิชาหรือเนื้อหาที่เตรียมให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาต่างๆ  นักการศึกษาที่ให้ความหมายหลักสูตรในลักษณะนี้  คือ  Boobbitt (1918, p. 72)  “ หลักสูตร  หมายถึง  รายการที่สร้างประสบการณ์ ในทุกอย่างที่เด็กและเยาวชนจะต้องทำและจะต้องประสบ ทำให้เกิดการ พัฒนาความสามารถเพื่อจะทำสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้นและเหมาะสมสำหรับดำรง ชีวิตในวัยผู้ใหญ่ Good (1973, p. 154)   “ หลักสูตร คือ กลุ่มรายวิชาที่จัดไว้อย่างมีระบบหรือ ลำดับวิชาที่บังคับ สำหรับการจบการศึกษาหรือเพื่อรับประกาศนียบัตรใน วิชาหลักๆ ”
2. Curriculum  as Objectives   หลักสูตร คือ จุดมุ่งหมายที่ผู้เรียนพึงบรรลุ หลักสูตรในความหมายนี้  หมายถึง  สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนทั้งในและ นอกห้องเรียน  เพื่อให้บรรลุจุดหมายและจุดประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ นักการศึกษาที่ให้ความหมายนี้  ได้แก่  Lavatelli and others (1972, p.1-2)  “ หลักสูตรเป็นชุดของการเรียนและ ประสบการณ์สำหรับเด็ก  ซึ่งโรงเรียนวางแผนไว้เพื่อให้เด็กบรรลุถึง จุดหมายของการศึกษา ” Johnson ((1970, p.25)  “ หลักสูตรเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้หรือ สามารถทำได้ หลักสูตรคือ ผลที่ออกมาไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น เป็นความคาดหวัง หรือความตั้งใจ ”
3. Curriculum as Plan  หลักสูตร คือ  แผนสำหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ ที่คาดหวังแก่ผู้เรียน หลักสูตรในความหมายนี้ เน้นการแสดงเกี่ยวกับจุดหมายหรือวัตถุประสงค์ การออกแบบหลักสูตร  การนำหลักสูตรไปใช้ และการประเมินผล  เพื่อเป็น แนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติ  โดยมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและ พฤติกรรมตามที่กำหนดในหลักสูตร  นักการศึกษาที่ให้ความหมายนี้คือ  Saylor & Alexander (1974, p. 6)  “ หลักสูตรเป็นแผนสำหรับจัดโอกาส การเรียนรู้ให้แก่บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง  เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือจุดหมายที่ วางไว้  โดยมีโรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ Taba (1962, p. 10-11)  หลักสูตร คือ แผนการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย จุดประสงค์และจุดหมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนื้อหา วิธีการจัดการเรียน การสอนและการประเมินผล
4. Curriculum as Learners Experiences หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทั้งปวงของผู้เรียนที่จัดโดยโรงเรียน มุมมองของหลักสูตรในความหมายนี้ คือ เน้นความสำคัญที่ประสบการณ์   ที่จัดให้ผู้เรียน  โดยโรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ  wheeler (1974, p. 11)   “ หลักสูตรเป็นประสบการณ์ที่นักเรียน ได้รับทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการพัฒนาด้านร่างกาย  สังคม  ปัญญา และจิตใจ
[object Object],[object Object],หลักสูตรในความหมายนี้ เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้ผู้เรียนได้มีความรู้ ประสบการณ์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้  Trump and Miller   “ หลักสูตร คือ กิจกรรมการเรียน การสอนวิชาต่างๆ ที่เตรียมการไว้และจัดให้แก่นักเรียนโดยโรงเรียน   หรือระบบโรงเรียน
ความหมายของหลักสูตร ตามทัศนะนักการศึกษาไทย ,[object Object],[object Object]
สรุปความหมายของหลักสูตร หลักสูตร  คือ  เอกสารที่กำหนดโครงการศึกษาของผู้เรียน หลักสูตร  คือ  รายวิชาทั้งหมดที่โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาจัดให้เรียน หลักสูตร  คือ  ประสบการณ์ทุกอย่างที่นักเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รับภายใต้การแนะแนว ของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา หลักสูตร  คือ  ประสบการณ์ทุกอย่างที่นักเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รับโดยไม่จำกัดว่าเมื่อไร และอย่างไร
จำแนกแนวคิดของนักการศึกษา แบ่งเป็น  2  กลุ่ม กลุ่มที่  1 :  หลักสูตร หมายถึง  แผน  ประสบการณ์การเรียน  มองหลักสูตร   ในลักษณะที่เป็นเอกสารหรือโครงการศึกษาที่สถาบันการศึกษา ได้จัดวางแผนไว้เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาตามแผน  หรือโครงการ   ที่กำหนดไว้  ซึ่งรวมถึงรายวิชา  เนื้อหาวิชา  กิจกรรมการเรียน   การสอนและการประเมินผล กลุ่มที่  2 :  หลักสูตร  หมายถึง  ประสบการณ์การเรียนของผู้เรียน   ที่   สถาบันการศึกษาจัดให้  ซึ่งรวมถึงแผนประสบการณ์การเรียน   การนำหลักสูตรไปใช้  หลักสูตรประกอบด้วยเป้าหมาย  และ   จุดมุ่งหมายเฉพาะ  ซึ่งบ่งถึงการเลือก การจัดเนื้อหาและแสดง   ถึงการเรียนการสอน รวมทั้งการประเมินผลด้วย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],องค์ประกอบโดยรวม ตามความหมายของหลักสูตร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],หลักสูตร  คือ  ประมวลประสบการณ์ทุกชนิดที่ครูสร้างสรรค์ให้กับผู้เรียน   เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใน   สังคมอย่างมีความสุขและเจริญงอกงาม สรุป
บทบาทสำคัญของหลักสูตร ทุกระดับของการศึกษา หลักสูตร   ระบุสิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน และแนวทางจัดให้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์ หลักสูตร   เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวในการสร้างบ้าน ส่วนการสอนเป็นกระบวนการ หรือวิธีการ หลักสูตร   ระบุสิ่งที่จะสอนในโรงเรียน ระบุสิ่งที่ผู้เรียนควรจะเรียนรู้
[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทของหลักสูตร การกำหนดประเภทของหลักสูตรขึ้นอยู่กับการตอบสนองผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนการสอน และสถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสม การจะเลือกใช้หลักสูตรประเภทใด  ขึ้นอยู่กับสถานการณ์  จุดหมายปลายทางของการจัดการศึกษาแต่ละประเภทและระดับการศึกษาเป็นสำคัญ แบ่งได้ดังนี้
1.  หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],1.  หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1.  หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1.  หลักสูตรประเภทที่ยึดเอาสาขาวิชาและเนื้อหาวิชาเป็นหลัก
2.  หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก ,[object Object],[object Object]
2.  หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก ,[object Object],[object Object]
2.  หลักสูตรที่ยึดผู้เรียนเป็นหลัก ,[object Object],[object Object]
หลักสูตรที่ยึดเอากระบวนการทางทักษะเป็นหลัก ,[object Object]
ทฤษฎีหลักสูตร ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการบริหารการศึกษา การบริหารถือว่าเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่มีทฤษฎีการบริหารกำกับอยู่จำนวนมาก เพราะนักบริหารได้กำหนดทฤษฎีที่เป็นสิ่งที่ได้ค้นคว้าทดลองมา  จนกระทั่งรวบรวมนำมาใช้ในการบริหารงาน  ในบางครั้งนักการศึกษาคิดว่าการบริหารการศึกษา  เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นด้วยการใช้ประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและนำประสบการณ์นั้นมาบริหารการศึกษา
จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์  นักจิตวิทยาได้คิดค้นขึ้นมาใช้กับ  การจัดการศึกษา  จิตวิทยาการเรียนรู้เหล่านั้นได้ถูกทดลองทั้งกับสัตว์ และมนุษย์  ( เด็ก ,  ผู้ใหญ่ )  หลายรูปแบบจนกระทั่งเกิดความไม่แน่ใจว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแน่นอนแล้ว นักจิตวิทยาจึงได้นำมาใช้กับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับการศึกษา ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู้
การวิจัยเป็นเรื่องหนึ่งที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องนำมาใช้เพื่อการจัดทำหลักสูตร ผลการวิจัยที่นำมาใช้ในการจัดทำหลักสูตรจะมาจากรากฐานทฤษฎีการวิจัย  3  ประเภท  1.  การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษา 2.  การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาและสังคมศาสตร์ 3.  การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเศรษฐกิจของสังคม ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการวิจัยการศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร นักการศึกษาหลายท่านได้ให้คำนิยามเกี่ยวกับทฤษฎีไว้ดังนี้ เฮอร์เบอร์ท  ไฟเจล  ( Herbert Feigl)  ทฤษฎีคือ  “ การกำหนดข้อสันนิษฐานซึ่งได้รับมาจากวิธีการของตรรกวิทยาคณิตศาสตร์ ทำให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการทดลองและการทดลองมิใช่เกิดจากการเรียนรู้จากที่ใด ” โลแกน และโอลม  สเตด  ( Logan and Olmstead)   “ ทฤษฎี  หมายถึง  ข้อความหนึ่งข้อความใดที่กำหนดไว้อย่างมีเหตุผล  เชื่อถือได้  และได้มีการถกเถียงกันมาก่อนก่อนที่จะลงความเห็นว่าสมควรที่จะกำหนดเรียนว่า  “ ทฤษฎี ” เฟรด  เคสลินเกอร์  ( Fred N. Keslinger)   “ ทฤษฎี  คือ การผสมผสานของความคิดรวบยอดที่แสดงให้เห็นถึงปรากฏการณ์ที่มีระบบ และเกิดความจริงจน สามารถพิสูจน์ได้ ”
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตร  เป็นแนวคิดใหม่ที่มีนักพัฒนาหลักสูตรได้นำมาใช้  ทฤษฎีหลักสูตรเป็นการผสมผสานทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กำหนดขึ้นเพื่อการนำมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณานำเอาพัฒนาการ ของมนุษย์นำเข้ามาใช้  เป็นการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ  และโยงความสัมพันธ์กับเหตุการณ์นั้น นำเอามาใช้และพิจารณาโครงสร้างและเนื้อหาวิชาที่เหมาะสม  นำมาบรรจุไว้ในหลักสูตรด้วยการคำนึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วนของผู้เรียนและในส่วนของสังคม  การนำทฤษฎีหลักสูตรไปใช้จะประกอบด้วยการจัดประเภท  การวางแผนการประเมินค่าและการปฏิบัติ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],มิติของการพัฒนาหลักสูตร
การวางแผนพัฒนาหลักสูตร การใช้หลักสูตร  การประเมินหลักสูตร วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน กำหนดจุดมุ่งหมาย กำหนดเนื้อหาและประสบการณ์ กำหนดการวัดและประเมินผล การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอน การเตรียมบุคลากร การบริหารหลักสูตร การสอนตามหลักสูตร เอกสารหลักสูตร การใช้หลักสูตร สัมฤทธิผลของหลักสูตร หลักสูตรทั้งระบบ
จบการนำเสนอ

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรtanongsak
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาSurapong Khamjai
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยานภดล รุ่งจรูญ
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการkeeree samerpark
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9Pateemoh254
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 

What's hot (20)

ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตรความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
Lewwiss
LewwissLewwiss
Lewwiss
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 

Viewers also liked

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรRissa Byk
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรkruskru
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวJaey Chomuan
 
2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...
2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...
2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...Henry Sumampau
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาRawiwan Promlee
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (17)

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
หน้าปก Ok
หน้าปก Okหน้าปก Ok
หน้าปก Ok
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...
2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...
2002 servant leadership it s origin, development, and application in organiza...
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆ
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา ครูผู้ช่วยและตำแหน่งอื่นๆ
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to ทฤ.หลักสูตร

ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรPateemoh254
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Naruephon
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Naruephon
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานAusa Suradech
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52guest7f765e
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2nattawad147
 

Similar to ทฤ.หลักสูตร (20)

ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52งานดร.นิป24ม.ค.52
งานดร.นิป24ม.ค.52
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from Tawatchai Bunchuay (9)

Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09
 
Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09Calenda54 2012 09
Calenda54 2012 09
 
Tawatchai
TawatchaiTawatchai
Tawatchai
 
7d19c38f f284-dfe8
7d19c38f f284-dfe87d19c38f f284-dfe8
7d19c38f f284-dfe8
 
Compre2554
Compre2554Compre2554
Compre2554
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Google documents
Google documentsGoogle documents
Google documents
 
คำถาม สมศ
คำถาม สมศคำถาม สมศ
คำถาม สมศ
 
คำถาม สมศ
คำถาม สมศคำถาม สมศ
คำถาม สมศ
 

ทฤ.หลักสูตร

  • 1.
  • 2. ทฤษฎีหลักสูตร ความหมายของทฤษฎี ตามพจนานุกรมภาษาไทย หมายถึง ความเห็น การเห็น การเห็นด้วยใจ ลักษณะที่คิดคาด เอาตามหลักวิชาเพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์ หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมีระเบียบ
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. ความหมายของหลักสูตร ( Conception of Curriculum) หลักสูตร ตามรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า currere หมายถึง Running course หรือเส้นทางที่ใช้ในการวิ่ง ต่อมาเมื่อใช้กับการศึกษา จึงหมายถึง running sequence of courses or learning experience เปรียบหลักสูตรเหมือนสนามหรือลู่วิ่งให้ ผู้เรียนฟันฝ่าความยากของวิชาหรือประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
  • 11.
  • 12.
  • 13. 2. Curriculum as Objectives หลักสูตร คือ จุดมุ่งหมายที่ผู้เรียนพึงบรรลุ หลักสูตรในความหมายนี้ หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนทั้งในและ นอกห้องเรียน เพื่อให้บรรลุจุดหมายและจุดประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ นักการศึกษาที่ให้ความหมายนี้ ได้แก่ Lavatelli and others (1972, p.1-2) “ หลักสูตรเป็นชุดของการเรียนและ ประสบการณ์สำหรับเด็ก ซึ่งโรงเรียนวางแผนไว้เพื่อให้เด็กบรรลุถึง จุดหมายของการศึกษา ” Johnson ((1970, p.25) “ หลักสูตรเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้หรือ สามารถทำได้ หลักสูตรคือ ผลที่ออกมาไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น เป็นความคาดหวัง หรือความตั้งใจ ”
  • 14. 3. Curriculum as Plan หลักสูตร คือ แผนสำหรับจัดโอกาสการเรียนรู้หรือประสบการณ์ ที่คาดหวังแก่ผู้เรียน หลักสูตรในความหมายนี้ เน้นการแสดงเกี่ยวกับจุดหมายหรือวัตถุประสงค์ การออกแบบหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ และการประเมินผล เพื่อเป็น แนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติ โดยมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและ พฤติกรรมตามที่กำหนดในหลักสูตร นักการศึกษาที่ให้ความหมายนี้คือ Saylor & Alexander (1974, p. 6) “ หลักสูตรเป็นแผนสำหรับจัดโอกาส การเรียนรู้ให้แก่บุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือจุดหมายที่ วางไว้ โดยมีโรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ Taba (1962, p. 10-11) หลักสูตร คือ แผนการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย จุดประสงค์และจุดหมายเฉพาะการเลือกและการจัดเนื้อหา วิธีการจัดการเรียน การสอนและการประเมินผล
  • 15. 4. Curriculum as Learners Experiences หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทั้งปวงของผู้เรียนที่จัดโดยโรงเรียน มุมมองของหลักสูตรในความหมายนี้ คือ เน้นความสำคัญที่ประสบการณ์ ที่จัดให้ผู้เรียน โดยโรงเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ wheeler (1974, p. 11) “ หลักสูตรเป็นประสบการณ์ที่นักเรียน ได้รับทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีการพัฒนาด้านร่างกาย สังคม ปัญญา และจิตใจ
  • 16.
  • 17.
  • 18. สรุปความหมายของหลักสูตร หลักสูตร คือ เอกสารที่กำหนดโครงการศึกษาของผู้เรียน หลักสูตร คือ รายวิชาทั้งหมดที่โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาจัดให้เรียน หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทุกอย่างที่นักเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รับภายใต้การแนะแนว ของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา หลักสูตร คือ ประสบการณ์ทุกอย่างที่นักเรียนหรือนักศึกษาพึงได้รับโดยไม่จำกัดว่าเมื่อไร และอย่างไร
  • 19. จำแนกแนวคิดของนักการศึกษา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 : หลักสูตร หมายถึง แผน ประสบการณ์การเรียน มองหลักสูตร ในลักษณะที่เป็นเอกสารหรือโครงการศึกษาที่สถาบันการศึกษา ได้จัดวางแผนไว้เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาตามแผน หรือโครงการ ที่กำหนดไว้ ซึ่งรวมถึงรายวิชา เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียน การสอนและการประเมินผล กลุ่มที่ 2 : หลักสูตร หมายถึง ประสบการณ์การเรียนของผู้เรียน ที่ สถาบันการศึกษาจัดให้ ซึ่งรวมถึงแผนประสบการณ์การเรียน การนำหลักสูตรไปใช้ หลักสูตรประกอบด้วยเป้าหมาย และ จุดมุ่งหมายเฉพาะ ซึ่งบ่งถึงการเลือก การจัดเนื้อหาและแสดง ถึงการเรียนการสอน รวมทั้งการประเมินผลด้วย
  • 20.
  • 21.
  • 22. บทบาทสำคัญของหลักสูตร ทุกระดับของการศึกษา หลักสูตร ระบุสิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน และแนวทางจัดให้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์ หลักสูตร เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวในการสร้างบ้าน ส่วนการสอนเป็นกระบวนการ หรือวิธีการ หลักสูตร ระบุสิ่งที่จะสอนในโรงเรียน ระบุสิ่งที่ผู้เรียนควรจะเรียนรู้
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32. ทฤษฎีหลักสูตร ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการบริหารการศึกษา การบริหารถือว่าเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่มีทฤษฎีการบริหารกำกับอยู่จำนวนมาก เพราะนักบริหารได้กำหนดทฤษฎีที่เป็นสิ่งที่ได้ค้นคว้าทดลองมา จนกระทั่งรวบรวมนำมาใช้ในการบริหารงาน ในบางครั้งนักการศึกษาคิดว่าการบริหารการศึกษา เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นด้วยการใช้ประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและนำประสบการณ์นั้นมาบริหารการศึกษา
  • 33. จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ นักจิตวิทยาได้คิดค้นขึ้นมาใช้กับ การจัดการศึกษา จิตวิทยาการเรียนรู้เหล่านั้นได้ถูกทดลองทั้งกับสัตว์ และมนุษย์ ( เด็ก , ผู้ใหญ่ ) หลายรูปแบบจนกระทั่งเกิดความไม่แน่ใจว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องแน่นอนแล้ว นักจิตวิทยาจึงได้นำมาใช้กับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับการศึกษา ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการเรียนรู้
  • 34. การวิจัยเป็นเรื่องหนึ่งที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องนำมาใช้เพื่อการจัดทำหลักสูตร ผลการวิจัยที่นำมาใช้ในการจัดทำหลักสูตรจะมาจากรากฐานทฤษฎีการวิจัย 3 ประเภท 1. การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษา 2. การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาและสังคมศาสตร์ 3. การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเศรษฐกิจของสังคม ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการวิจัยการศึกษา
  • 35. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร นักการศึกษาหลายท่านได้ให้คำนิยามเกี่ยวกับทฤษฎีไว้ดังนี้ เฮอร์เบอร์ท ไฟเจล ( Herbert Feigl) ทฤษฎีคือ “ การกำหนดข้อสันนิษฐานซึ่งได้รับมาจากวิธีการของตรรกวิทยาคณิตศาสตร์ ทำให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการทดลองและการทดลองมิใช่เกิดจากการเรียนรู้จากที่ใด ” โลแกน และโอลม สเตด ( Logan and Olmstead) “ ทฤษฎี หมายถึง ข้อความหนึ่งข้อความใดที่กำหนดไว้อย่างมีเหตุผล เชื่อถือได้ และได้มีการถกเถียงกันมาก่อนก่อนที่จะลงความเห็นว่าสมควรที่จะกำหนดเรียนว่า “ ทฤษฎี ” เฟรด เคสลินเกอร์ ( Fred N. Keslinger) “ ทฤษฎี คือ การผสมผสานของความคิดรวบยอดที่แสดงให้เห็นถึงปรากฏการณ์ที่มีระบบ และเกิดความจริงจน สามารถพิสูจน์ได้ ”
  • 36. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตร เป็นแนวคิดใหม่ที่มีนักพัฒนาหลักสูตรได้นำมาใช้ ทฤษฎีหลักสูตรเป็นการผสมผสานทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กำหนดขึ้นเพื่อการนำมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณานำเอาพัฒนาการ ของมนุษย์นำเข้ามาใช้ เป็นการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ และโยงความสัมพันธ์กับเหตุการณ์นั้น นำเอามาใช้และพิจารณาโครงสร้างและเนื้อหาวิชาที่เหมาะสม นำมาบรรจุไว้ในหลักสูตรด้วยการคำนึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วนของผู้เรียนและในส่วนของสังคม การนำทฤษฎีหลักสูตรไปใช้จะประกอบด้วยการจัดประเภท การวางแผนการประเมินค่าและการปฏิบัติ
  • 37.
  • 38. การวางแผนพัฒนาหลักสูตร การใช้หลักสูตร การประเมินหลักสูตร วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน กำหนดจุดมุ่งหมาย กำหนดเนื้อหาและประสบการณ์ กำหนดการวัดและประเมินผล การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอน การเตรียมบุคลากร การบริหารหลักสูตร การสอนตามหลักสูตร เอกสารหลักสูตร การใช้หลักสูตร สัมฤทธิผลของหลักสูตร หลักสูตรทั้งระบบ

Editor's Notes

  1. หลักสูตรนี้ครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาจะเคยชินกับหลักสูตรประเภทนี้มาก เมื่อมีการจัดทำหลักสูตรแล้วจะพิจารณาหลักสูตรประเภทนี้ก่อนประเภทอื่น หลักสูตรที่เหมาะสมสำหรับการจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับอุดมศึกษามากกว่าระดับอื่น เนื่องจากมีการจัดการเรียนการสอนด้วยการบรรยาย และใช้ระบบแบบเรียนหรือตำราเรียนเป็นหลัก
  2. หลักสูตรชนิดนี้เป็นหลักสูตรที่ได้ยึดถือมานาน จัดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียน จึงต้องยึดถือเอาผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและอาศัย ประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นส่วนใหญ่ การกำหนดหลักสูตรโดยอาศัยประสบการณ์ของผู้เรียนได้นำมาใช้กับการจัดหลักสูตรสถานศึกษา แบ่งได้ข้างต้น
  3. การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ให้เป็นผู้มีความรู้และมีประสบการณ์ และมีทักษะในกรพัฒนาตนเองให้เจริญงอกงาม นักการศึกษาทุกยุคทุกสมัยได้พยายามคิดค้นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของมนุษย์ ในทางพุทธศาสนาถือว่า พระพุทธเจ้าเป็นนักการศึกษาที่ยิ่งใหญ่ ได้กำหนดทฤษฎีทางการศึกษาให้มนุษย์ได้นำมาใช้กับการศึกษาหาความรู้ คือ การเข้าสู่พระนิพพาน เช่นเดียวกับองค์ศาสดาศาสนาอื่นๆ ที่ได้กำหนดทฤษฎีต่างๆ เพื่อให้มนุษย์ได้เกิดการเรียนรู้อย่างมากมาย ต่อมาก็ได้มีนักการศึกษาโดยเฉพาะที่ได้กำหนดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และเป็นพื้นฐานให้เกิดการเรียนรู้ของมนุษย์ตลอดมาจนกระทั่งในปัจจุบัน ก็ยังมีนักการศึกษาพยายามคิดค้นทฤษฎีทางการศึกษาขึ้นมาเพื่อให้เหมาะกับยุคสมัย
  4. ทฤษฎีหลักสูตรเป็นเรื่องใหม่ของวงการศึกษาทฤษฎีหนึ่งและเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการศึกษา แต่ความกว้างขวาง ของการใช้ทฤษฎีหลักสูตรในวงการศึกษายังมีไม่มากนักจนในบางครั้งนักการศึกษาและนักพัฒนาหลักสูตรลืมไปว่า การจัดทำหลักสูตรไม่จำเป็นต้องอาศัยทฤษฎีหลักสูตร เพราะถือว่า การจัดทำหลักสูตรเป็นเรื่องของกระบวนการ