SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
บทที่ 2
ทฤษฎีหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น 2 ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ๆ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร(curriculum design) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร(curriculum engineering)
ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3
กลุ่มหลัก คือ 1.วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (thenaturalsciences) 2.สังคมศาสตร์ (the socialsciences) และ 3.
มนุษย์ศาสตร์ (the humanities) โดยที่สาขาวิชาต่าง ๆ มีที่มาจากความรู้ทั้งสามกลุ่ม อาทิ แพทย์ศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ รวมถึงศึกษาศาสตร์ เป็นต้น
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร
2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
สาระเนื้อหา(Content)
ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ร า ก ฐ า น ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ สั ง ค ม
ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ก าร เรี ย น ก าร ส อ น ที่ เห มาะ ส มกับ ค ว ามต้อ ง ก ารข อ ง ผู้เรี ย น
สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนาความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ
ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี ซึ่ ง ห ลั ก สู ต ร จั ด เ ป็ น หั ว ใ จ ห ลั ก ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ศึ ก ษ า
มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัดการศึกษาที่มีระบบ
และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการศึกษา
ซึ่ งจะ สะ ท้อน คุณ ค่าของการพัฒ น าทรัพ ยากรมนุ ษย์ใ น แต่ละ สังคมด้วยท ฤษฎี หลักสู ตร
เนื้อหาสาระใน บทนี้ กล่าวถึงทฤษฎีหลักสู ตร การสร้างทฤษฎีหลักสู ตร การพัฒน าหลักสูตร
หลักการพัฒนาหลักสูตร การวางแผนพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
1. ทฤษฎีหลักสูตร
ท ฤ ษ ฎี ต่า ง ๆ เ กิ ด จ าก ข้ อ เท็ จ จ ริ ง ซึ่ ง ค้ น พ บ ไ ด้ จ า ก ก าร ใ ช้ ก า ร พิ สู จ น์
และการใช้ข้อสรุปจากกฎที่ตั้งไว้จากการสังเกต มิใช่อาศัยเหตุและผลและนามาสรุปไว้เป็นกฎและหลักการ
ทฤษฎีเกี่ยวกับการสังเคราะห์และน าไปสู้การสร้างกฎที่ใช้ได้ทั่วไป มีความเป็ นสากล (Universal)
สามารถพิสูจน์ทดลองได้ (Testable) และมีส่วนประกอบ (Element) ที่เหมือนกัน ทฤษฎีทาหน้าที่ อธิบาย
แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย เพื่ อ เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ด า เนิ น ง าน ที่ มี ร ะ เ บี ย บ แ บ บ แ ผ น
น า ไ ป สู่ ก า ร ค า ด ค ะ เ น ข้ อ มู ล ไ ด้ โ ด ย อิ ง ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์
และนาไปสู้การยืนยันว่าทฤษฎีที่ตั้งขึ้นมีความถูกต้องและน่าจะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด
Smith and others (1957)
มีความเชื่อ ว่าท ฤษ ฎี ห ลัก สู ต รจะ ช่วยส ร้าง และ ใ ห้ เห ตุผล ที่ส นั บ ส นุ น ท าง ก ารศึก ษ า
เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ลื อ ก แ ล ะ จั ด ห า เ นื้ อ ห า ที่ ต่ า ง กั น ข อ ง ผู้ เ รี ย น
นั ก พัฒ น าห ลัก สู ตร จึง ได้น าท ฤ ษ ฎี ห ลัก สู ต รมาใ ช้โด ยการผ ส มผส าน ท ฤ ษ ฎี ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กาห น ดขึ้น เพื่อการน ามาใช้ในการพัฒน าหลักสูตร
ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณาความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ที่สามารถนามาปรับใช้การวางแผนและ
พัฒนาหลักสูตร รวมถึงการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ และโยงความสัมพันธ์กับเหตุการณ์
พิ จ าร ณ า โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ เ นื้ อ ห าวิช าที่ เห ม า ะ ส ม น าม า บ ร ร จุ ไ ว้ใ น ห ลัก สู ต ร
คานึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วนของผู้เรียนและในส่วนของสังคม (Kelly.1995)
Beauchamp (1981) ไ ด้ ส รุ ป ว่ า
ท ฤ ษ ฎี เป็ น ข้ อ ค วา ม ที่ ช่ว ย ข ย าย ข อ บ เข ต ค ว า ม รู้ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ ห้ ก ว้าง ข ว า ง ยิ่ ง ขึ้ น
เป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ซึ่ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ท า น า ย แ ล ะ ค า ด ก า ร ณ์ สิ่ ง ต่ า ง ๆ
ที่ ยั ง ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์
ห รื อป้ อง กัน แ ก้ไข เพื่ อ ป ระ โย ช น์ สุ ข ข อง มวล มนุ ษ ย์ช าติ ใ น ที่ สุ ดท ฤษ ฎี ห ลักสู ต ร
จึง เป็ น ก าร ผ ส มผ ส า น ข้อ ค ว ามเพื่ อ ใ ห้ ค วา มห ม าย ซึ่ ง น าไ ป ป ฏิ บั ติ ใ น โ ร ง เรี ย น
โดยการชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและการชี้แนะให้เห็นวิธีการพัฒนา
ทฤษฎีหลักสู ตรเป็ น คาอธิบายสิ่ งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสู ตร การสร้างห ลักสูตร
ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร
แ ล ะ ก ารน าผ ล ที่ ไ ด้รั บ จ าก ก าร ป ร ะ เมิน ผ ล มาป รับ ป รุ ง แ ก้ไข ห ลัก สู ต ร (Kelly.2009)
โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับเนื้อหาวิชา
ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด ปรัชญาต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการวางจุดมุ่งหมาย
สภ าพ ความจริ ง ใ น สั ง ค ม แล ะ บ ท บ าท ขอ ง การศึ กษ าใ น สั ง ค ม (Gardner and others.2000)
โดยสภาพความจริงแล้วทฤษฎีและปฏิบัติมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดทฤษฎีจะอธิบายให้เข้าใจ
ถึงความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งการปฏิบัติจะดาเนินการอยู่ภายในขอบเขตของทฤษฎีที่กล่าวไว้
ก ล่าวอี ก นั ย ห นึ่ ง ก็คื อ ท ฤ ษ ฎี จะ เป็ น สิ่ ง ที่ ก าห น ด แ น ว ท าง ข อ ง ก าร ป ฏิ บั ติ นั้ น เอ ง
โดยเหตุนี้ทฤษฎีจึงเป็นของคู่กันและจะต้องไปด้วยกันในการสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุความสาเร็จตามเ
ป้าหมาย
2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร
Beauchamp (1981:77) ไ ด้ เส น อ ว่า ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ลั ก ษ ณ ะ
คือทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories)
2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร
ก า ร อ อ ก แ บ บ ห ลั ก สู ต ร (Curriculum design) ห ม า ย ถึ ง
การจัดส่วน ประกอบหรื อองค์ประ กอบของห ลักสู ตรซึ่ งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้ อหา สาระ
กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล (Zais.1976:16) Herrick and Tyler (1950:41)
ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ 4.1
จุดประสงค์
เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน
การประเมินผล
ภาพประกอบ 1ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตร
Taba (1962:422) มี ค ว า ม เห็ น ว่า ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ที่ จ ะ ข า ด เ สี ย
มิได้ก็คือจุดมุ่งหมายทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะเนื้อหาสาระและประสบการณ์การเรียนรู้และการประเมินผล
Beauchamp(1975:107-109) ได้สรุปองค์ประกอบสาคัญซึ่งจะต้องเขียนไว้ในเอกสารหลักสูตร 4
ป ร ะ ก า ร คื อ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ แ ล ะ วิ ธี ก า ร จั ด
จุดมุ่งห มายทั่วไปและจุดมุ่งห มายเฉพ าะแนวทางการน าหลักสูตรไปใช้สู่การเรียน การสอน
และการประเมินผลซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญยิ่งสาหรับหลักสูตร
Zais(1976:431-437) ได้สรุปว่าการออกแบบหลักสูตร ประกอบด้วยแนวคิดหลักสูตร 2
แบบคือ หลักสูตรแห่งความหลุดพ้น (Unencapsulationdesign) และหลักสูตรมนุษยนิยม (Humanistic design)
หลักสูตรแห่งความหลุดพ้นมีความเชื่อว่าคนเราจะมีความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ 4 ทางได้แก่ความมีเหตุผล
(Rationalism) จะนาไปสู่การค้นพบความจริงการสังเกต (Empiricism) รับรู้จากการมอง การได้กลิ่น
ก า ร ไ ด้ ยิ น ก า ร ไ ด้ สั ม ผั ส ฯ ล ฯ สั ญ ช า ต ญ า ณ (Intuition)
ความรู้สึ กต่อสิ่ งห นึ่ ง โดยมิได้มีใครบอกกล่าวก็เป็ น วิธีห นึ่ ง ที่มนุ ษ ย์มีความรู้ใน สิ่ งต่าง ๆ
แ ล ะ ค ว า ม เชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ มี อ า น าจ (Authoritarianism) เ ช่น ค ว า ม เชื่ อ ใ น ท า ง ศ าส น า
ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ ป ร า ช ญ์ ผู้ รู้ ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว้ เ ป็ น ต้ น
ส่วนหลักสูตรมนุษยนิยมก็มีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรเพื่อความหลุดพ้นแต่การจัดหลักสูตรแบบนี้จะมุ่งเน้นเนื้
อหา สาระมากกว่ากระบวนการการจัดหลักสูตรจึงยึดเนื้อหาสาระของวิชาเป็นศูนย์กลาง
2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร
วิ ศ ว ก ร ร ม ห ลั ก สู ต ร (Curriculum engineering)
หมายถึงกระบวน การทุกอย่างที่จาเป็ น ใน การทาให้ระบบห ลักสู ตรเกิดขึ้น ในโรงเรียนได้แก่
ก า ร ส ร้ า ง ห รื อ จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร
และการประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร ( Beauchamp.1975:108)
หลักสูตรที่มีคุณภาพและสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ถึงผู้เรียนได้มากที่สุดนั้นมีอยู่หลายรูปแบบได้แก่
รูปแบบการบริห าร รูปแบบ การปฏิบัติการ รูปแบ บการสาธิ ต รู ปแบบการวิจัยเชิง ปฏิบัติ
และรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานสาหรับการกาหนดหลักสูตร
ทฤษฎีหลักสู ตรจะ ช่วยใน การบ ริหารงาน เกี่ยวกับหลักสู ตรมี หลักเกณฑ์ หลักการ
และระบบมากยิ่งขึ้น เช่น การสร้างหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร และการประเมินหลักสูตรการจัดบุคลากร
เกี่ยวกับหลักสูตร การทาให้องค์ประกอบของหลักสูตรที่จะนาไปใช้ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
3. การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวข้องกับการพิจารณาและการกาหนดเป้าหมายว่าหลักสูตรที่จัดทานั้นมีเป้าหม
ายเพื่ออะไร ทั้งโดยส่วนรวมและส่วนย่อยของหลักสูตรนั้นๆ อย่างชัดเจน การคัดเลือกกิจกรรม
วัสดุประกอบการเรียน การสอน การเลือกสรรเนื้อหาสาระ กิจกรรมทั้งในทั้งนอก ห้องเรียน
การกาหนดระบบการจัดวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนที่เหมาะสมแต่ละวิชาและแต่ละชั้นเรียน
การพัฒนาหลักสูตรเป็ น กระบวน การหรือขั้นตอน ของการตัดสิ นใจเลือกห าทางเลือก
การเรียนการสอนที่เหมาะสมหรือเป็นทางเลือกที่เหมาะสมต่างๆ เข้าด้วยกันจนเป็นระบบที่สามารถปฏิบัติได้
นักพัฒนาหลักสูตรต้องคานึงถึงภูมิหลักขององค์ประกอบต่างๆ อย่างละเอียด และรอบคอบก่อน
ตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ ง และเมื่อตัดสินใจเลือกแล้วก็ต้องคานึงถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ซึ่ ง จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่ ง อื่ น ๆ
การพัฒ น าห ลักสู ตรมีข้อควรคานึ ง ห ลายประ การที่นั กพัฒ น าห ลักสู ตรต้ อง ห าคาตอ บ
เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร?
2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์การศึกษาอะไร?
3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร?
4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร?
ส า ร า ญ ค ง ช ะ วั น ( 2456: 13-14)
ได้สรุปว่าการพัฒนาหลักสูตรเป็ นกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ
ที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน การเลือกจุดมุ่งหมายเนื้อหาวิชากิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้
ตลอดจนการวัดผลประเมินผล เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดต่อผู้เรียน
(Marsh and Willis. 1995:129)
ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ ร ะ ย ะ เว ล า
ซึ่งต้องดาเนินการให้เป็นไปตามความหมายเหมาะสมโดยอาจปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น
ห รื อ ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ขึ้ น ม า ใ ห ม่โ ด ย ที่ ยัง ไ ม่เ ค ย มี ห ลั ก สู ต ร นั้ น ม า ก่อ น ก็ ไ ด้
ซึ่งผู้พัฒนาสามารถดาเนิ นการได้ทุกระยะเวลา และต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามความเหมาะสม
และกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์ในการเรียนรู้จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน
บุ ญ ช ม ศ รี ส ะ อ า ด ( 2546: 21-46)
ได้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาหลักสูตรว่าต้องอาศัยพื้นฐานที่สาคัญ 5ประการ ดังนี้
1.พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ (Historicalfoundation) อิทธิพลขอพื้นฐานดังกล่าวมี 2
ลักษณะ
- ห ลั ก สู ต ร ที่ พั ฒ น า มี ค ว า ม รู้ ผ ล ก า ร ค้ น พ บ
และแนวปฏิบัติที่เคยมีมาในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
-
ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการจัดการศึกษาในอดีตเป็นบทเรียนในการสร้างหลักสูตรใหม่
2. พื้น ฐาน ทางปรัช ญา (Philosophicalfoundation) ปรัช ญามีส่วน ใ น การสร้างหลักสู ตร
เนื่องจากปรัชญามีส่วนในการช่วยกาหนดจุดประสงค์และการจัดการสอน ซึ่งมีแนวปรัชญาต่างๆ มากมาย
- ปรัชญาสารัตถะนิ ยม (Essentialism) เชื่อว่าแต่ละวัฒ นธรรมมีความรู้ ความเชื่อ ทักษะ
อุดมการณ์ที่เป็นแกนกลาง หลักสูตรที่จัดตามแนวนี้ ได้แก่หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา (Subject curriculum)
และแบบสหสัมพันธ์ (Broadfields curriculum)
- ปรัชญาสัจนิยม (Perenialism) เชื่อว่าสิ่งสาคัญที่สุดคือความสามารถในการใช้ความคิด
ความส ามารถใ น ก ารใ ช้ความคิ ด ความส ามารถใ น การใ ช้เห ตุผล การตัดสิ น แยกแ ยะ
และความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้า การจัดหลักสูตรจึงเน้นความสาคัญของวิชาพื้นฐานได้แก่การอ่าน เขียน
และการคิดคานวณ
- ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) เชื่อว่าผู้เรียนจะเรียนรู้ได้โดยอาศัยประสบการณ์
ผู้สอนแบบประสบการณ์หรือกิจกรรม (Experience or activitycurriculum)
- ป รั ช ญ าป ฏิ รู ป นิ ย ม ( Reconstructionism) เน้ น เ รื่ อ ง ชี วิต แ ล ะ สั ง ค ม ไ ด้ แ ก่
ห ลั ก สู ต ร ที่ ยึ ด ห ลัก สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร ด าร ง ชี วิต ( Socialprocess and life function curriculum)
และหลักสูตรแบบแกน (Core curriculum)
- ปรัชญาสวภาพนิยม (Existentialism) เชื่อว่าแต่ละคนกาหนดของชีวิตของตนเองได้แก่
หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (individualized) เน้นการให้เสรีแก่ผู้เรียนมากที่สุด
3.พื้น ฐานจากสังคม (Sociogicalfoundation) หลักสูตรได้รับอิทธิพ ลจากสังคมมากที่สุ ด
ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า โ ร ง เ รี ย น
รากฐานทางสังคมที่มีต่อการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรและการเปลี่ยนแปลงของสังคมก็มีผลทาให้หลักสูตรต้องเ
ปลี่ยนแปลงด้วย
4. พื้ น ฐ า น จ า ก จิ ต วิ ท ย า (Psychologial foundation)
จิตวิทยามีส่วนสาคัญต่อการสร้างหลักสูตรและการสอน โดยเฉพาะจิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการเรียนรู้
4.1 จิ ต วิ ท ย า พั ฒ น า ก า ร
การที่จะช่วยให้แต่ละบุคคลมีพัฒนาการที่เหมาะสมที่ใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนหลักสูตร ได้แก่
พื้น ฐาน ทางชีววิทยาของความแตกต่างระหว่างบุคคล วุฒิภาวะทางกาย พัฒน าการ และ
สัมฤทธิ์ ผลทางสติปัญญา พัฒน าการทางด้านอารมณ์ และ พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งผลการวิจัยของนักทฤษฎีพัฒนาการ Hevighurstdevelopment theory กล่าวว่า งานพัฒนาการแต่ละวัยนั้น
ถ้าหากประสบความสาเร็จในการพัฒนาในงานใด ก็จะทาให้มีความสุขและส่งผลต่อความสาเร็จในงานต่างๆ
ม า ก ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร Erikson’s psychosocialtheory
ที่เชื่อว่าพัฒน าการแต่ละชั้น ถ้าได้รับการส่งเสริมตามต้องการจะเกิดความพึงพอใ จและมั่น ใจ
ส าม า ร ถ พั ฒ น าก า ร ขั้ น ต อ น ต่อ ไ ป ไ ด้ อ ย่าง ส ม บู ร ณ์ เ ป็ น ผ ล ใ ห้ มี บุ ค ลิ ก ภ า พ ดี
แต่ถ้าขั้นใดไม่ได้รับการส่งเสริมจะเกิดความคับข้องใจเกิดความไม่พึงพอใจและเป็นผลเสียต่อบุคลิกภาพ
ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า Cognitive development theory
ที่เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่งถึงวัยที่มีสติปัญญาอย่างสมบูรณ์
4.2 จิ ต วิ ท ย า ก า ร เ รี ย น รู้
ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้เป็นพื้นฐานสาคัญของเนื้อหาหลักสูตรและกิจกรรมการสอน ทฤษฎีที่สาคัญ ได้แก่
- ทฤษฎีที่เน้น การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (S-Rcondition) ได้แก่
ทฤษฎีการเสริมแรง และทฤษฎีเงื่อนไข นักจิตวิทยากลุ่มนี้ได้แก่ Pavlov Thorndike และ Skinner
- ท ฤ ษ ฎี ส น า ม ( Field theory) แ น ว คิ ด ข อ ง ท ฤ ษ ฎี นี้ คื อ
ส่วนรวมทั้งหมดเป็นสิ่งสาคัญมากจะต้องมาก่อนส่วนย่อย ทฤษฎีที่สาคัญของกลุ่มนี้คือ ทฤษฎีพุทธินิยม
และทฤษฎีมนุษย์นิยม
- ท ฤ ษ ฎี ผ ส ม ผ ส า น ( lntegrated theory) มี แ น ว คิ ด พื้ น ฐ าน ที่ ส า คั ญ คื อ
การศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ การผสมผสานระหว่างทฤษฎีเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนองและทฤษฎีสนาม
- ทฤษฎีการเรียนรู้ในโรงเรียนของ Bloom เป็นทฤษฏีที่เน้นพื้นฐานเดิมของผู้เรียน และ
คุณลักษณะของแต่ละคน
5. พื้ น ฐ า น จ า ก วิ ช า ก า ร ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ( Disciplines of knowledge foundations)
ความรู้ของวิทยาการและเทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งความรู้ทางอาชีพ เป็นรากฐานของการเรียนรู้ของผู้เรียน
การสร้างหลักสูตรจึงต้องมุ่งให้ผู้เรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์ (Concept) และวิธีการของวิชานั้นๆ
นักวิทยาการด้านหลักสูตรหลายท่านได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรไว้หลายรูปแ
บ บ แ ต ก ต่ า ง กั น ซึ่ ง รู ป แ ย ก ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร แ ต่ ล ะ รู ป แ บ บ
ไ ม่ว่า เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่ห รื อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร เ ก่า ม า พั ฒ น า
ประกอบด้วยขั้นตอนที่คล้ายคลึงกันพอสรุปเป็ นขั้นตอน (ยุทธนา ปฐมวรชาติ.2545 :15-18 ;Saylor and
Aleylor and Alexander. 1974 : 6) ดั ง นี้ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร
(การกาห น ดจุดป ระ ส ง ค์ขอ งห ลักสู ตร การจัดทารายละ เอี ยด เนื้ อ ห าส าระ ก ารเรี ยน รู้
การกาหนดแนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้กาหนดเวลา(การนาหลักสูตรไปใช้และการประเมินหลักสูตร
Tyler (1949 : 1)
ได้กาหนดกระบวนการวางแผนหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้บังเกิดผลดีต่อผู้
เ รี ย น โ ด ย เ ส น อ แ น ะ ว่า สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ค า นึ ง ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ห ลั ก สู ต ร
อะ ไรคื อจุ ดมุ่ง ห มายข อง การศึ กษ าที่ ต้อ ง การใ ห้ โรง เรี ย น ห รื อ ส ถาน ศึก ษ าป ฏิ บัติ ?
ท าอย่าง ไร จึง จัดป ระ ส บ ก ารณ์ ก ารศึ ก ษ าใ ห้ ส อด ค ล้อ ง กับ จุด ห มาย มุ่ง ก าห น ด ไว้ ?
ทาอย่างไรจึงจะจัดการประเมินประสบการณ์การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ?
Taba ( 1962 : 345-425)
ได้เสนอรูปแบบการวางแผนกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนตามความเชื่อเกี่ย
วกับผู้เรียนที่มีพื้นฐานแตกต่างกันโดยกาหนดกระบวนการวางแผนพัฒนาหลักสูตรไว้ 7 ขั้นตอนดังนี้
1. ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ เ รี ย น
ต้องเริ่มจากการค้นหาความต้องการของผู้เรียนโดยวิเคราะห์ช่องว่าง จุดบกพร่องและหลังของผู้เรียน
2. การกาห น ดจุดมุ่งห มาย หลัง จากวิเคราะ ห์ ห าความต้อง การของ ผู้เรี ยน แล้ว
ผู้วางแผนพัฒนาหลักสูตร ต้องกาหนดจุดมุ่งหมายที่ต้องการ โดยใช้คาว่าเป้าหมายหรือจุดหมาย
3. การเลือกเนื้อหา เนื้อหาที่กาหนดในแต่ละหัวข้อจะต้องมาจากจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ เ นื้ อ ห า ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ใ น แ ต่ ล ะ หั ว ข้ อ
จะต้องตัดสินใจว่าจะจัดลาดับเนื้อหาอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับวุฒิภาวะ ความพร้อม และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
5. ก า ร เ ลื อ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้
ผู้วางแผนหลักสูตรจะต้องเลือกหรือกาหนดวิธีการที่จะทาให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่กาหนดไว้
6. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้
ผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องหาวิธีการที่จัดและเรียงลาดับให้กิจกรรมการเรียนรู้ผสมกลมกลืนกันอย่างมีประสิทธิภา
พ
7.การกาหน ดรู้แบบการประ เมิน ผลและ แน วทาง ใน การปฏิบัติตามจุดมุ่งหมาย
ซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องคานึงถึงการบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น รู้แบบการประเมินที่ดี คือ
การที่ครูผู้สอนใช้เทคนิควิธีการหลายวิธีเหมาะกับผู้เรียน
Stenhouse (1975 :4-5) ได้เสนอหลักการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ 4ประการ ดังนี้
1. ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ( Selec tof cotent)
เป็นการคัดเลือกเนื้อหาสาระที่จะใช้ในการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตร
2. ก า ร ก า ห น ด ยุ ท ธ วิ ธี ก า ร ส อ น ( Teaching strategy)
เป็นการกาหนดว่าจะทาวิธีการสอนด้วยวิธีใดและมีกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยกระบวนการใด
3.การเรียงลาดับเนื้อหา(Makedecisionse about seqence) เป็นการนาเนื้อหาที่กาหนดในหลักสูตร
มาเรียงลาดับก่อนหลังอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้
4.การพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งของผู้เรียนรายบุคคลและหลักการที่กาหนดมาแล้ว (Diagnose the
strengths and weakness of individual students and general principles)
ชูศรี สุวรรณโชติ (2542:97-99) ได้หาแนวคิดกระบวนการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ ดังนี้
1. ก า ร ศึ ก ษ า ปั ญ ห า ห รื อ ก า ห น ด ปั ญ ห า
เป็นขั้นแรกของการวางแผนเพื่อพัฒนาหลักสูตรซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรต้องรู้ถึงสภาพปัญหาและความต้องการของ
สังคมในทุกๆ ด้าน
2. ก า ร ก า ห น ด ข้ อ มู ล เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ปั ญ ห า
เป็ น สิ่ งที่ช่วยใน การวางแผน พัฒน าหลักสู ตรให้เป็ น ไปอย่างรวดเร็วและ ถูกต้องแน่น น อน
ข้อมูลที่กาหนดจะต้องเป็นข้อมูลที่สนองตอบปัญหาที่ได้รับจากการศึกษา
3.การกาหนดสมมุติฐาน การวางแผนพัฒนาหลักสูตรทุกครั้งต้องกาหนดสมมุติฐานไว้เสมอว่า
ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง พั ฒ น า จ ะ บั ง เ กิ ด ผ ล อ ย่ า ง ไ ร ต่ อ ผู้ เ รี ย น
สมมุติฐานของการพัฒนาหลักสูตรจะเป็นทางบวกมากกว่าทางลบ
4.
การกาหนดแนวทางในการดาเนินงานเป็นขั้นตอนที่ต้องกาหนดการพัฒนาหลักสูตรโดยกาหนดกระบวนการตั้ง
แต่ต้นจนสาเร็จลุล่วง ขั้นตอนเหล่านี้ต้องกาหนดเวลาที่แน่นอน
5. ก า ร เ ลื อ ก บุ ค ล า ก ร ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร
ผู้กาหนดแผนต้องกาหนดตัวบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องนั้นเป็นอย่างดี
4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับผู้บริหารแ
ละครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้ครูผู้สอน
อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ
1. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ช า ติ ห รื อ ห ลั ก สู ต ร แ ม่ บ ท ( Nationai level)
เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน
เ พื่ อ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ช า ติ ไ ว้
หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายจึงเน้นเป็นวิชาบังคับให้ทุกคนต้องเรียนการพัฒนา
2.หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิการศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ( Local level)
เป็นการนาเอาหลักสูตรระดับชาติมาใช้พิจารณาถึงลักษณะของท้องถิ่นเพิ่มเติมเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะพิเศษ
ของแต่ละท้องถิ่นและลักษณะของผู้เรียนและเป็นการเรียนรู้ที่นาไปใช้ในชีวิตจริง
3. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ห้ อ ง เ รี ย น ( Classroom level)
สั ง ค ม จ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห รื อ ไ ม่ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ นี้
ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลัก
สูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตามหลักสูตรที่กาหนดไว้
ผู้สอน แต่ละ คน ใน วิช าต่างๆ ก็จะ ทาให้กระบวน การพัฒน าหลักสู ตรเกิดขึ้น ทั้งระบบ คือ
รู้จักจุดมุ่งหมายการสอนเรื่องวิชานั้นๆ ว่ามีความหมายความจาเป็ นต่อผู้เรียนอย่างไร ทาไมจึงต้องสอน
สามารถใช้วิธีการสอน สื่อการสอน หนังสื อเรียน แบบฝึ กหัด สามารถวัดผลและประเมินผล
เพื่อพิจารณาพฤติกรรมของผู้เรียนว่าได้เปลี่ยนแปลงไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่
การพัฒนาหลักสูตร จาเป็ นต้องมีการดาเนิ นงาน เป็ นระเบียบแบบแผน ต่อเนื่ องกัน ไป
การวางแผนจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานนี้จะต้องคานึงถึงจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาหลักสูตรว่า
จ ะ เ ริ่ ม ต้ น ที่ ใ ด ก่ อ น
และดาเนินการอย่างไรจึงจะเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ได้สร้างขึ้นมาใหม่อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าหลักสูตรเ
ดิ ม ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น วิ ธี ก า ร ต่ า ง ๆ
รวมทั้ง ห ลักการและ แน วปฏิบัติเพื่ อให้ การพัฒ น าห ลักสู ตรเป็ น ไป อย่างมีประสิ ท ธิภ าพ
มีก ารฝึ ก อบ รม ค รู ป ระ จาก าร ใ ห้ เข้าใ จใ น ห ลัก สู ตรใ ห ม่รวมทั้ ง ทักษ ะ ใ น ด้าน ต่าง ๆ
แล ะ ต้อง คานึ ง ถึ ง ป ระ โยช น์ ใ น ด้าน ก าร พัฒ น าจิต ใ จแ ละ ทัศ น ค ติ ขอ ง ผู้เรี ย น ด้ว ย
ต้องได้รับความร่วมมือและการประสานงานอย่างดีจากเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในทางด้านทางด้านหลักสูตรทุกๆ
ด้าน
ระดับประถมศึกษา การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้ เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง ชุมชน
และสังคม โดยเชื่อว่าหากพัฒนาตนแล้วรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมสามารถอ่านออก เขียนได้คานวณได้
ซึ่งนับว่าเป็ น ทักษะ ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตในอน าคต ผู้เรียน รู้จักรักและเข้าใจใน ธรรมชาติ
ส า ม า ร ถ สื่ อ ส า ร ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัวและทาความเข้าใจสุขพลานามัยส่วนร่วมแล้ว ย่อมรู้จักรักทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด จิ ต ภ า พ ต่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ร่ ว ม กั น อ ย่า ง เ ป็ น ป ก ติ สุ ข
แ ล ะ ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ใ ห้ เ กิ ด โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า
วิเ ค ร าะ ห์ เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ เส น อ แ น ว ท า ง แ ก้ปั ญ ห า ข อ ง ต น เอ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว
รักการอ่านและแสวงหาความรู้อยู่เสมอทางานร่วมกับคนอื่นได้ไม่เอาเปรียบผู้อื่น รักการทางาน และทางานเป็น
รู้ เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ที่ บ้ า น
สามารถปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของบ้านตลอดจนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรม
ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น
ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ใ น ร ะ ดับ นี้ มุ่ง เน้ น ใ ห้ ผู้เรี ยน ไ ด้รู้จัก รัก แ ล ะ แ ส วง ห าค วาม รู้
กาแน วทางที่เหมาะสมกับตนในการทาประโยชน์ให้แก่สังคม มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญ
เ ข้ า ใ จ ใ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ฐ า น ค ว า ม รู้ ( Knowledge-based society)
และติดตามความเจริญก้าวหน้าวิทยาการต่างๆ รู้จักรักและเอาใจใส่ในสุขภาพของตน บุคคลรอบข้าง
แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ส ริ ม ส ร้ า ง สุ ข ภ า พ อ น า มั ย ส่ ว น ต น แ ล ะ ชุ ม ช น
ทั้งนี้ เพื่อเป็ น การเตรียมความพร้อมพัฒนาการด้าน ต่างๆ สาหรับการเปลี่ยน แปลงของสังคม
ผู้เรียนสามารถเสนอแนะทางเลือกอย่างหลากหลายในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ช่วยเหลือผู้อื่น
ปรับปรุงการปฏิบัติงาน อยู่เสมอ ทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ รักการทางาน และรู้กระบวน การจัดการ
เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สั ง ค ม ใ น ชุ ม ช น
สามารถเสนอแนวทางการพัฒนาชุมชนภูมิใจในการปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีในชุมชน
สิ่งแวดล้อมศาสนาศิลปะ และวัฒนธรรมซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจคุณค่าตนเอง วัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชน
ตลอดจนเกิดความรู้สึกรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย
การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาประโยชน์ให้สังคมตามความสามารถของตน
มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญเฉพ าะด้าน และรอบรู้ทัน ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโน โลยี
ส่งเสริมการอนามัยชุมชนและการสร้างเสริมสุขภาพ วางแนวปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาของสังคมได้
ช่วยเหลือทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ใช้แนวทางและวิธีการใหม่ๆในการปฏิบัติงานอยู่เสมอทางานร่วมกับผู้อื่นได้
รั ก ก า ร ท า ง า น มี เ จ ต ค ติ ที่ ดี ต่ อ อ า ชี พ สุ จ ริ ต
เข้าใจสภาพและการเปลี่ยนแปลงของสังคมในประเทศและโลกมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศและเข้าใจร่วมกิจกร
รมการพัฒนาสังคมตามบทบาทหน้าที่ของตนตลอดจนอนุรักษ์และส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรมของประเทศ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นตามแนวทางประชาธิปไตย
ก า ร ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ ส อ น เ กิ ด ค ว า ม ช า น า ญ
และมั่นใจในการใช้หรือพัฒนาหลักสูตรนั้นควรจะมีบริการช่วยผู้สอนให้คาปรึกษาหรือวิธีสอนในการจัดบริกา
รหลักสูตรนี้ ซึ่งจะช่วยผู้สอนในการพัฒนาหลักสูตรในการนาหลักสูตรไปใช้โดยเป็นไปอย่างมีเหตุผล
การพัฒนาหลักสูตรจะเกิดขึ้นเมื่อมีวิทยาการต่างๆ ของสังคมและของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบาย
ปรัชญา และแนวทางการพัฒนาการศึกษา
สรุป(Summary)
ก ารพั ฒ น า ห ลัก สู ต รเป็ น ก า รป รับ ป รุ ง แ ก้ไ ข ห รื อ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร
ในการพัฒนาหลักสูตรนั้นต้องคานึงถึงสังคม ปรัชญาการศึกษา และผู้เรียน ตลอดจนกระบวนการเรียนรู้
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาหลักสูตรจะต้องประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายร่วมมือร่วมใจกันนับแต่นักการศึกษา
นั ก วิ ช า ก า ร นั ก วิ จั ย ผู้ บ ริ ห า ร ค รู ผู้ ส อ น นั ก เ รี ย น ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น
และนักพัฒนาหลักสูตรที่จะให้การหลักสูตรดาเนินไปจนบรรลุผลสูงสุด
ทฤษฎีหลักสูตรที่ได้มาจากศาสตร์สาขาต่างๆ ได้ถูกรวบรวมเป็นองค์รวมเป็นชุดของหลักการต่างๆ เพื่อ
อธิบายเหตุผลการได้มาขององค์ความรู้ การรักษาไว้และการเรียกใช้องค์ความรู้ในแต่ละบุคคลได้อย่างไร
ทฤษฎีหลักสูตรเปิดโอกาสให้นักพัฒนาหลักสูตรกาหนดเบ้าหลอมผู้เรียนและกาหนดคาทานายเกี่ยวกับผลการเรี
ยน รู้ สิ่ ง เห ล่านี้ ส ามารถเป็ น แน วท างช่วยใ ห้ สามารถพัฒ น าห ลักสู ตร การน าหลักวิช า
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เทคนิค และวิธีการต่างๆ วิธีการที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้
และทาให้นักเรียนบรรลุตามจุดประสงค์ในรายวิชาอย่างมีประสิทธิภาพโดยสมบูรณ์
ตรวจสอบทบทวน(Self-Test)
1. ทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
2. ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ น แ ง่ ข อ ง ป รั ช ญ า
ปรัชญาใดที่สมควรนามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศต
วรรษที่ 21ด้วยเหตุผลใด
กิจกรรม(Activity)
1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง นิยาม ความหมาย :ทฤษฎี
ทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจาก สุเทพ อ่วมเจริญ การพัฒนาหลักสูตร : ทฤษฎีและการปฏิบัติ
“การพัฒนาหลักสูตร :ทฤษฎีหลักสูตร”
3. แลกเปลี่ยนแนวคิดกับเพื่อนนักศึกษา หรือผู้รู้เกี่ยวกับ ทฤษฎีทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร
และการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอนในสาขาวิชาเอกดังกล่าว

More Related Content

Similar to บทที่ 2

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6kanwan0429
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6kanwan0429
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444gam030
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6benty2443
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nattawad147
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6wanneemayss
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 

Similar to บทที่ 2 (20)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
E4
E4E4
E4
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 

More from wanichaya kingchaikerd

มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
มาตรฐานการประกอบวิชาชีพมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
มาตรฐานการประกอบวิชาชีพwanichaya kingchaikerd
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 

More from wanichaya kingchaikerd (20)

บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 
มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
มาตรฐานการประกอบวิชาชีพมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่11
บทที่11บทที่11
บทที่11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 ทฤษฎีหลักสูตร มโนทัศน์(Concept) ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น 2 ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ๆ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร(curriculum design) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร(curriculum engineering) ซึ่งเป็นสาขาวิชาย่อยของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ โดยสาขาวิชาศึกษาศาสตร์มีที่มาจากการจัดกลุ่มความรู้ 3 กลุ่มหลัก คือ 1.วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (thenaturalsciences) 2.สังคมศาสตร์ (the socialsciences) และ 3. มนุษย์ศาสตร์ (the humanities) โดยที่สาขาวิชาต่าง ๆ มีที่มาจากความรู้ทั้งสามกลุ่ม อาทิ แพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ รวมถึงศึกษาศาสตร์ เป็นต้น ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับทฤษฎีหลักสูตร 2. สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สาระเนื้อหา(Content) ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ร า ก ฐ า น ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ สั ง ค ม ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ก าร เรี ย น ก าร ส อ น ที่ เห มาะ ส มกับ ค ว ามต้อ ง ก ารข อ ง ผู้เรี ย น สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ได้ในชีวิตของผู้เรียนและสามารถนาความรู้ที่ได้รับนั้นไปทาประโยชน์ในด้านต่างๆ ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี ซึ่ ง ห ลั ก สู ต ร จั ด เ ป็ น หั ว ใ จ ห ลั ก ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ศึ ก ษ า มีการผสมผสานมโนทัศน์ความคิดรวมยอดเกี่ยวกับแนวทางและความเป็นไปได้ของการจัดการศึกษาที่มีระบบ และได้นาทฤษฎีทางการศึกษามาปรับประยุกต์ใช้ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการศึกษา ซึ่ งจะ สะ ท้อน คุณ ค่าของการพัฒ น าทรัพ ยากรมนุ ษย์ใ น แต่ละ สังคมด้วยท ฤษฎี หลักสู ตร
  • 2. เนื้อหาสาระใน บทนี้ กล่าวถึงทฤษฎีหลักสู ตร การสร้างทฤษฎีหลักสู ตร การพัฒน าหลักสูตร หลักการพัฒนาหลักสูตร การวางแผนพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการพัฒนาหลักสูตร 1. ทฤษฎีหลักสูตร ท ฤ ษ ฎี ต่า ง ๆ เ กิ ด จ าก ข้ อ เท็ จ จ ริ ง ซึ่ ง ค้ น พ บ ไ ด้ จ า ก ก าร ใ ช้ ก า ร พิ สู จ น์ และการใช้ข้อสรุปจากกฎที่ตั้งไว้จากการสังเกต มิใช่อาศัยเหตุและผลและนามาสรุปไว้เป็นกฎและหลักการ ทฤษฎีเกี่ยวกับการสังเคราะห์และน าไปสู้การสร้างกฎที่ใช้ได้ทั่วไป มีความเป็ นสากล (Universal) สามารถพิสูจน์ทดลองได้ (Testable) และมีส่วนประกอบ (Element) ที่เหมือนกัน ทฤษฎีทาหน้าที่ อธิบาย แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย เพื่ อ เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ด า เนิ น ง าน ที่ มี ร ะ เ บี ย บ แ บ บ แ ผ น น า ไ ป สู่ ก า ร ค า ด ค ะ เ น ข้ อ มู ล ไ ด้ โ ด ย อิ ง ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ และนาไปสู้การยืนยันว่าทฤษฎีที่ตั้งขึ้นมีความถูกต้องและน่าจะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด Smith and others (1957) มีความเชื่อ ว่าท ฤษ ฎี ห ลัก สู ต รจะ ช่วยส ร้าง และ ใ ห้ เห ตุผล ที่ส นั บ ส นุ น ท าง ก ารศึก ษ า เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ลื อ ก แ ล ะ จั ด ห า เ นื้ อ ห า ที่ ต่ า ง กั น ข อ ง ผู้ เ รี ย น นั ก พัฒ น าห ลัก สู ตร จึง ได้น าท ฤ ษ ฎี ห ลัก สู ต รมาใ ช้โด ยการผ ส มผส าน ท ฤ ษ ฎี ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามาไว้ด้วยกัน กาห น ดขึ้น เพื่อการน ามาใช้ในการพัฒน าหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตรจึงเป็นการพิจารณาความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ที่สามารถนามาปรับใช้การวางแผนและ พัฒนาหลักสูตร รวมถึงการจัดและแยกประเภทของเหตุการณ์ต่างๆ และโยงความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ พิ จ าร ณ า โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ เ นื้ อ ห าวิช าที่ เห ม า ะ ส ม น าม า บ ร ร จุ ไ ว้ใ น ห ลัก สู ต ร คานึงถึงความสอดคล้องตามสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งในส่วนของผู้เรียนและในส่วนของสังคม (Kelly.1995) Beauchamp (1981) ไ ด้ ส รุ ป ว่ า ท ฤ ษ ฎี เป็ น ข้ อ ค วา ม ที่ ช่ว ย ข ย าย ข อ บ เข ต ค ว า ม รู้ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ ห้ ก ว้าง ข ว า ง ยิ่ ง ขึ้ น เป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ซึ่ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ท า น า ย แ ล ะ ค า ด ก า ร ณ์ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ที่ ยั ง ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ห รื อป้ อง กัน แ ก้ไข เพื่ อ ป ระ โย ช น์ สุ ข ข อง มวล มนุ ษ ย์ช าติ ใ น ที่ สุ ดท ฤษ ฎี ห ลักสู ต ร จึง เป็ น ก าร ผ ส มผ ส า น ข้อ ค ว ามเพื่ อ ใ ห้ ค วา มห ม าย ซึ่ ง น าไ ป ป ฏิ บั ติ ใ น โ ร ง เรี ย น โดยการชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและการชี้แนะให้เห็นวิธีการพัฒนา
  • 3. ทฤษฎีหลักสู ตรเป็ น คาอธิบายสิ่ งต่างๆ เกี่ยวกับการใช้หลักสู ตร การสร้างห ลักสูตร ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก ารน าผ ล ที่ ไ ด้รั บ จ าก ก าร ป ร ะ เมิน ผ ล มาป รับ ป รุ ง แ ก้ไข ห ลัก สู ต ร (Kelly.2009) โดยเน้นการบรรยายถึงสิ่งต่างๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างจุดมุ่งหมายกับเนื้อหาวิชา ระหว่างเนื้อหาวิชาและโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมด ปรัชญาต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการวางจุดมุ่งหมาย สภ าพ ความจริ ง ใ น สั ง ค ม แล ะ บ ท บ าท ขอ ง การศึ กษ าใ น สั ง ค ม (Gardner and others.2000) โดยสภาพความจริงแล้วทฤษฎีและปฏิบัติมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดทฤษฎีจะอธิบายให้เข้าใจ ถึงความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งการปฏิบัติจะดาเนินการอยู่ภายในขอบเขตของทฤษฎีที่กล่าวไว้ ก ล่าวอี ก นั ย ห นึ่ ง ก็คื อ ท ฤ ษ ฎี จะ เป็ น สิ่ ง ที่ ก าห น ด แ น ว ท าง ข อ ง ก าร ป ฏิ บั ติ นั้ น เอ ง โดยเหตุนี้ทฤษฎีจึงเป็นของคู่กันและจะต้องไปด้วยกันในการสนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุความสาเร็จตามเ ป้าหมาย 2. การสร้างทฤษฎีหลักสูตร Beauchamp (1981:77) ไ ด้ เส น อ ว่า ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก สู ต ร แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ลั ก ษ ณ ะ คือทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร (Design theories) และทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร (Engineering theories) 2.1 ทฤษฎีการออกแบบหลักสูตร ก า ร อ อ ก แ บ บ ห ลั ก สู ต ร (Curriculum design) ห ม า ย ถึ ง การจัดส่วน ประกอบหรื อองค์ประ กอบของห ลักสู ตรซึ่ งได้แก่ จุดมุ่งหมาย เนื้ อหา สาระ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล (Zais.1976:16) Herrick and Tyler (1950:41) ได้เสนอแผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตรดังภาพ 4.1 จุดประสงค์ เนื้อหาวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล ภาพประกอบ 1ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของหลักสูตร
  • 4. Taba (1962:422) มี ค ว า ม เห็ น ว่า ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ที่ จ ะ ข า ด เ สี ย มิได้ก็คือจุดมุ่งหมายทั่วไปและจุดมุ่งหมายเฉพาะเนื้อหาสาระและประสบการณ์การเรียนรู้และการประเมินผล Beauchamp(1975:107-109) ได้สรุปองค์ประกอบสาคัญซึ่งจะต้องเขียนไว้ในเอกสารหลักสูตร 4 ป ร ะ ก า ร คื อ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ แ ล ะ วิ ธี ก า ร จั ด จุดมุ่งห มายทั่วไปและจุดมุ่งห มายเฉพ าะแนวทางการน าหลักสูตรไปใช้สู่การเรียน การสอน และการประเมินผลซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญยิ่งสาหรับหลักสูตร Zais(1976:431-437) ได้สรุปว่าการออกแบบหลักสูตร ประกอบด้วยแนวคิดหลักสูตร 2 แบบคือ หลักสูตรแห่งความหลุดพ้น (Unencapsulationdesign) และหลักสูตรมนุษยนิยม (Humanistic design) หลักสูตรแห่งความหลุดพ้นมีความเชื่อว่าคนเราจะมีความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ 4 ทางได้แก่ความมีเหตุผล (Rationalism) จะนาไปสู่การค้นพบความจริงการสังเกต (Empiricism) รับรู้จากการมอง การได้กลิ่น ก า ร ไ ด้ ยิ น ก า ร ไ ด้ สั ม ผั ส ฯ ล ฯ สั ญ ช า ต ญ า ณ (Intuition) ความรู้สึ กต่อสิ่ งห นึ่ ง โดยมิได้มีใครบอกกล่าวก็เป็ น วิธีห นึ่ ง ที่มนุ ษ ย์มีความรู้ใน สิ่ งต่าง ๆ แ ล ะ ค ว า ม เชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ มี อ า น าจ (Authoritarianism) เ ช่น ค ว า ม เชื่ อ ใ น ท า ง ศ าส น า ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น สิ่ ง ที่ ป ร า ช ญ์ ผู้ รู้ ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว้ เ ป็ น ต้ น ส่วนหลักสูตรมนุษยนิยมก็มีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรเพื่อความหลุดพ้นแต่การจัดหลักสูตรแบบนี้จะมุ่งเน้นเนื้ อหา สาระมากกว่ากระบวนการการจัดหลักสูตรจึงยึดเนื้อหาสาระของวิชาเป็นศูนย์กลาง 2.2 ทฤษฎีวิศวกรรมหลักสูตร วิ ศ ว ก ร ร ม ห ลั ก สู ต ร (Curriculum engineering) หมายถึงกระบวน การทุกอย่างที่จาเป็ น ใน การทาให้ระบบห ลักสู ตรเกิดขึ้น ในโรงเรียนได้แก่ ก า ร ส ร้ า ง ห รื อ จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร และการประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรและการประเมินระบบหลักสูตร ( Beauchamp.1975:108) หลักสูตรที่มีคุณภาพและสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ถึงผู้เรียนได้มากที่สุดนั้นมีอยู่หลายรูปแบบได้แก่ รูปแบบการบริห าร รูปแบบ การปฏิบัติการ รูปแบ บการสาธิ ต รู ปแบบการวิจัยเชิง ปฏิบัติ และรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานสาหรับการกาหนดหลักสูตร ทฤษฎีหลักสู ตรจะ ช่วยใน การบ ริหารงาน เกี่ยวกับหลักสู ตรมี หลักเกณฑ์ หลักการ และระบบมากยิ่งขึ้น เช่น การสร้างหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตร และการประเมินหลักสูตรการจัดบุคลากร เกี่ยวกับหลักสูตร การทาให้องค์ประกอบของหลักสูตรที่จะนาไปใช้ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
  • 5. 3. การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวข้องกับการพิจารณาและการกาหนดเป้าหมายว่าหลักสูตรที่จัดทานั้นมีเป้าหม ายเพื่ออะไร ทั้งโดยส่วนรวมและส่วนย่อยของหลักสูตรนั้นๆ อย่างชัดเจน การคัดเลือกกิจกรรม วัสดุประกอบการเรียน การสอน การเลือกสรรเนื้อหาสาระ กิจกรรมทั้งในทั้งนอก ห้องเรียน การกาหนดระบบการจัดวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนที่เหมาะสมแต่ละวิชาและแต่ละชั้นเรียน การพัฒนาหลักสูตรเป็ น กระบวน การหรือขั้นตอน ของการตัดสิ นใจเลือกห าทางเลือก การเรียนการสอนที่เหมาะสมหรือเป็นทางเลือกที่เหมาะสมต่างๆ เข้าด้วยกันจนเป็นระบบที่สามารถปฏิบัติได้ นักพัฒนาหลักสูตรต้องคานึงถึงภูมิหลักขององค์ประกอบต่างๆ อย่างละเอียด และรอบคอบก่อน ตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ ง และเมื่อตัดสินใจเลือกแล้วก็ต้องคานึงถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ซึ่ ง จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ สิ่ ง อื่ น ๆ การพัฒ น าห ลักสู ตรมีข้อควรคานึ ง ห ลายประ การที่นั กพัฒ น าห ลักสู ตรต้ อง ห าคาตอ บ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจจัดทาหลักสูตร Tyler (1949) ได้กล่าวถึงแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้ 1. จุดมุ่งหมายการศึกษาของโรงเรียน คืออะไร? 2.การที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษาของโรงเรียนนั้น ต้องใช้ประสบการณ์การศึกษาอะไร? 3. ประสบการณ์การศึกษาดังกล่าวจะจัดอย่างไร? 4. คุณภาพของหลักสูตรได้มาอย่างไร? ส า ร า ญ ค ง ช ะ วั น ( 2456: 13-14) ได้สรุปว่าการพัฒนาหลักสูตรเป็ นกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน การเลือกจุดมุ่งหมายเนื้อหาวิชากิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดผลประเมินผล เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดต่อผู้เรียน (Marsh and Willis. 1995:129) ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ ร ะ ย ะ เว ล า ซึ่งต้องดาเนินการให้เป็นไปตามความหมายเหมาะสมโดยอาจปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ห รื อ ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ขึ้ น ม า ใ ห ม่โ ด ย ที่ ยัง ไ ม่เ ค ย มี ห ลั ก สู ต ร นั้ น ม า ก่อ น ก็ ไ ด้ ซึ่งผู้พัฒนาสามารถดาเนิ นการได้ทุกระยะเวลา และต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามความเหมาะสม และกระบวนการวางแผนและพัฒนาประสบการณ์ในการเรียนรู้จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียน บุ ญ ช ม ศ รี ส ะ อ า ด ( 2546: 21-46) ได้กล่าวถึงแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาหลักสูตรว่าต้องอาศัยพื้นฐานที่สาคัญ 5ประการ ดังนี้
  • 6. 1.พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ (Historicalfoundation) อิทธิพลขอพื้นฐานดังกล่าวมี 2 ลักษณะ - ห ลั ก สู ต ร ที่ พั ฒ น า มี ค ว า ม รู้ ผ ล ก า ร ค้ น พ บ และแนวปฏิบัติที่เคยมีมาในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร - ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการจัดการศึกษาในอดีตเป็นบทเรียนในการสร้างหลักสูตรใหม่ 2. พื้น ฐาน ทางปรัช ญา (Philosophicalfoundation) ปรัช ญามีส่วน ใ น การสร้างหลักสู ตร เนื่องจากปรัชญามีส่วนในการช่วยกาหนดจุดประสงค์และการจัดการสอน ซึ่งมีแนวปรัชญาต่างๆ มากมาย - ปรัชญาสารัตถะนิ ยม (Essentialism) เชื่อว่าแต่ละวัฒ นธรรมมีความรู้ ความเชื่อ ทักษะ อุดมการณ์ที่เป็นแกนกลาง หลักสูตรที่จัดตามแนวนี้ ได้แก่หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา (Subject curriculum) และแบบสหสัมพันธ์ (Broadfields curriculum) - ปรัชญาสัจนิยม (Perenialism) เชื่อว่าสิ่งสาคัญที่สุดคือความสามารถในการใช้ความคิด ความส ามารถใ น ก ารใ ช้ความคิ ด ความส ามารถใ น การใ ช้เห ตุผล การตัดสิ น แยกแ ยะ และความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้า การจัดหลักสูตรจึงเน้นความสาคัญของวิชาพื้นฐานได้แก่การอ่าน เขียน และการคิดคานวณ - ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) เชื่อว่าผู้เรียนจะเรียนรู้ได้โดยอาศัยประสบการณ์ ผู้สอนแบบประสบการณ์หรือกิจกรรม (Experience or activitycurriculum) - ป รั ช ญ าป ฏิ รู ป นิ ย ม ( Reconstructionism) เน้ น เ รื่ อ ง ชี วิต แ ล ะ สั ง ค ม ไ ด้ แ ก่ ห ลั ก สู ต ร ที่ ยึ ด ห ลัก สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร ด าร ง ชี วิต ( Socialprocess and life function curriculum) และหลักสูตรแบบแกน (Core curriculum) - ปรัชญาสวภาพนิยม (Existentialism) เชื่อว่าแต่ละคนกาหนดของชีวิตของตนเองได้แก่ หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (individualized) เน้นการให้เสรีแก่ผู้เรียนมากที่สุด 3.พื้น ฐานจากสังคม (Sociogicalfoundation) หลักสูตรได้รับอิทธิพ ลจากสังคมมากที่สุ ด ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า โ ร ง เ รี ย น รากฐานทางสังคมที่มีต่อการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรและการเปลี่ยนแปลงของสังคมก็มีผลทาให้หลักสูตรต้องเ ปลี่ยนแปลงด้วย 4. พื้ น ฐ า น จ า ก จิ ต วิ ท ย า (Psychologial foundation) จิตวิทยามีส่วนสาคัญต่อการสร้างหลักสูตรและการสอน โดยเฉพาะจิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยาการเรียนรู้
  • 7. 4.1 จิ ต วิ ท ย า พั ฒ น า ก า ร การที่จะช่วยให้แต่ละบุคคลมีพัฒนาการที่เหมาะสมที่ใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนหลักสูตร ได้แก่ พื้น ฐาน ทางชีววิทยาของความแตกต่างระหว่างบุคคล วุฒิภาวะทางกาย พัฒน าการ และ สัมฤทธิ์ ผลทางสติปัญญา พัฒน าการทางด้านอารมณ์ และ พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งผลการวิจัยของนักทฤษฎีพัฒนาการ Hevighurstdevelopment theory กล่าวว่า งานพัฒนาการแต่ละวัยนั้น ถ้าหากประสบความสาเร็จในการพัฒนาในงานใด ก็จะทาให้มีความสุขและส่งผลต่อความสาเร็จในงานต่างๆ ม า ก ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร Erikson’s psychosocialtheory ที่เชื่อว่าพัฒน าการแต่ละชั้น ถ้าได้รับการส่งเสริมตามต้องการจะเกิดความพึงพอใ จและมั่น ใจ ส าม า ร ถ พั ฒ น าก า ร ขั้ น ต อ น ต่อ ไ ป ไ ด้ อ ย่าง ส ม บู ร ณ์ เ ป็ น ผ ล ใ ห้ มี บุ ค ลิ ก ภ า พ ดี แต่ถ้าขั้นใดไม่ได้รับการส่งเสริมจะเกิดความคับข้องใจเกิดความไม่พึงพอใจและเป็นผลเสียต่อบุคลิกภาพ ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า Cognitive development theory ที่เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่งถึงวัยที่มีสติปัญญาอย่างสมบูรณ์ 4.2 จิ ต วิ ท ย า ก า ร เ รี ย น รู้ ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้เป็นพื้นฐานสาคัญของเนื้อหาหลักสูตรและกิจกรรมการสอน ทฤษฎีที่สาคัญ ได้แก่ - ทฤษฎีที่เน้น การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง (S-Rcondition) ได้แก่ ทฤษฎีการเสริมแรง และทฤษฎีเงื่อนไข นักจิตวิทยากลุ่มนี้ได้แก่ Pavlov Thorndike และ Skinner - ท ฤ ษ ฎี ส น า ม ( Field theory) แ น ว คิ ด ข อ ง ท ฤ ษ ฎี นี้ คื อ ส่วนรวมทั้งหมดเป็นสิ่งสาคัญมากจะต้องมาก่อนส่วนย่อย ทฤษฎีที่สาคัญของกลุ่มนี้คือ ทฤษฎีพุทธินิยม และทฤษฎีมนุษย์นิยม - ท ฤ ษ ฎี ผ ส ม ผ ส า น ( lntegrated theory) มี แ น ว คิ ด พื้ น ฐ าน ที่ ส า คั ญ คื อ การศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ การผสมผสานระหว่างทฤษฎีเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนองและทฤษฎีสนาม - ทฤษฎีการเรียนรู้ในโรงเรียนของ Bloom เป็นทฤษฏีที่เน้นพื้นฐานเดิมของผู้เรียน และ คุณลักษณะของแต่ละคน 5. พื้ น ฐ า น จ า ก วิ ช า ก า ร ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ( Disciplines of knowledge foundations) ความรู้ของวิทยาการและเทคโนโลยีต่างๆ รวมทั้งความรู้ทางอาชีพ เป็นรากฐานของการเรียนรู้ของผู้เรียน การสร้างหลักสูตรจึงต้องมุ่งให้ผู้เรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์ (Concept) และวิธีการของวิชานั้นๆ นักวิทยาการด้านหลักสูตรหลายท่านได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรไว้หลายรูปแ บ บ แ ต ก ต่ า ง กั น ซึ่ ง รู ป แ ย ก ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร แ ต่ ล ะ รู ป แ บ บ ไ ม่ว่า เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่ห รื อ ก า ร น า ห ลั ก สู ต ร เ ก่า ม า พั ฒ น า
  • 8. ประกอบด้วยขั้นตอนที่คล้ายคลึงกันพอสรุปเป็ นขั้นตอน (ยุทธนา ปฐมวรชาติ.2545 :15-18 ;Saylor and Aleylor and Alexander. 1974 : 6) ดั ง นี้ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร (การกาห น ดจุดป ระ ส ง ค์ขอ งห ลักสู ตร การจัดทารายละ เอี ยด เนื้ อ ห าส าระ ก ารเรี ยน รู้ การกาหนดแนวทางการจัดประสบการณ์เรียนรู้กาหนดเวลา(การนาหลักสูตรไปใช้และการประเมินหลักสูตร Tyler (1949 : 1) ได้กาหนดกระบวนการวางแผนหลักสูตรและให้ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้บังเกิดผลดีต่อผู้ เ รี ย น โ ด ย เ ส น อ แ น ะ ว่า สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ค า นึ ง ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ห ลั ก สู ต ร อะ ไรคื อจุ ดมุ่ง ห มายข อง การศึ กษ าที่ ต้อ ง การใ ห้ โรง เรี ย น ห รื อ ส ถาน ศึก ษ าป ฏิ บัติ ? ท าอย่าง ไร จึง จัดป ระ ส บ ก ารณ์ ก ารศึ ก ษ าใ ห้ ส อด ค ล้อ ง กับ จุด ห มาย มุ่ง ก าห น ด ไว้ ? ทาอย่างไรจึงจะจัดการประเมินประสบการณ์การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ? Taba ( 1962 : 345-425) ได้เสนอรูปแบบการวางแผนกระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนตามความเชื่อเกี่ย วกับผู้เรียนที่มีพื้นฐานแตกต่างกันโดยกาหนดกระบวนการวางแผนพัฒนาหลักสูตรไว้ 7 ขั้นตอนดังนี้ 1. ก า ร วิ นิ จ ฉั ย ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ เ รี ย น ต้องเริ่มจากการค้นหาความต้องการของผู้เรียนโดยวิเคราะห์ช่องว่าง จุดบกพร่องและหลังของผู้เรียน 2. การกาห น ดจุดมุ่งห มาย หลัง จากวิเคราะ ห์ ห าความต้อง การของ ผู้เรี ยน แล้ว ผู้วางแผนพัฒนาหลักสูตร ต้องกาหนดจุดมุ่งหมายที่ต้องการ โดยใช้คาว่าเป้าหมายหรือจุดหมาย 3. การเลือกเนื้อหา เนื้อหาที่กาหนดในแต่ละหัวข้อจะต้องมาจากจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ 4. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ เ นื้ อ ห า ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ใ น แ ต่ ล ะ หั ว ข้ อ จะต้องตัดสินใจว่าจะจัดลาดับเนื้อหาอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับวุฒิภาวะ ความพร้อม และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน 5. ก า ร เ ลื อ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ ผู้วางแผนหลักสูตรจะต้องเลือกหรือกาหนดวิธีการที่จะทาให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่กาหนดไว้ 6. ก า ร เ รี ย ง ล า ดั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ ผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องหาวิธีการที่จัดและเรียงลาดับให้กิจกรรมการเรียนรู้ผสมกลมกลืนกันอย่างมีประสิทธิภา พ 7.การกาหน ดรู้แบบการประ เมิน ผลและ แน วทาง ใน การปฏิบัติตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องคานึงถึงการบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น รู้แบบการประเมินที่ดี คือ การที่ครูผู้สอนใช้เทคนิควิธีการหลายวิธีเหมาะกับผู้เรียน Stenhouse (1975 :4-5) ได้เสนอหลักการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ 4ประการ ดังนี้
  • 9. 1. ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า ( Selec tof cotent) เป็นการคัดเลือกเนื้อหาสาระที่จะใช้ในการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตร 2. ก า ร ก า ห น ด ยุ ท ธ วิ ธี ก า ร ส อ น ( Teaching strategy) เป็นการกาหนดว่าจะทาวิธีการสอนด้วยวิธีใดและมีกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยกระบวนการใด 3.การเรียงลาดับเนื้อหา(Makedecisionse about seqence) เป็นการนาเนื้อหาที่กาหนดในหลักสูตร มาเรียงลาดับก่อนหลังอย่างเหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ 4.การพิจารณาจุดอ่อนจุดแข็งของผู้เรียนรายบุคคลและหลักการที่กาหนดมาแล้ว (Diagnose the strengths and weakness of individual students and general principles) ชูศรี สุวรรณโชติ (2542:97-99) ได้หาแนวคิดกระบวนการวางแผนการพัฒนาหลักสูตรไว้ ดังนี้ 1. ก า ร ศึ ก ษ า ปั ญ ห า ห รื อ ก า ห น ด ปั ญ ห า เป็นขั้นแรกของการวางแผนเพื่อพัฒนาหลักสูตรซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรต้องรู้ถึงสภาพปัญหาและความต้องการของ สังคมในทุกๆ ด้าน 2. ก า ร ก า ห น ด ข้ อ มู ล เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ปั ญ ห า เป็ น สิ่ งที่ช่วยใน การวางแผน พัฒน าหลักสู ตรให้เป็ น ไปอย่างรวดเร็วและ ถูกต้องแน่น น อน ข้อมูลที่กาหนดจะต้องเป็นข้อมูลที่สนองตอบปัญหาที่ได้รับจากการศึกษา 3.การกาหนดสมมุติฐาน การวางแผนพัฒนาหลักสูตรทุกครั้งต้องกาหนดสมมุติฐานไว้เสมอว่า ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง พั ฒ น า จ ะ บั ง เ กิ ด ผ ล อ ย่ า ง ไ ร ต่ อ ผู้ เ รี ย น สมมุติฐานของการพัฒนาหลักสูตรจะเป็นทางบวกมากกว่าทางลบ 4. การกาหนดแนวทางในการดาเนินงานเป็นขั้นตอนที่ต้องกาหนดการพัฒนาหลักสูตรโดยกาหนดกระบวนการตั้ง แต่ต้นจนสาเร็จลุล่วง ขั้นตอนเหล่านี้ต้องกาหนดเวลาที่แน่นอน 5. ก า ร เ ลื อ ก บุ ค ล า ก ร ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ผู้กาหนดแผนต้องกาหนดตัวบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องนั้นเป็นอย่างดี 4. การพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอนจะดาเนินไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับผู้บริหารแ ละครูผู้สอนจะต้องรู้ถึงหลักการของหลักสูตรและวิธีใช้ ด้วยการรู้หลักการจะช่วยให้ครูผู้สอน อ่านหลักสูตรได้เข้าใจและดียิ่งขึ้นหลักสูตรแบ่งตามแบบต่างๆ 1. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ช า ติ ห รื อ ห ลั ก สู ต ร แ ม่ บ ท ( Nationai level) เป็นหลักสูตรแกนที่เขียนไว้กว้างและบรรจุสาระที่จาเป็นต่อทุกคนในประเทศที่จะต้องเรียนรู้เหมือนกัน
  • 10. เ พื่ อ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ช า ติ ไ ว้ หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายจึงเน้นเป็นวิชาบังคับให้ทุกคนต้องเรียนการพัฒนา 2.หลักสูตรระดับชาติมีหน่วยงานที่พัฒนาหลักสูตร คือ สูตรพัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการศูนย์นี้มีหน้าที่ประสานงานในการบรับปรุงหลักสูตรทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ( Local level) เป็นการนาเอาหลักสูตรระดับชาติมาใช้พิจารณาถึงลักษณะของท้องถิ่นเพิ่มเติมเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะพิเศษ ของแต่ละท้องถิ่นและลักษณะของผู้เรียนและเป็นการเรียนรู้ที่นาไปใช้ในชีวิตจริง 3. ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ห้ อ ง เ รี ย น ( Classroom level) สั ง ค ม จ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห รื อ ไ ม่ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ นี้ ผู้สอนส่วนมากมักเข้าใจผิดมักคิดว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรแต่จริงแล้วผู้สอนนาเอาหลัก สูตรระดับชาติและระดับท้องถิ่นมาใช้ให้เหมาะสมและบรรลุจุดมุ่งหมายตามหลักสูตรที่กาหนดไว้ ผู้สอน แต่ละ คน ใน วิช าต่างๆ ก็จะ ทาให้กระบวน การพัฒน าหลักสู ตรเกิดขึ้น ทั้งระบบ คือ รู้จักจุดมุ่งหมายการสอนเรื่องวิชานั้นๆ ว่ามีความหมายความจาเป็ นต่อผู้เรียนอย่างไร ทาไมจึงต้องสอน สามารถใช้วิธีการสอน สื่อการสอน หนังสื อเรียน แบบฝึ กหัด สามารถวัดผลและประเมินผล เพื่อพิจารณาพฤติกรรมของผู้เรียนว่าได้เปลี่ยนแปลงไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ การพัฒนาหลักสูตร จาเป็ นต้องมีการดาเนิ นงาน เป็ นระเบียบแบบแผน ต่อเนื่ องกัน ไป การวางแผนจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานนี้จะต้องคานึงถึงจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาหลักสูตรว่า จ ะ เ ริ่ ม ต้ น ที่ ใ ด ก่ อ น และดาเนินการอย่างไรจึงจะเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ได้สร้างขึ้นมาใหม่อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าหลักสูตรเ ดิ ม ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น วิ ธี ก า ร ต่ า ง ๆ รวมทั้ง ห ลักการและ แน วปฏิบัติเพื่ อให้ การพัฒ น าห ลักสู ตรเป็ น ไป อย่างมีประสิ ท ธิภ าพ มีก ารฝึ ก อบ รม ค รู ป ระ จาก าร ใ ห้ เข้าใ จใ น ห ลัก สู ตรใ ห ม่รวมทั้ ง ทักษ ะ ใ น ด้าน ต่าง ๆ แล ะ ต้อง คานึ ง ถึ ง ป ระ โยช น์ ใ น ด้าน ก าร พัฒ น าจิต ใ จแ ละ ทัศ น ค ติ ขอ ง ผู้เรี ย น ด้ว ย ต้องได้รับความร่วมมือและการประสานงานอย่างดีจากเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในทางด้านทางด้านหลักสูตรทุกๆ ด้าน ระดับประถมศึกษา การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้ เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง ชุมชน และสังคม โดยเชื่อว่าหากพัฒนาตนแล้วรู้ทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมสามารถอ่านออก เขียนได้คานวณได้ ซึ่งนับว่าเป็ น ทักษะ ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตในอน าคต ผู้เรียน รู้จักรักและเข้าใจใน ธรรมชาติ ส า ม า ร ถ สื่ อ ส า ร ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
  • 11. รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัวและทาความเข้าใจสุขพลานามัยส่วนร่วมแล้ว ย่อมรู้จักรักทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด จิ ต ภ า พ ต่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ร่ ว ม กั น อ ย่า ง เ ป็ น ป ก ติ สุ ข แ ล ะ ค า นึ ง ถึ ง ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ใ ห้ เ กิ ด โ ย ช น์ คุ้ ม ค่ า วิเ ค ร าะ ห์ เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ เส น อ แ น ว ท า ง แ ก้ปั ญ ห า ข อ ง ต น เอ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว รักการอ่านและแสวงหาความรู้อยู่เสมอทางานร่วมกับคนอื่นได้ไม่เอาเปรียบผู้อื่น รักการทางาน และทางานเป็น รู้ เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ที่ บ้ า น สามารถปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของบ้านตลอดจนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ต ร ใ น ร ะ ดับ นี้ มุ่ง เน้ น ใ ห้ ผู้เรี ยน ไ ด้รู้จัก รัก แ ล ะ แ ส วง ห าค วาม รู้ กาแน วทางที่เหมาะสมกับตนในการทาประโยชน์ให้แก่สังคม มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญ เ ข้ า ใ จ ใ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ฐ า น ค ว า ม รู้ ( Knowledge-based society) และติดตามความเจริญก้าวหน้าวิทยาการต่างๆ รู้จักรักและเอาใจใส่ในสุขภาพของตน บุคคลรอบข้าง แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ส ริ ม ส ร้ า ง สุ ข ภ า พ อ น า มั ย ส่ ว น ต น แ ล ะ ชุ ม ช น ทั้งนี้ เพื่อเป็ น การเตรียมความพร้อมพัฒนาการด้าน ต่างๆ สาหรับการเปลี่ยน แปลงของสังคม ผู้เรียนสามารถเสนอแนะทางเลือกอย่างหลากหลายในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ช่วยเหลือผู้อื่น ปรับปรุงการปฏิบัติงาน อยู่เสมอ ทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้ รักการทางาน และรู้กระบวน การจัดการ เ ข้ า ใ จ ส ภ า พ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สั ง ค ม ใ น ชุ ม ช น สามารถเสนอแนวทางการพัฒนาชุมชนภูมิใจในการปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีในชุมชน สิ่งแวดล้อมศาสนาศิลปะ และวัฒนธรรมซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจคุณค่าตนเอง วัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชน ตลอดจนเกิดความรู้สึกรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย การพัฒนาหลักสูตรในระดับนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทาประโยชน์ให้สังคมตามความสามารถของตน มีความรู้และทักษะในวิชาสามัญเฉพ าะด้าน และรอบรู้ทัน ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโน โลยี ส่งเสริมการอนามัยชุมชนและการสร้างเสริมสุขภาพ วางแนวปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาของสังคมได้ ช่วยเหลือทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ใช้แนวทางและวิธีการใหม่ๆในการปฏิบัติงานอยู่เสมอทางานร่วมกับผู้อื่นได้ รั ก ก า ร ท า ง า น มี เ จ ต ค ติ ที่ ดี ต่ อ อ า ชี พ สุ จ ริ ต เข้าใจสภาพและการเปลี่ยนแปลงของสังคมในประเทศและโลกมุ่งมั่นในการพัฒนาประเทศและเข้าใจร่วมกิจกร
  • 12. รมการพัฒนาสังคมตามบทบาทหน้าที่ของตนตลอดจนอนุรักษ์และส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมของประเทศ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นตามแนวทางประชาธิปไตย ก า ร ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ ส อ น เ กิ ด ค ว า ม ช า น า ญ และมั่นใจในการใช้หรือพัฒนาหลักสูตรนั้นควรจะมีบริการช่วยผู้สอนให้คาปรึกษาหรือวิธีสอนในการจัดบริกา รหลักสูตรนี้ ซึ่งจะช่วยผู้สอนในการพัฒนาหลักสูตรในการนาหลักสูตรไปใช้โดยเป็นไปอย่างมีเหตุผล การพัฒนาหลักสูตรจะเกิดขึ้นเมื่อมีวิทยาการต่างๆ ของสังคมและของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบาย ปรัชญา และแนวทางการพัฒนาการศึกษา สรุป(Summary) ก ารพั ฒ น า ห ลัก สู ต รเป็ น ก า รป รับ ป รุ ง แ ก้ไ ข ห รื อ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ห ลั ก สู ต ร ในการพัฒนาหลักสูตรนั้นต้องคานึงถึงสังคม ปรัชญาการศึกษา และผู้เรียน ตลอดจนกระบวนการเรียนรู้ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาหลักสูตรจะต้องประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายร่วมมือร่วมใจกันนับแต่นักการศึกษา นั ก วิ ช า ก า ร นั ก วิ จั ย ผู้ บ ริ ห า ร ค รู ผู้ ส อ น นั ก เ รี ย น ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น และนักพัฒนาหลักสูตรที่จะให้การหลักสูตรดาเนินไปจนบรรลุผลสูงสุด ทฤษฎีหลักสูตรที่ได้มาจากศาสตร์สาขาต่างๆ ได้ถูกรวบรวมเป็นองค์รวมเป็นชุดของหลักการต่างๆ เพื่อ อธิบายเหตุผลการได้มาขององค์ความรู้ การรักษาไว้และการเรียกใช้องค์ความรู้ในแต่ละบุคคลได้อย่างไร ทฤษฎีหลักสูตรเปิดโอกาสให้นักพัฒนาหลักสูตรกาหนดเบ้าหลอมผู้เรียนและกาหนดคาทานายเกี่ยวกับผลการเรี ยน รู้ สิ่ ง เห ล่านี้ ส ามารถเป็ น แน วท างช่วยใ ห้ สามารถพัฒ น าห ลักสู ตร การน าหลักวิช า ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เทคนิค และวิธีการต่างๆ วิธีการที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ และทาให้นักเรียนบรรลุตามจุดประสงค์ในรายวิชาอย่างมีประสิทธิภาพโดยสมบูรณ์ ตรวจสอบทบทวน(Self-Test) 1. ทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 2. ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ น แ ง่ ข อ ง ป รั ช ญ า ปรัชญาใดที่สมควรนามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศต วรรษที่ 21ด้วยเหตุผลใด กิจกรรม(Activity)
  • 13. 1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง นิยาม ความหมาย :ทฤษฎี ทฤษฎีหลักสูตร ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร 2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจาก สุเทพ อ่วมเจริญ การพัฒนาหลักสูตร : ทฤษฎีและการปฏิบัติ “การพัฒนาหลักสูตร :ทฤษฎีหลักสูตร” 3. แลกเปลี่ยนแนวคิดกับเพื่อนนักศึกษา หรือผู้รู้เกี่ยวกับ ทฤษฎีทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร และการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอนในสาขาวิชาเอกดังกล่าว