SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 1
การให้การศึกษาสําหรับศตวรรษที 21
หลักสูตรแบบยึดโครงงานเป็นฐาน (project -based curriculum) เป็นหลักสูตรทีให้นักเรียนเกียวข้องกับ
ปัญหาในโลกทีเป็นจริง เป็นประเด็นทีเกียวข้องกับความเป็นมนุษย์ และคําถามเกียวกับอนาคตเชิง
วัฒนธรรม สังคม และสากลภาพของโรงเรียนจะเปลียนจากการเป็นสิงก่อสร้างเป็นภาพของการเป็นศูนย์
รวมประสาท(nerve centers)ทีไม่จํากัดอยู่แต่ในห้องเรียนแต่จะเชือมโยงครู นักเรียนและชุมชน เข้าสู่ขุม
คลังแห่งความรู้ทัวโลกครูเองจะเปลียนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือให้
นักเรียนสามารถเปลียนสารสนเทศเป็นความรู้ และนําความรู้เป็นเครืองมือสู่การปฏิบัติและให้เป็น
ประโยชน์ เป็นการเรียนรู้เพือสร้างความรู้ และต้องมีการสร้างวัฒนธรรมการสืบค้น (create a culture of
inquiry)
ในศตวรรษที 21 การให้การศึกษาตามทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom´s Taxonomy of
Learning) จะเปลียนไป เน้นทักษะการเรียนรู้ขันทีสูงขึน (higher order learning skills) โดยเฉพาะทักษะ
การประเมินค่า (evaluating skills) จะถูกแทนทีโดยทักษะการนําเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์
(ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตทีผ่านมา นักเรียนไปโรงเรียนเพือใช้เวลาใน
การเรียนรายวิชาต่างๆ เพือรับเกรด และเพือให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ที
แตกต่างไป เช่น การเรียนการสอนทีช่วยให้นักเรียนได้เตรียมตัวเพือใช้ชีวิตในโลกทีเป็นจริง (life in the
real world) เน้นการศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนทีมีความยืดหยุ่น (flexible in
how we teach) มีการกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา(resourceful)ทียังคง
แสวงหาการเรียนรู้แม้จะจบการศึกษาออกไป
ลักษณะของหลักสูตรในศตวรรษที 21 จะเป็นหลักสูตรทีเน้นคุณลักษณะเชิงวิพากษ์ (critical
attributes) เชิงสหวิทยาการ (interdisciplinary) ยึดโครงงานเป็นฐาน (project-based) และขับเคลือนด้วย
การวิจัย (research-driven) เชือมโยงท้องถินชุมชนเข้ากับภาค ประเทศ และโลก ในบางโอกาสนักเรียน
สามารถร่วมมือ (collaboration)กับโครงงานต่างๆได้ทัวโลก เป็นหลักสูตรทีเน้นทักษะการคิดขันสูง พหุ
ปัญญา เทคโนโลยีและมัลติมีเดีย ความรู้พืนฐานเชิงพหุสําหรับศตวรรษที 21 และการประเมินผลตาม
การให้การศึกษาสําหรับศตวรรษที 21 จะมีความ
ยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ท้าทาย และซับซ้อน เป็ น
การศึกษาทีจะทําให้โลกเกิดการเปลียนแปลงอย่าง
รวดเร็วอย่างเต็มไปด้วยสิงท้าทาย แลปัญหา รวมทัง
โอกาสและสิงทีเป็ นไปได้ใหม่ๆ ทีน่าตืนเต้น
โรงเรียนในศตวรรษที 21 จะเป็นโรงเรียนทีมี
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 2
สภาพจริงรวมทังการเรียนรู้จากการให้บริการ(service)ก็เป็นองค์ประกอบทีสําคัญภาพของห้องเรียน จะ
ขยายกลายเป็นชุมชนทีใหญ่ขึน (greater community) นักเรียนมีคุณลักษณะเป็นผู้ชีนําตนเองได้ (self-
directed) มีการทํางานทังอย่างเป็นอิสระและอย่างร่วมมือกันคนอืน หลักสูตรและการสอนจะมีลักษณะ
ท้าทายสําหรับนักเรียนทุกคน และคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล หลักสูตรจะไม่เน้นการยึดตํารา
เป็นตัวขับเคลือน (textbook-driven) หรือแบบแยกส่วน (fragmented) เช่นในอดีต แต่จะเป็นหลักสูตร
แบบยึดโครงงานและการบูรณาการ การสอนทักษะและเนือหาจะไม่เป็นจุดหมายปลายทาง (as an end)
เช่นทีเคยเป็นมา แต่นักเรียนจะต้องมีการเรียนรู้ผ่านการวิจัยและการปฏิบัติในโครงงาน การเรียนรู้จาก
ตําราจะเป็นเพียงส่วนหนึงเท่านัน ความรู้ (knowledge) จะไม่หมายถึงการจดจําข้อเท็จจริงหรือตัวเลข แต่
จะเป็นสิงทีเกิดขึนจากการวิจัยและการปฏิบัติโดยเชือมโยงกับความรู้และประสบการณ์เก่าทีมีอยู่ ทักษะ
และเนือหาทีได้รับจะเกียวข้องและมีความจําเป็นต่อการปฏิบัติในโครงงาน จะไม่จบลงตรงทีการได้รับ
ทักษะและเนือหาแล้วเท่านัน การประเมินผลจะเปลียนจากการประเมินความจําและความไม่เกียวโยงกับ
ความเข้าใจต่อการนําไปปฏิบัติได้จริง ไปเป็นการประเมินทีผู้ถูกประเมินมีส่วนร่วมในการประเมิน
ตนเองด้วย (self-assessment) ทักษะทีคาดหวังสําหรับศตวรรษที 21 ทีเรียนรู้ผ่านหลักสูตรทีเป็นสห
วิทยาการ บูรณาการ ยึดโครงงานเป็นฐาน และอืนๆ ดังกล่าวจะเน้นเรือง 1) ทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม (learning and innovation skills) 2) ทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) ทักษะ
สารสนเทศ สือ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ทีคาดหวังว่าจะเกิดขึนได้
จากความร่วมมือ (collaboration) ในการทํางานเป็นทีม การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ในปัญหาที
ซับซ้อน การนําเสนอด้วยวาจาและด้วยการเขียน การใช้เทคโนโลยี ความเป็นพลเมืองดี การฝึกปฏิบัติ
อาชีพ การวิจัย และการปฏิบัติสิงต่างๆ ทีกล่าวมาข้างต้น
ดังนัน การให้การศึกษาสําหรับศตวรรษที 21 ต้องเปลียนแปลงทัศนะ (perspectives) จาก
กระบวนทัศน์แบบดังเดิม (tradition paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (new paradigm) ทีให้โลกของ
นักเรียนและโลกความเป็นจริงเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ทีไปไกลกว่าการ
ได้รับความรู้แบบง่ายๆ ไปสู่การเน้นพัฒนาทักษะและทัศนคติ — ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา
ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวัตกรรม ความสร้างสรรค์ ทักษะการสือสาร ทักษะ
และค่านิยมทางเทคโนโลยี ความเชือมันตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจตนเอง และความตระหนักใน
สภาพแวดล้อม และเหนืออืนใด คือ ความสามารถใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (the ability to handle
knowledge effectively in order to use it creatively) ถือเป็นทักษะทีสําคัญจําเป็นสําหรับการเป็นนักเรียน
ในศตวรรษที 21 ถือเป็นสิงทีท้าทายในการทีจะพัฒนาเรียนเพืออนาคต ให้นักเรียนมีทักษะ ทัศนคติ
ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพือเผชิญกับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ทีมีทัง
ความสําเร็จและมีความสุข
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 3
การเรียนรู้ในศตวรรษที 21
ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที21
องค์ประกอบทีสําคัญและจําเป็นเพือในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที 21 คือ
มาตรฐานศตวรรษที 21 การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและสภาพแวดล้อม
การเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตทีก่อให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษที 21 สําหรับ
นักเรียนในปัจจุบันมาตรฐานศตวรรษที 21
- มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที 21 นักเรียนมีความรู้ในเนือหาและความเชียวชาญ
- สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที 21
- เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึงมากกว่าความรู้แบบผิวเผิน
- การของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครืองมือในโลกแห่งความเป็นจริงและพวกเขา
จะพบผู้เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในทีทํางานและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีทีสุดเมือทํางานอย่างแข็งขัน
การแก้ปัญหาทีมีความหมาย
- การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู้
การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที 21
- รองรับความสมดุลของการประเมินรวมทังมีคุณภาพสูง การทดสอบมาตรฐานทีมีคุณภาพสูง
พร้อมกับการประเมินผลในชันเรียนทีมีประสิทธิภาพ
- เน้นข้อเสนอแนะทีเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานของนักเรียนทีถูกฝังลงในการเรียนรู้ใน
ชีวิตประจําวัน
- การประเมินการใช้เทคโนโลยีให้มีความสมดุล ความชํานาญนักเรียนซึงเป็นการวัดทักษะใน
ศตวรรษที 21
- ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาทีแสดงให้เห็นการเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที 21
เพือการศึกษาและการทํางานในอนาคต
- ช่วยให้มาตรการการประเมินประสิทธิภาพระบบการศึกษาในระดับทีสูงประเมินถึงสมรรถนะ
ของนักเรียนด้านทักษะในศตวรรษที 21
หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที21
- สอนทักษะในศตวรรษที 21 ซึงแยกกัน ในบริบทของวิชาหลักและ รูปแบบสหวิทยาการใน
ศตวรรษที 21
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 4
- มุ่งเน้นไปทีการให้โอกาสสําหรับการใช้ทักษะในศตวรรษที 21 ในเนือหาและวิธีการตาม
ความสามารถในการเรียนรู้
- ช่วยให้วิธีการเรียนรู้นวัตกรรมทีบูรณาการการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทางเพิมเติมในการ
ใช้ปัญหาเป็นฐาน และทักษะการคิดขันสูง
- สนับสนุนให้รวมทรัพยากรของชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
การพัฒนามืออาชีพในศตวรรษที21
- ครูมีแนวทางการสอนมีความสามารถสําหรับการบูรณาการทักษะในศตวรรษที 21 เครืองมือ
และกลยุทธ์การเรียนการสอนไปสู่การปฏิบัติในชันเรียนของพวกเขา
- การเรียนการสอนมทีมุ่งเน้นการทําโครงงาน
- แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ความเข้าใจในเรืองจริงสามารถเพิมการแก้ปัญหาการคิดเชิงวิพากษ์
และอืน ๆ ทักษะในศตวรรษที 21
- ช่วยให้มืออาชีพในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ สําหรับครูที 21 ว่ารูปแบบชนิดของการเรียนรู้ใน
ห้องเรียนทีดีทีสุดส่งเสริมทักษะในศตวรรษที 21 สําหรับนักเรียน
- การพัฒนา ความสามารถในการระบุตัวตนของนักเรียนโดยครูมีรูปแบบการเรียนโดยเฉพาะ
อย่างยิงรู้จุดแข็งและจุดอ่อนของผู้เรียน
- ช่วยให้ครูพัฒนาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ต่างๆ (เช่นการประเมินผลการเรียนการสอน)
ถึงนักเรียนทีมีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมทีสนับสนุนความแตกต่างการเรียนการสอนและ
การเรียนรู้
- รองรับการประเมินผลอย่างต่อเนืองของการพัฒนาทักษะของนักเรียนศตวรรษที 21
- ส่งเสริมการแลกเปลียนความรู้ระหว่างชุมชนของผู้ปฏิบัติงานโดยการหันหน้าเข้าหากันการ
สือสารเสมือนและผสม
- ใช้รูปแบบความเป็นอันหนึงหันเดียวกันและความยังยืนของการพัฒนาวิชาชีพ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที 21
- สร้างการเรียนรู้วิธีปฏิบัติทีสนับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทีจะสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยทักษะในศตวรรษที 21
- สนับสนุนการเรียนรู้ชุมชนมืออาชีพทีช่วยให้การศึกษาเพือการทํางานร่วมกันแบ่งปันแนวทาง
ปฏิบัติทีดีและบูรณาการทักษะในศตวรรษที 21 ในการปฏิบัติในชันเรียน
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 5
- ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ในงานทีเกียวข้องในโลกศตวรรษที 21 แวดล้อมจริง (เช่น ปฏิบัติจริง
หรือผ่านการทํางานทีใช้ตามโครงการหรืออืน ๆ )
- เรียนรู้การใช้เครืองมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคุณภาพ รู้จักการทํางานสําหรับการ
เรียนรู้เป็นกลุ่มทีมและรายบุคคล
- สนับสนุนการติดต่อกับชุมชนและการมีส่วนระหว่างต่างชาติในการเรียนรู้โดยตรงและ
ออนไลน์ การเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในศตวรรษที 21 อาศัยการทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ โดย
การมีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายทีชัดเจน ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ทีจําเป็นในการใช้ชีวิตและทํางาน
อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้และทักษะเพือให้สามารถการใช้ชีวิต การทํางาน ดํารงชีพอยู่ได้กับภาวะ
เศรษฐกิจในสังคมโลกปัจจุบัน
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 6
ศิษย์ ในศตวรรษที
คําถามสําคัญทีกําลังอยู่ในใจครูทุกคนคือ เรากําลังจะพบกับศิษย์แบบไหนในอนาคต ศิษย์ของ
เราในวันนีเป็นอย่างไร ศิษย์ทีเป็นเด็กสมัยใหม่ หรือเป็นคนของศตวรรษที จะมีลักษณะอย่างไรนัน ครู
ในศตวรรษที เองก็จําเป็นอย่างยิงทีต้องรู้จักศิษย์ในศตวรรษที นีด้วย หนังสือ 21st Century Skills :
Learningfor Life in Our Timesระบุ ลักษณะ ประการของเด็กสมัยใหม่ไว้ดังนี
• มีอิสระทีจะเลือกสิงทีตนพอใจ แสดงความเห็น และลักษณะเฉพาะของตน
• ต้องการดัดแปลงสิงต่างๆให้ตรงตามความพอใจและความต้องการ ของตน (customization &
personalization)
• ตรวจสอบหาความจริงเบืองหลัง (scrutiny)
• เป็นตัวของตัวเองและสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อืน เพือรวมตัวกันเป็นองค์กร เช่น ธุรกิจ รัฐบาล
และสถาบันการศึกษา
• ความสนุกสนานและการเล่นเป็นส่วนหนึงของงาน การเรียนรู้ และชีวิตทางสังคม
• การร่วมมือ และความสัมพันธ์เป็นส่วนหนึงของทุกกิจกรรม
• ต้องการความเร็วในการสือสาร การหาข้อมูล และตอบคําถาม
• สร้างนวัตกรรมต่อทุกสิงทุกอย่างในชีวิต
หนังสือเล่มนี ยังได้ระบุหลักการหรือปัจจัยสําคัญด้านการเรียนรู้ใน ศตวรรษที ไว้ ประการคือ
• Authentic learning
• Mental model building
• Internal motivation
• Multiple intelligence
• Social learning
Authentic learning : การเรียนรู้ทีแท้จริงอยู่ในโลกจริงหรือชีวิตจริง การเรียนวิชาในห้องเรียน ยังไม่ใช่
การเรียนรู้ทีแท้จริง ยังเป็นการเรียนแบบสมมติ ดังนัน ครูเพือศิษย์จึงต้องออกแบบการเรียนรู้ให้ศิษย์ได้
เรียนในสภาพทีใกล้เคียงชีวิตจริงทีสุด กล่าวในเชิงทฤษฎีได้ว่า การเรียนรู้ขึนอยู่กับบริบทหรือ
สภาพแวดล้อม ในขณะเรียนรู้ ห้องเรียนไม่ใช่บริบททีจะทําให้เกิดการเรียนรู้ในมิติทีลึก เพราะห้องเรียน
ไม่เหมือนสภาพในชีวิตจริง การสมมติโจทย์ทีคล้ายจะเกิด ในชีวิตจริงก็ได้ความสมจริงเพียงบางส่วน แต่
หากไปเรียนในสภาพจริงก็จะ ได้การเรียนรู้ในมิติทีลึกและกว้างขวางกว่าสภาพสมมติ การออกแบบการ
เรียนรู้ให้ศิษย์เกิด “การเรียนรู้ทีแท้” (authentic learning) เป็นความท้าทายต่อครูเพือศิษย์ในสภาพทีมี
ข้อจํากัดด้านเวลา และทรัพยากรอืน ๆ รวมทังจากความเป็นจริงว่า เด็กนักเรียนในเมืองกับใน ชนบทมี
สภาพแวดล้อมและชีวิตจริงทีแตกต่างกันมาก
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 7
Mental Model Building: การเรียนรู้ในระดับสร้างกระบวนทัศน์อาจมองอีกมุมหนึงว่า เป็น authentic
learning แนวหนึง ผมมองว่านีคือ การอบรมบ่มนิสัย หรือ การปลูกฝังความเชือหรือค่านิยมในถ้อยคําเดิม
ของเรา แต่ในความหมาย ข้อนีเป็นการเรียนรู้วิธีการนําเอาประสบการณ์มาสังสมจนเกิดเป็นกระบวน
ทัศน์ (หรือความเชือ ค่านิยม) และทีสําคัญกว่านันคือ สังสมประสบการณ์ใหม่ เอามาโต้แย้งความเชือ
หรือค่านิยมเดิม ทําให้ละจากความเชือเดิม หันมายึดถือความเชือหรือกระบวนทัศน์ใหม่นันนคือ เป็นการ
เรียนรู้ (how to learn, how to unlearn/ delearn, how to relean) ไปพร้อม ๆ กัน ทําให้เป็นคนทีมีความคิด
เชิงกระบวนทัศน์ ชัดเจน และเกิดการเรียนรู้เชิงกระบวนทัศน์ใหม่ได้ แต่การจะมีทักษะหรือ
ความสามารถขนาดนี จําต้องมีความสามารถรับรู้ข้อมูลหลักฐานใหม่ ๆ และนํามาสังเคราะห์เป็นความรู้
เชิงกระบวนทัศน์ใหม่ได้
Internal Motivation : การเรียนรู้ทีแท้จริงขับดันด้วยฉันทะ ซึงเป็นสิงทีอยู่ภายในตัวคน ไม่ใช่ขับดัน
ด้วยอํานาจของครูหรือพ่อแม่ เด็กทีเรียนเพราะไม่อยากขัดใจ ครูหรือพ่อแม่จะเรียนได้ไม่ดีเท่าเด็กทีเรียน
เพราะอยากเรียน เมือเด็กมีฉันทะและได้รับการส่งเสริมทีถูกต้องจากครู วิริยะ จิตตะ และวิมังสา (อิทธิ
บาทสี) ก็จะตามมา ทําให้เกิดการเรียนรู้ในมิติทีลึกซึง และเชือมโยง
Multiple Intelligence: เวลานีเป็นทีเชือกันทัวไปแล้วว่า มนุษย์เรามีพหุปัญญา (Multiple Intelligence)
และเด็กแต่ละคนมีความถนัดหรือปัญญาทีติดตัว มาแต่กําเนิดต่างกัน รวมทังสไตล์การเรียนรู้ก็ต่างกัน
ดังนัน จึงเป็น ความท้าทายต่อครูเพือศิษย์ในการจัดการเรียนรู้โดยคํานึงถึงความแตกต่าง ของเด็กแต่ละ
คน และจัดให้การเรียนรู้ส่วนหนึงเป็นการเรียนรู้เฉพาะตัว (personalized learning) เรืองนีมีการวิจัยและ
การออกแบบการเรียนรู้ได้มากมาย ดังตัวอย่าง Universal Design for Learning ซึงก็คือ เครืองมือ สร้าง
ความยืดหยุ่นหลากหลายในการออกแบบการเรียนรู้นันเอง
Social Learning : การเรียนรู้เป็นกิจกรรมทางสังคม หากยึดหลักการนี ครูเพือศิษย์ก็ จะสามารถ
ออกแบบกระบวนการทางสังคมเพือให้ศิษย์เรียนสนุก และเกิด นิสัยรักการเรียน เพราะการเรียนจะไม่ใช่
กิจกรรมส่วนบุคคลทีหงอยเหงา น่าเบือ ขออนุญาตยํานะครับว่า อย่าติดทฤษฎีหรือเชือตามหนังสือ
จนเกินไป จนไม่กล้าทดลองวิธีคิดใหม่ ๆ ทีอาจจะเหมาะสมต่อศิษย์ของเรามากกว่า แนวคิดแบบฝรัง เรา
อาจคิดหลักการเรียนรู้ตามแบบของเราทีเหมาะสมต่อ บริบทสังคมไทยขึนมาใช้เองก็ได้ ท่านทีสนใจ
โปรดดูวิดีโอเล่าผลการวิจัยจากชีวิตจริงที http:// blog.ted.com/2010/09/07/the-child-driven-education-
sugatamitra-on-ted-com ซึงจะเห็นว่า เด็ก ๆ มีความสนใจใคร่รู้ใคร่เรียน เป็นทุน และเด็ก ๆ มี
ความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองหากสิงแวดล้อมเอืออํานวย แต่ผมก็ยังเชือว่าครูทีดีจะช่วยเพิมพลังและ
คุณค่าของการ เรียนรู้ได้อีกมาก ในขณะเดียวกัน การศึกษาตามแนวทางปัจจุบันก็ทําลาย ความริเริม
สร้างสรรค์ของเด็ก
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 8
ทักษะครูเพือศิษย์ไทย ในศตวรรษที
ครูจึงต้องยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก” คือ ในการจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ของเด็ก ครูต้องตอบได้ว่า
ศิษย์ได้เรียนอะไร และเพือให้ศิษย์ได้เรียนสิงเหล่านัน ครูต้องทําอะไร ไม่ทําอะไร ในสภาพเช่นนี ครูยิง
มีความ สําคัญมากขึน และท้าทายครูทุกคนอย่างทีสุดทีจะไม่ทําหน้าทีครูผิดทาง คือ ทําให้ศิษย์เรียนไม่
สนุก หรือเรียนแบบขาดทักษะสําคัญ การเรียนรู้ในศตวรรษที ต้อง “ก้าวข้ามสาระวิชา” ไปสู่การ
เรียนรู้ “ทักษะเพือการดํารงชีวิตในศตวรรษที ” ( 21st Century Skills) ทีครูสอน ไม่ได้ นักเรียนต้อง
เรียนเอง หรือพูดใหม่ว่าครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบ การเรียนรู้ และอํานวยความสะดวก (facilitate)
ในการเรียนรู้ ให้นักเรียน เรียนรู้จากการเรียนแบบลงมือทํา แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและ
สมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนีเรียกว่า PBL (Project-Based Learning)
ครูเพือศิษย์ต้องเรียนรู้ทักษะในการออกแบบการเรียนรู้แบบ PBL ให้ เหมาะแก่วัยหรือ
พัฒนาการของศิษย์ สาระวิชาก็มีความสําคัญ แต่ไม่เพียงพอสําหรับการเรียนรู้เพือมีชีวิต ในโลกยุค
ศตวรรษที ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา(contentหรือ subjectmatter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้า
เองของศิษย์โดยครู ช่วยแนะนํา และช่วยออกแบบกิจกรรมทีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถ ประเมิน
ความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้
ทักษะเพือการดํารงชีวิตในศตวรรษที ได้แก่ สาระวิชาหลัก
• ภาษาแม่ และภาษาโลก • ศิลปะ
• คณิตศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์
• วิทยาศาสตร์ • ประวัติศาสตร์
• ภูมิศาสตร์ • รัฐ และความเป็นพลเมืองดี
ครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้ และอํานวยความสะดวก
(facilitate) การเรียนรู้ ให้นักเรียน เรียนรู้จาก การเรียนแบบ
ลงมือทํา หรือปฏิบัติ แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจ
และ สมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนีเรียกว่า
PBL (Project-Based Learning)
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 9
หัวข้อสําหรับศตวรรษที
• ความรู้เกียวกับโลก
• ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ
• ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี
• ความรู้ด้านสุขภาพ
• ความรู้ด้านสิงแวดล้อม
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
• ความริเริมสร้างสรรค์และนวัตกรรม
• การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
• การสือสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สือ และเทคโนโลยี
• ความรู้ด้านสารสนเทศ
• ความรู้เกียวกับสือ
• ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ
• ความยืดหยุ่นและปรับตัว
• การริเริมสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
• ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
• การเป็นผู้สร้างหรือผลิต (productivity) และความรับผิดรับชอบ เชือถือได้
(accountability)
• ภาวะผู้นําและความรับผิดชอบ (responsibility)
นอกจากนันโรงเรียนและครูต้องจัดระบบสนับสนุนการเรียนรู้ต่อไปนี
• มาตรฐานและการประเมินในยุคศตวรรษที
• หลักสูตรและการเรียนการสอนสําหรับศตวรรษที
• การพัฒนาครูในศตวรรษที
• สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที
ทักษะของคนในศตวรรษที ทีคนทุกคนต้องเรียนรู้ตังแต่ชันอนุบาล ไปจนถึงมหาวิทยาลัย
และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C 3R
Rได้แก่
 Reading (อ่านออก)
 (W)Riting (เขียนได้)
 (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 10
7C ได้แก่
 Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิด อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะ
ในการแก้ปัญหา)
 Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
 Cross-culturalunderstanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทํางานเป็นทีม
และภาวะผู้นํา)
 Communications, information & media literacy (ทักษะด้าน การสือสาร สารสนเทศ
และรู้เท่าทันสือ)
 Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและ
การสือสาร)
 Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 11
เครืองมือในการพัฒนาการเรียนสู่สตวรรษที
ครูเพือศิษย์ต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะในการเป็นโค้ช และเป็น “คุณอํานวย” (facilitator) ใน
การเรียนรู้แบบ PBL (Project-Based Learning) ของศิษย์ขอยําว่าครูต้องเลิกเป็น “ผู้สอน” ผันตัวเองมา
เป็นโค้ช หรือ “คุณ อํานวย” ของการเรียนของศิษย์ทีส่วนใหญ่เรียนแบบ PBL นันหมายถึงโรงเรียนใน
ศตวรรษที ต้องเลิกเน้นสอน หันมาเน้นเรียน ซึงต้องเน้นทัง การเรียนของศิษย์และของครู ครูจะต้อง
ปรับตัวมากซึงเป็นเรืองยาก จึงต้องมีตัวช่วย คือ Professional Learning Communities (PLC) ซึงก็คือ การ
รวมตัวกันของ ครูประจําการเพือแลกเปลียนเรียนรู้ประสบการณ์การทําหน้าทีครูนันเอง
ริชาร์ด ดูฟูร์ (Richard Du Four) เป็น “บิดาของ PLC” ตาม หนังสือเล่มนี เขาบอกว่าเขาเริมทํา
งานวิจัยพัฒนาและส่งเสริมPLC มา134 วิถีสร้างการเรียนรู้เพือศิษย์ในศตวรรษที ตังแต่ คศ. คือ
พ.ศ. ก่อนผมทํางานเรืองการจัดการความรู้ (KM) ปี คือผมทํางาน KM ปี พ.ศ. ทีจับ เรืองนี
โยงเข้าหากัน ก็เพราะ PLC (Professional Learning Community) ก็คือ CoP (Community of Practice)
ของครูนันเอง และCoP คือรูปแบบหนึงของ KM
PLC คืออะไร PLC (Professional Learning Communities) คือ : กระบวนการต่อเนืองทีครูและนักการ
ศึกษาทํางานร่วมกัน ในวงจรของการร่วมกันตังคําถาม และการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพือบรรลุ ผลการ
เรียนรู้ทีดีขึนของนักเรียน โดยมีความเชือว่า หัวใจของการพัฒนา การเรียนรู้ของนักเรียนให้ดีขึน อยู่ที
การเรียนรู้ทีฝังอยู่ในการทํางานของครู และนักการศึกษา PLC เป็นกิจกรรมทีซับซ้อน (complex) มี
หลากหลายองค์ประกอบ จึงต้องนิยามจากหลายมุม โดยมีแง่มุมทีสําคัญต่อไปนี
o เน้นทีการเรียนรู้
o มีวัฒนธรรมร่วมมือกันเพือการเรียนรู้ของทุกคน ทุกฝ่าย
o ร่วมกันตังคําถามต่อวิธีการทีดี และตังคําถามต่อสภาพปัจจุบัน
o เน้นการลงมือทํา
o มุ่งพัฒนาต่อเนือง
o เน้นทีผล (หมายถึง ผลสัมฤทธิในการเรียนรู้ของศิษย์)
หัวใจสําคัญทีสุดของ PLC คือ เป็นเครืองมือในการดํารงชีวิตทีดีของครู ในยุคศตวรรษที ที
การเรียนรู้ในโรงเรียน (และมหาวิทยาลัย) ต้องเปลียน ไปจากเดิมโดยสินเชิง ครูต้องเปลียนบทบาทจาก
“ครูสอน” (teacher) มา เป็น “ครูฝึก” (coach) หรือครูผู้อํานวยความสะดวกในการเรียน (learning
facilitator) ห้องเรียนต้องเปลียนจากห้องสอน (class room) มาเป็นห้อง ทํางาน (studio) เพราะในเวลา
เรียนส่วนใหญ่ นักเรียนจะเรียนเป็นกลุ่ม และ ทํางานร่วมกันทีเรียกว่า การเรียนแบบโครงการ (Project-
Based Learning)
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 12
การศึกษาต้องเปลียนจากเน้นการสอน (ของครู) มาเป็นเน้นการเรียน (ของนักเรียน) เปลียนจาก
เน้นการเรียนของปัจเจก(IndividualLearning)มาเป็นเรียนร่วมกันเป็นกลุ่ม(Team Learning) เปลียนจาก
การเรียนแบบ เน้นการแข่งขันมาเป็นเน้นความร่วมมือหรือช่วยเหลือแบ่งปันกัน ครูเปลียนจากการบอก
เนือหาสาระ มาเป็นทําหน้าทีสร้างแรง บันดาลใจ สร้างความท้าทาย ความสนุกในการเรียนให้แก่ศิษย์
โดยเน้น ออกแบบโครงการให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันลงมือทําเพือเรียนรู้จากการลงมือ ทํา (Learning by
Doing) เพือให้ได้เรียนรู้ฝึกฝนทักษะเพือการดํารงชีพในศตวรรษที (21st Century Skills) แล้วครูชวน
ศิษย์ร่วมกันทบทวนไตร่ตรอง (reflection หรือ AAR) เพือให้เกิดการเรียนรู้หรือทักษะทีลึกและเชือมโยง
รวมทังโยงประสบการณ์ตรงเข้ากับทฤษฎีทีมีคนเผยแพร่ไว้แล้ว ทําให้เกิดการเรียนรู้เชิงทฤษฎีจากการ
ปฏิบัติ ไม่ใช่จากการฟังและท่องบ่น
หัวใจของการเปลียนแปลงคือ เปลียนจากเรียนรู้จากฟังครูสอน (Learning by Attending
Lecture/Teaching) มาเป็น เรียนรู้จากการ ลงมือทํา (Learning by Doing)มองจากมุมหนึง PLC คือ
เครืองมือสําหรับให้ครูรวมตัวกันเป็นชุมชน (community) ทําหน้าทีเป็นผู้นําการเปลียนแปลง (Change
Agent) ขับเคลือนการเปลียนแปลงในระดับ “ปฏิรูป” การเรียนรู้ เป็นการปฏิรูปที “เกิดจากภายใน” คือ
ครูร่วมกันดําเนินการ เพือให้การปฏิรูปการเรียนรู้ ดําเนินคู่ขนาน และเสริมแรงกันทังจากภายในและจาก
ภายนอก PLC เป็นเครืองมือให้ครูเป็น ผู้ลงมือกระทํา (actor) เป็น “ประธาน” เพือสร้างการเปลียนแปลง
ให้แก่วงการศึกษา ไม่ใช่ปล่อยให้ครูเป็น “กรรม” (ผู้ถูกกระทํา) อยู่เรือยไป หรือเป็นเครืองมือปลดปล่อย
ครูออกจากความ สัมพันธ์เชิงอํานาจ สู่ความสัมพันธ์แนวราบเพือร่วมกันสร้างการเปลียนแปลง ให้แก่
การศึกษา รวมทังสร้างการรวมตัวกันของครู เพือทํางานสร้างสรรค์ ได้แก่ การนําประสบการณ์การ
จัดการเรียนรู้แบบ PBL และนวัตกรรมอืน ๆ ทีตนเองทดลอง มาแลกเปลียนแบ่งปันกัน เกิดการสร้าง
ความรู้หรือยกระดับความรู้ในการทําหน้าทีครูจากประสบการณ์ตรง และจากการเทียบเคียงกับ ทฤษฎีทีมี
คนศึกษาและเผยแพร่ไว้
PLC คือเครืองมือทีจะช่วยนําไปสู่การตังโจทย์และทํา “วิจัยในชันเรียน” ทีทรงพลังสร้างสรรค์
จะช่วยการออกแบบวิธีวิทยา การวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัย และการสังเคราะห์
ออกมาเป็นความรู้ใหม่ ทีเชือมโยงกับบริบทความเป็นจริงของสังคมไทย ของวงการศึกษาไทย คือจะเป็น
ผลการวิจัยในชันเรียนทีไม่ใช่จํากัดอยู่ เฉพาะข้อมูลในชันเรียนเท่านัน แต่จะเชือมโยงสู่ชีวิตจริงของผู้คน
ทีเป็น บริบทของการเรียนรู้ของนักเรียนและการทําหน้าทีครูด้วย PLC ทีแท้จริงต้องมีการทําอย่างเป็น
ระบบ มีผู้เข้าร่วมขับเคลือน ในหลากหลายบทบาท โดยมีเป้าหมายเพือพัฒนาผลสัมฤทธิของการเรียน
ของศิษย์
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 13
กลยุทธ์การเรียนการสอนทีใช้เสริมสร้างผลการเรียนรู้ในศตวรรษที 21
กลยุทธ์การเรียนการสอนทีใช้เสริมสร้างผลการเรียนรู้ในศตวรรษที 21 มีดังนี
1) วิธีสอน
1.1 วิธีสอนแบบสืบสอบ
1.2 วิธีสอนแบบโครงงาน
1.3 วิธีสอนแบบอุปนัย เป็นต้น
2) รูปแบบการสอน
2.1 รูปแบบการเรียนรู้CIPPA
2.2 รูปแบบวงจรการเรียนรู้4 ขันตอน
2.3 รูปแบบวงจรการเรียนรู้5 ขันตอน
2.4 รูปแบบวงจรการเรียนรู้7 ขันตอน เป็นต้น
3) แนวการสอน
3.1 การจัดการเรียนรู้เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง
3.2 การเรียนรู้ใช้โครงงานเป็นฐาน
3.3 การเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็นฐาน
3.4 การเรียนรู้ใช้วิจัยเป็นฐาน
3.5 การเรียนรู้ใช้แหล่งข้อมูลเป็นฐาน
3.6 การเรียนรู้ใช้กิจกรรมเป็นฐาน
3.7 การเรียนรู้ใช้สถานการณ์จําลองเป็นฐาน
3.8 การเรียนรู้ใช้ประเด็นสังคมเป็นฐาน
3.9การเรียนรู้ใช้ประเด็นสังคมเชือมโยงวิทยาศาสตร์เป็นฐาน
3.10 กระบวนการเรียนรู้5 ขันตอน
4) เทคนิคการสอน
4.1 เทคนิคการใช้คําถาม
4.2 เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ
4.3 เทคนิคการเรียนรู้เสริมสร้างพหุปัญญา
4.4 เทคนิคการใช้ผังกราฟิก
4.5 เทคนิคการเสริมแรง
4.6 เทคนิคเพือนช่วยเพือน
4.7 เทคนิคหมวก 6 ใบของเดอโบโน เป็นต้น
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 14
• กระบวนการทีใช้เสริมสร้างทักษะการคิดมีหลายกระบวนการ ดังเช่น
1. กระบวนการสืบสอบ
1) ระบุคําถามสําคัญ (key question)
2) ตังสมมติฐานหรือคาดคะเนคําตอบ
3) ออกแบบเพือรวบรวมข้อมูลและแสวงหาสารสนเทศ
4) วิเคราะห์และสือความหมายข้อมูล
5) แปลความหมายข้อมูลและสรุปผลหรือสร้างคําอธิบาย
2. กระบวนการทํา โครงงาน
1) ระบุคําถามโครงงาน (project questions หรือ research questions)
2) วางแผนทํา โครงงาน
3) ดํา เนินการทํา โครงงาน
4) วิเคราะห์และสือความหมายข้อมูล
5) สรุปผลและประเมิน
3. กระบวนการสร้างมโนทัศน์ประเภทความหมาย
1) สังเกตด้วยประสาทสัมผัสทัง 5
2) แยกแยะความเหมือนและความต่าง
3) หาลักษณะร่วม
4) ระบุชือความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์
5) สรุปหรือสร้างมโนทัศน์
4. กระบวนการวิเคราะห์
1) สังเกต
2) จําแนกแยกแยะ
3) จัดหมวดหมู่อาจใช้สถิติประกอบ
4) สรุปผลการวิเคราะห์
5. กระบวนการสือความหมายข้อมูล
1) วิเคราะห์หรือจัดกระทําข้อมูล
2) เลือกแบบการนํา เสนอให้เหมาะสมกับข้อมูล
3) ปฏิบัติการเสนอข้อมูล
4) ประเมิน หรือตรวจสอบ
5) ระบุชือแบบการนํา เสนอข้อมูล
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 15
6. กระบวนการสังเคราะห์
1) วิเคราะห์สิงต่างๆ ตังแต่2 สิงขึนไป
2) ระบุลักษณะเด่น และลักษณะร่วมของสิงต่างๆ
3) ผสมผสานลักษณะเด่นเพือสร้างสิงใหม่
4) สร้างสิงใหม่ทีมีความแตกต่างจากสิงเดิม
7. กระบวนการกลุ่ม
1) ระบุเป้าหมายและชีแจงให้เข้าใจตรงกัน
2) วางแผนการดํา เนินงาน
3) ดํา เนินงานตามแผนอย่างร่วมมือร่วมใจ
4) ประเมินผลการทํางาน
5) สรุปผลการทํางาน
8. กระบวนการเสริมสร้างทักษะการปฏิบัติ
1) สังเกต
2) ทําตามต้นแบบ
3) ทํา งานโดยไม่มีต้นแบบ
4) ฝึกหัด
5) ริเริมสร้างงานใหม่
9. กระบวนการแก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์
แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 16
10. กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม Museum of Science’s National Center for
Technology Literacy(2007) เสนอขันตอนของกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม5 ขันตอนดังนี
1) ขันตังคําถาม(Ask)
2) ขันจินตนาการวิธีแก้ปัญหา(Imagine)
3) ขันวางแผน(Plan)
4) ขันสร้างสรรค์ผลผลิต (Create)
5) ขันปรับปรุง(Improve)
ตัวอย่าง กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขันตอนในการสอนทําโครงงาน
ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กลยุทธ์การสอน แนวการสอน รูปแบบการเรียนการสอน และ
วิธีสอนต่างๆ ซึงแต่ละวิธีนันประกอบด้วยกระบวนการต่างๆ ทังกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิด
และปฏิบัติ ซึงเป็นการเสริมสร้างทักษะการคิดและกระบวนการคิดทักษะปฏิบัติอันเป็นความชํานาญ
ทัวไปและความชํานาญของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และแต่ละสาขาวิชาซึงผู้สอนควรเห็นความสําคัญ
และนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทังยุคนีและยุคใหม่

More Related Content

What's hot

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Rujroad Kaewurai
 
STEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningSTEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningWachira Srikoom
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116kroofon fon
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
Future skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian versionFuture skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian versionMaykin Likitboonyalit
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)lovegussen
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning WorksTeaching & Learning Support and Development Center
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionAnucha Somabut
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลDuangnapa Inyayot
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacyBodaidog
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
STEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century LearningSTEM Education and 21st-Century Learning
STEM Education and 21st-Century Learning
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ดร.กุศลิน 191116
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
STEM Education
STEM Education STEM Education
STEM Education
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
Future skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian versionFuture skill for 21st century skill librarian version
Future skill for 21st century skill librarian version
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Educationรายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
รายงานการฝึกอบรมต่างประเทศ โครงการ STEM Education
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 

Similar to แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา

Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทIct Krutao
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมOrange Wongwaiwit
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21Wiriyah Ruechaipanit
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์30082527
 
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Similar to แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา (20)

Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
 
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
Stem แนวทางการเรียนการสอนที่มีลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนสาขา science,...
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 

แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา

  • 1. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 1 การให้การศึกษาสําหรับศตวรรษที 21 หลักสูตรแบบยึดโครงงานเป็นฐาน (project -based curriculum) เป็นหลักสูตรทีให้นักเรียนเกียวข้องกับ ปัญหาในโลกทีเป็นจริง เป็นประเด็นทีเกียวข้องกับความเป็นมนุษย์ และคําถามเกียวกับอนาคตเชิง วัฒนธรรม สังคม และสากลภาพของโรงเรียนจะเปลียนจากการเป็นสิงก่อสร้างเป็นภาพของการเป็นศูนย์ รวมประสาท(nerve centers)ทีไม่จํากัดอยู่แต่ในห้องเรียนแต่จะเชือมโยงครู นักเรียนและชุมชน เข้าสู่ขุม คลังแห่งความรู้ทัวโลกครูเองจะเปลียนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือให้ นักเรียนสามารถเปลียนสารสนเทศเป็นความรู้ และนําความรู้เป็นเครืองมือสู่การปฏิบัติและให้เป็น ประโยชน์ เป็นการเรียนรู้เพือสร้างความรู้ และต้องมีการสร้างวัฒนธรรมการสืบค้น (create a culture of inquiry) ในศตวรรษที 21 การให้การศึกษาตามทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom´s Taxonomy of Learning) จะเปลียนไป เน้นทักษะการเรียนรู้ขันทีสูงขึน (higher order learning skills) โดยเฉพาะทักษะ การประเมินค่า (evaluating skills) จะถูกแทนทีโดยทักษะการนําเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ (ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตทีผ่านมา นักเรียนไปโรงเรียนเพือใช้เวลาใน การเรียนรายวิชาต่างๆ เพือรับเกรด และเพือให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ที แตกต่างไป เช่น การเรียนการสอนทีช่วยให้นักเรียนได้เตรียมตัวเพือใช้ชีวิตในโลกทีเป็นจริง (life in the real world) เน้นการศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนทีมีความยืดหยุ่น (flexible in how we teach) มีการกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา(resourceful)ทียังคง แสวงหาการเรียนรู้แม้จะจบการศึกษาออกไป ลักษณะของหลักสูตรในศตวรรษที 21 จะเป็นหลักสูตรทีเน้นคุณลักษณะเชิงวิพากษ์ (critical attributes) เชิงสหวิทยาการ (interdisciplinary) ยึดโครงงานเป็นฐาน (project-based) และขับเคลือนด้วย การวิจัย (research-driven) เชือมโยงท้องถินชุมชนเข้ากับภาค ประเทศ และโลก ในบางโอกาสนักเรียน สามารถร่วมมือ (collaboration)กับโครงงานต่างๆได้ทัวโลก เป็นหลักสูตรทีเน้นทักษะการคิดขันสูง พหุ ปัญญา เทคโนโลยีและมัลติมีเดีย ความรู้พืนฐานเชิงพหุสําหรับศตวรรษที 21 และการประเมินผลตาม การให้การศึกษาสําหรับศตวรรษที 21 จะมีความ ยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ท้าทาย และซับซ้อน เป็ น การศึกษาทีจะทําให้โลกเกิดการเปลียนแปลงอย่าง รวดเร็วอย่างเต็มไปด้วยสิงท้าทาย แลปัญหา รวมทัง โอกาสและสิงทีเป็ นไปได้ใหม่ๆ ทีน่าตืนเต้น โรงเรียนในศตวรรษที 21 จะเป็นโรงเรียนทีมี
  • 2. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 2 สภาพจริงรวมทังการเรียนรู้จากการให้บริการ(service)ก็เป็นองค์ประกอบทีสําคัญภาพของห้องเรียน จะ ขยายกลายเป็นชุมชนทีใหญ่ขึน (greater community) นักเรียนมีคุณลักษณะเป็นผู้ชีนําตนเองได้ (self- directed) มีการทํางานทังอย่างเป็นอิสระและอย่างร่วมมือกันคนอืน หลักสูตรและการสอนจะมีลักษณะ ท้าทายสําหรับนักเรียนทุกคน และคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล หลักสูตรจะไม่เน้นการยึดตํารา เป็นตัวขับเคลือน (textbook-driven) หรือแบบแยกส่วน (fragmented) เช่นในอดีต แต่จะเป็นหลักสูตร แบบยึดโครงงานและการบูรณาการ การสอนทักษะและเนือหาจะไม่เป็นจุดหมายปลายทาง (as an end) เช่นทีเคยเป็นมา แต่นักเรียนจะต้องมีการเรียนรู้ผ่านการวิจัยและการปฏิบัติในโครงงาน การเรียนรู้จาก ตําราจะเป็นเพียงส่วนหนึงเท่านัน ความรู้ (knowledge) จะไม่หมายถึงการจดจําข้อเท็จจริงหรือตัวเลข แต่ จะเป็นสิงทีเกิดขึนจากการวิจัยและการปฏิบัติโดยเชือมโยงกับความรู้และประสบการณ์เก่าทีมีอยู่ ทักษะ และเนือหาทีได้รับจะเกียวข้องและมีความจําเป็นต่อการปฏิบัติในโครงงาน จะไม่จบลงตรงทีการได้รับ ทักษะและเนือหาแล้วเท่านัน การประเมินผลจะเปลียนจากการประเมินความจําและความไม่เกียวโยงกับ ความเข้าใจต่อการนําไปปฏิบัติได้จริง ไปเป็นการประเมินทีผู้ถูกประเมินมีส่วนร่วมในการประเมิน ตนเองด้วย (self-assessment) ทักษะทีคาดหวังสําหรับศตวรรษที 21 ทีเรียนรู้ผ่านหลักสูตรทีเป็นสห วิทยาการ บูรณาการ ยึดโครงงานเป็นฐาน และอืนๆ ดังกล่าวจะเน้นเรือง 1) ทักษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม (learning and innovation skills) 2) ทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) ทักษะ สารสนเทศ สือ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ทีคาดหวังว่าจะเกิดขึนได้ จากความร่วมมือ (collaboration) ในการทํางานเป็นทีม การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ในปัญหาที ซับซ้อน การนําเสนอด้วยวาจาและด้วยการเขียน การใช้เทคโนโลยี ความเป็นพลเมืองดี การฝึกปฏิบัติ อาชีพ การวิจัย และการปฏิบัติสิงต่างๆ ทีกล่าวมาข้างต้น ดังนัน การให้การศึกษาสําหรับศตวรรษที 21 ต้องเปลียนแปลงทัศนะ (perspectives) จาก กระบวนทัศน์แบบดังเดิม (tradition paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (new paradigm) ทีให้โลกของ นักเรียนและโลกความเป็นจริงเป็นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ทีไปไกลกว่าการ ได้รับความรู้แบบง่ายๆ ไปสู่การเน้นพัฒนาทักษะและทัศนคติ — ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวัตกรรม ความสร้างสรรค์ ทักษะการสือสาร ทักษะ และค่านิยมทางเทคโนโลยี ความเชือมันตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจตนเอง และความตระหนักใน สภาพแวดล้อม และเหนืออืนใด คือ ความสามารถใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (the ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively) ถือเป็นทักษะทีสําคัญจําเป็นสําหรับการเป็นนักเรียน ในศตวรรษที 21 ถือเป็นสิงทีท้าทายในการทีจะพัฒนาเรียนเพืออนาคต ให้นักเรียนมีทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพือเผชิญกับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ทีมีทัง ความสําเร็จและมีความสุข
  • 3. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 3 การเรียนรู้ในศตวรรษที 21 ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที21 องค์ประกอบทีสําคัญและจําเป็นเพือในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที 21 คือ มาตรฐานศตวรรษที 21 การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและสภาพแวดล้อม การเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตทีก่อให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษที 21 สําหรับ นักเรียนในปัจจุบันมาตรฐานศตวรรษที 21 - มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที 21 นักเรียนมีความรู้ในเนือหาและความเชียวชาญ - สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที 21 - เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึงมากกว่าความรู้แบบผิวเผิน - การของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครืองมือในโลกแห่งความเป็นจริงและพวกเขา จะพบผู้เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในทีทํางานและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีทีสุดเมือทํางานอย่างแข็งขัน การแก้ปัญหาทีมีความหมาย - การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู้ การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที 21 - รองรับความสมดุลของการประเมินรวมทังมีคุณภาพสูง การทดสอบมาตรฐานทีมีคุณภาพสูง พร้อมกับการประเมินผลในชันเรียนทีมีประสิทธิภาพ - เน้นข้อเสนอแนะทีเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานของนักเรียนทีถูกฝังลงในการเรียนรู้ใน ชีวิตประจําวัน - การประเมินการใช้เทคโนโลยีให้มีความสมดุล ความชํานาญนักเรียนซึงเป็นการวัดทักษะใน ศตวรรษที 21 - ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาทีแสดงให้เห็นการเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที 21 เพือการศึกษาและการทํางานในอนาคต - ช่วยให้มาตรการการประเมินประสิทธิภาพระบบการศึกษาในระดับทีสูงประเมินถึงสมรรถนะ ของนักเรียนด้านทักษะในศตวรรษที 21 หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที21 - สอนทักษะในศตวรรษที 21 ซึงแยกกัน ในบริบทของวิชาหลักและ รูปแบบสหวิทยาการใน ศตวรรษที 21
  • 4. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 4 - มุ่งเน้นไปทีการให้โอกาสสําหรับการใช้ทักษะในศตวรรษที 21 ในเนือหาและวิธีการตาม ความสามารถในการเรียนรู้ - ช่วยให้วิธีการเรียนรู้นวัตกรรมทีบูรณาการการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทางเพิมเติมในการ ใช้ปัญหาเป็นฐาน และทักษะการคิดขันสูง - สนับสนุนให้รวมทรัพยากรของชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน การพัฒนามืออาชีพในศตวรรษที21 - ครูมีแนวทางการสอนมีความสามารถสําหรับการบูรณาการทักษะในศตวรรษที 21 เครืองมือ และกลยุทธ์การเรียนการสอนไปสู่การปฏิบัติในชันเรียนของพวกเขา - การเรียนการสอนมทีมุ่งเน้นการทําโครงงาน - แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ความเข้าใจในเรืองจริงสามารถเพิมการแก้ปัญหาการคิดเชิงวิพากษ์ และอืน ๆ ทักษะในศตวรรษที 21 - ช่วยให้มืออาชีพในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ สําหรับครูที 21 ว่ารูปแบบชนิดของการเรียนรู้ใน ห้องเรียนทีดีทีสุดส่งเสริมทักษะในศตวรรษที 21 สําหรับนักเรียน - การพัฒนา ความสามารถในการระบุตัวตนของนักเรียนโดยครูมีรูปแบบการเรียนโดยเฉพาะ อย่างยิงรู้จุดแข็งและจุดอ่อนของผู้เรียน - ช่วยให้ครูพัฒนาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ต่างๆ (เช่นการประเมินผลการเรียนการสอน) ถึงนักเรียนทีมีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมทีสนับสนุนความแตกต่างการเรียนการสอนและ การเรียนรู้ - รองรับการประเมินผลอย่างต่อเนืองของการพัฒนาทักษะของนักเรียนศตวรรษที 21 - ส่งเสริมการแลกเปลียนความรู้ระหว่างชุมชนของผู้ปฏิบัติงานโดยการหันหน้าเข้าหากันการ สือสารเสมือนและผสม - ใช้รูปแบบความเป็นอันหนึงหันเดียวกันและความยังยืนของการพัฒนาวิชาชีพ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที 21 - สร้างการเรียนรู้วิธีปฏิบัติทีสนับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทีจะสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยทักษะในศตวรรษที 21 - สนับสนุนการเรียนรู้ชุมชนมืออาชีพทีช่วยให้การศึกษาเพือการทํางานร่วมกันแบ่งปันแนวทาง ปฏิบัติทีดีและบูรณาการทักษะในศตวรรษที 21 ในการปฏิบัติในชันเรียน
  • 5. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 5 - ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ในงานทีเกียวข้องในโลกศตวรรษที 21 แวดล้อมจริง (เช่น ปฏิบัติจริง หรือผ่านการทํางานทีใช้ตามโครงการหรืออืน ๆ ) - เรียนรู้การใช้เครืองมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคุณภาพ รู้จักการทํางานสําหรับการ เรียนรู้เป็นกลุ่มทีมและรายบุคคล - สนับสนุนการติดต่อกับชุมชนและการมีส่วนระหว่างต่างชาติในการเรียนรู้โดยตรงและ ออนไลน์ การเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในศตวรรษที 21 อาศัยการทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ โดย การมีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายทีชัดเจน ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ทีจําเป็นในการใช้ชีวิตและทํางาน อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้และทักษะเพือให้สามารถการใช้ชีวิต การทํางาน ดํารงชีพอยู่ได้กับภาวะ เศรษฐกิจในสังคมโลกปัจจุบัน
  • 6. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 6 ศิษย์ ในศตวรรษที คําถามสําคัญทีกําลังอยู่ในใจครูทุกคนคือ เรากําลังจะพบกับศิษย์แบบไหนในอนาคต ศิษย์ของ เราในวันนีเป็นอย่างไร ศิษย์ทีเป็นเด็กสมัยใหม่ หรือเป็นคนของศตวรรษที จะมีลักษณะอย่างไรนัน ครู ในศตวรรษที เองก็จําเป็นอย่างยิงทีต้องรู้จักศิษย์ในศตวรรษที นีด้วย หนังสือ 21st Century Skills : Learningfor Life in Our Timesระบุ ลักษณะ ประการของเด็กสมัยใหม่ไว้ดังนี • มีอิสระทีจะเลือกสิงทีตนพอใจ แสดงความเห็น และลักษณะเฉพาะของตน • ต้องการดัดแปลงสิงต่างๆให้ตรงตามความพอใจและความต้องการ ของตน (customization & personalization) • ตรวจสอบหาความจริงเบืองหลัง (scrutiny) • เป็นตัวของตัวเองและสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อืน เพือรวมตัวกันเป็นองค์กร เช่น ธุรกิจ รัฐบาล และสถาบันการศึกษา • ความสนุกสนานและการเล่นเป็นส่วนหนึงของงาน การเรียนรู้ และชีวิตทางสังคม • การร่วมมือ และความสัมพันธ์เป็นส่วนหนึงของทุกกิจกรรม • ต้องการความเร็วในการสือสาร การหาข้อมูล และตอบคําถาม • สร้างนวัตกรรมต่อทุกสิงทุกอย่างในชีวิต หนังสือเล่มนี ยังได้ระบุหลักการหรือปัจจัยสําคัญด้านการเรียนรู้ใน ศตวรรษที ไว้ ประการคือ • Authentic learning • Mental model building • Internal motivation • Multiple intelligence • Social learning Authentic learning : การเรียนรู้ทีแท้จริงอยู่ในโลกจริงหรือชีวิตจริง การเรียนวิชาในห้องเรียน ยังไม่ใช่ การเรียนรู้ทีแท้จริง ยังเป็นการเรียนแบบสมมติ ดังนัน ครูเพือศิษย์จึงต้องออกแบบการเรียนรู้ให้ศิษย์ได้ เรียนในสภาพทีใกล้เคียงชีวิตจริงทีสุด กล่าวในเชิงทฤษฎีได้ว่า การเรียนรู้ขึนอยู่กับบริบทหรือ สภาพแวดล้อม ในขณะเรียนรู้ ห้องเรียนไม่ใช่บริบททีจะทําให้เกิดการเรียนรู้ในมิติทีลึก เพราะห้องเรียน ไม่เหมือนสภาพในชีวิตจริง การสมมติโจทย์ทีคล้ายจะเกิด ในชีวิตจริงก็ได้ความสมจริงเพียงบางส่วน แต่ หากไปเรียนในสภาพจริงก็จะ ได้การเรียนรู้ในมิติทีลึกและกว้างขวางกว่าสภาพสมมติ การออกแบบการ เรียนรู้ให้ศิษย์เกิด “การเรียนรู้ทีแท้” (authentic learning) เป็นความท้าทายต่อครูเพือศิษย์ในสภาพทีมี ข้อจํากัดด้านเวลา และทรัพยากรอืน ๆ รวมทังจากความเป็นจริงว่า เด็กนักเรียนในเมืองกับใน ชนบทมี สภาพแวดล้อมและชีวิตจริงทีแตกต่างกันมาก
  • 7. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 7 Mental Model Building: การเรียนรู้ในระดับสร้างกระบวนทัศน์อาจมองอีกมุมหนึงว่า เป็น authentic learning แนวหนึง ผมมองว่านีคือ การอบรมบ่มนิสัย หรือ การปลูกฝังความเชือหรือค่านิยมในถ้อยคําเดิม ของเรา แต่ในความหมาย ข้อนีเป็นการเรียนรู้วิธีการนําเอาประสบการณ์มาสังสมจนเกิดเป็นกระบวน ทัศน์ (หรือความเชือ ค่านิยม) และทีสําคัญกว่านันคือ สังสมประสบการณ์ใหม่ เอามาโต้แย้งความเชือ หรือค่านิยมเดิม ทําให้ละจากความเชือเดิม หันมายึดถือความเชือหรือกระบวนทัศน์ใหม่นันนคือ เป็นการ เรียนรู้ (how to learn, how to unlearn/ delearn, how to relean) ไปพร้อม ๆ กัน ทําให้เป็นคนทีมีความคิด เชิงกระบวนทัศน์ ชัดเจน และเกิดการเรียนรู้เชิงกระบวนทัศน์ใหม่ได้ แต่การจะมีทักษะหรือ ความสามารถขนาดนี จําต้องมีความสามารถรับรู้ข้อมูลหลักฐานใหม่ ๆ และนํามาสังเคราะห์เป็นความรู้ เชิงกระบวนทัศน์ใหม่ได้ Internal Motivation : การเรียนรู้ทีแท้จริงขับดันด้วยฉันทะ ซึงเป็นสิงทีอยู่ภายในตัวคน ไม่ใช่ขับดัน ด้วยอํานาจของครูหรือพ่อแม่ เด็กทีเรียนเพราะไม่อยากขัดใจ ครูหรือพ่อแม่จะเรียนได้ไม่ดีเท่าเด็กทีเรียน เพราะอยากเรียน เมือเด็กมีฉันทะและได้รับการส่งเสริมทีถูกต้องจากครู วิริยะ จิตตะ และวิมังสา (อิทธิ บาทสี) ก็จะตามมา ทําให้เกิดการเรียนรู้ในมิติทีลึกซึง และเชือมโยง Multiple Intelligence: เวลานีเป็นทีเชือกันทัวไปแล้วว่า มนุษย์เรามีพหุปัญญา (Multiple Intelligence) และเด็กแต่ละคนมีความถนัดหรือปัญญาทีติดตัว มาแต่กําเนิดต่างกัน รวมทังสไตล์การเรียนรู้ก็ต่างกัน ดังนัน จึงเป็น ความท้าทายต่อครูเพือศิษย์ในการจัดการเรียนรู้โดยคํานึงถึงความแตกต่าง ของเด็กแต่ละ คน และจัดให้การเรียนรู้ส่วนหนึงเป็นการเรียนรู้เฉพาะตัว (personalized learning) เรืองนีมีการวิจัยและ การออกแบบการเรียนรู้ได้มากมาย ดังตัวอย่าง Universal Design for Learning ซึงก็คือ เครืองมือ สร้าง ความยืดหยุ่นหลากหลายในการออกแบบการเรียนรู้นันเอง Social Learning : การเรียนรู้เป็นกิจกรรมทางสังคม หากยึดหลักการนี ครูเพือศิษย์ก็ จะสามารถ ออกแบบกระบวนการทางสังคมเพือให้ศิษย์เรียนสนุก และเกิด นิสัยรักการเรียน เพราะการเรียนจะไม่ใช่ กิจกรรมส่วนบุคคลทีหงอยเหงา น่าเบือ ขออนุญาตยํานะครับว่า อย่าติดทฤษฎีหรือเชือตามหนังสือ จนเกินไป จนไม่กล้าทดลองวิธีคิดใหม่ ๆ ทีอาจจะเหมาะสมต่อศิษย์ของเรามากกว่า แนวคิดแบบฝรัง เรา อาจคิดหลักการเรียนรู้ตามแบบของเราทีเหมาะสมต่อ บริบทสังคมไทยขึนมาใช้เองก็ได้ ท่านทีสนใจ โปรดดูวิดีโอเล่าผลการวิจัยจากชีวิตจริงที http:// blog.ted.com/2010/09/07/the-child-driven-education- sugatamitra-on-ted-com ซึงจะเห็นว่า เด็ก ๆ มีความสนใจใคร่รู้ใคร่เรียน เป็นทุน และเด็ก ๆ มี ความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองหากสิงแวดล้อมเอืออํานวย แต่ผมก็ยังเชือว่าครูทีดีจะช่วยเพิมพลังและ คุณค่าของการ เรียนรู้ได้อีกมาก ในขณะเดียวกัน การศึกษาตามแนวทางปัจจุบันก็ทําลาย ความริเริม สร้างสรรค์ของเด็ก
  • 8. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 8 ทักษะครูเพือศิษย์ไทย ในศตวรรษที ครูจึงต้องยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก” คือ ในการจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ของเด็ก ครูต้องตอบได้ว่า ศิษย์ได้เรียนอะไร และเพือให้ศิษย์ได้เรียนสิงเหล่านัน ครูต้องทําอะไร ไม่ทําอะไร ในสภาพเช่นนี ครูยิง มีความ สําคัญมากขึน และท้าทายครูทุกคนอย่างทีสุดทีจะไม่ทําหน้าทีครูผิดทาง คือ ทําให้ศิษย์เรียนไม่ สนุก หรือเรียนแบบขาดทักษะสําคัญ การเรียนรู้ในศตวรรษที ต้อง “ก้าวข้ามสาระวิชา” ไปสู่การ เรียนรู้ “ทักษะเพือการดํารงชีวิตในศตวรรษที ” ( 21st Century Skills) ทีครูสอน ไม่ได้ นักเรียนต้อง เรียนเอง หรือพูดใหม่ว่าครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบ การเรียนรู้ และอํานวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ ให้นักเรียน เรียนรู้จากการเรียนแบบลงมือทํา แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและ สมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนีเรียกว่า PBL (Project-Based Learning) ครูเพือศิษย์ต้องเรียนรู้ทักษะในการออกแบบการเรียนรู้แบบ PBL ให้ เหมาะแก่วัยหรือ พัฒนาการของศิษย์ สาระวิชาก็มีความสําคัญ แต่ไม่เพียงพอสําหรับการเรียนรู้เพือมีชีวิต ในโลกยุค ศตวรรษที ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา(contentหรือ subjectmatter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้า เองของศิษย์โดยครู ช่วยแนะนํา และช่วยออกแบบกิจกรรมทีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถ ประเมิน ความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้ ทักษะเพือการดํารงชีวิตในศตวรรษที ได้แก่ สาระวิชาหลัก • ภาษาแม่ และภาษาโลก • ศิลปะ • คณิตศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์ • วิทยาศาสตร์ • ประวัติศาสตร์ • ภูมิศาสตร์ • รัฐ และความเป็นพลเมืองดี ครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้ และอํานวยความสะดวก (facilitate) การเรียนรู้ ให้นักเรียน เรียนรู้จาก การเรียนแบบ ลงมือทํา หรือปฏิบัติ แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจ และ สมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนีเรียกว่า PBL (Project-Based Learning)
  • 9. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 9 หัวข้อสําหรับศตวรรษที • ความรู้เกียวกับโลก • ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ • ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองดี • ความรู้ด้านสุขภาพ • ความรู้ด้านสิงแวดล้อม ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม • ความริเริมสร้างสรรค์และนวัตกรรม • การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา • การสือสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สือ และเทคโนโลยี • ความรู้ด้านสารสนเทศ • ความรู้เกียวกับสือ • ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ • ความยืดหยุ่นและปรับตัว • การริเริมสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง • ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม • การเป็นผู้สร้างหรือผลิต (productivity) และความรับผิดรับชอบ เชือถือได้ (accountability) • ภาวะผู้นําและความรับผิดชอบ (responsibility) นอกจากนันโรงเรียนและครูต้องจัดระบบสนับสนุนการเรียนรู้ต่อไปนี • มาตรฐานและการประเมินในยุคศตวรรษที • หลักสูตรและการเรียนการสอนสําหรับศตวรรษที • การพัฒนาครูในศตวรรษที • สภาพแวดล้อมทีเหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที ทักษะของคนในศตวรรษที ทีคนทุกคนต้องเรียนรู้ตังแต่ชันอนุบาล ไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C 3R Rได้แก่  Reading (อ่านออก)  (W)Riting (เขียนได้)  (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
  • 10. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 10 7C ได้แก่  Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิด อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะ ในการแก้ปัญหา)  Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)  Cross-culturalunderstanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)  Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทํางานเป็นทีม และภาวะผู้นํา)  Communications, information & media literacy (ทักษะด้าน การสือสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสือ)  Computing & ICT literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสือสาร)  Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
  • 11. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 11 เครืองมือในการพัฒนาการเรียนสู่สตวรรษที ครูเพือศิษย์ต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะในการเป็นโค้ช และเป็น “คุณอํานวย” (facilitator) ใน การเรียนรู้แบบ PBL (Project-Based Learning) ของศิษย์ขอยําว่าครูต้องเลิกเป็น “ผู้สอน” ผันตัวเองมา เป็นโค้ช หรือ “คุณ อํานวย” ของการเรียนของศิษย์ทีส่วนใหญ่เรียนแบบ PBL นันหมายถึงโรงเรียนใน ศตวรรษที ต้องเลิกเน้นสอน หันมาเน้นเรียน ซึงต้องเน้นทัง การเรียนของศิษย์และของครู ครูจะต้อง ปรับตัวมากซึงเป็นเรืองยาก จึงต้องมีตัวช่วย คือ Professional Learning Communities (PLC) ซึงก็คือ การ รวมตัวกันของ ครูประจําการเพือแลกเปลียนเรียนรู้ประสบการณ์การทําหน้าทีครูนันเอง ริชาร์ด ดูฟูร์ (Richard Du Four) เป็น “บิดาของ PLC” ตาม หนังสือเล่มนี เขาบอกว่าเขาเริมทํา งานวิจัยพัฒนาและส่งเสริมPLC มา134 วิถีสร้างการเรียนรู้เพือศิษย์ในศตวรรษที ตังแต่ คศ. คือ พ.ศ. ก่อนผมทํางานเรืองการจัดการความรู้ (KM) ปี คือผมทํางาน KM ปี พ.ศ. ทีจับ เรืองนี โยงเข้าหากัน ก็เพราะ PLC (Professional Learning Community) ก็คือ CoP (Community of Practice) ของครูนันเอง และCoP คือรูปแบบหนึงของ KM PLC คืออะไร PLC (Professional Learning Communities) คือ : กระบวนการต่อเนืองทีครูและนักการ ศึกษาทํางานร่วมกัน ในวงจรของการร่วมกันตังคําถาม และการทําวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพือบรรลุ ผลการ เรียนรู้ทีดีขึนของนักเรียน โดยมีความเชือว่า หัวใจของการพัฒนา การเรียนรู้ของนักเรียนให้ดีขึน อยู่ที การเรียนรู้ทีฝังอยู่ในการทํางานของครู และนักการศึกษา PLC เป็นกิจกรรมทีซับซ้อน (complex) มี หลากหลายองค์ประกอบ จึงต้องนิยามจากหลายมุม โดยมีแง่มุมทีสําคัญต่อไปนี o เน้นทีการเรียนรู้ o มีวัฒนธรรมร่วมมือกันเพือการเรียนรู้ของทุกคน ทุกฝ่าย o ร่วมกันตังคําถามต่อวิธีการทีดี และตังคําถามต่อสภาพปัจจุบัน o เน้นการลงมือทํา o มุ่งพัฒนาต่อเนือง o เน้นทีผล (หมายถึง ผลสัมฤทธิในการเรียนรู้ของศิษย์) หัวใจสําคัญทีสุดของ PLC คือ เป็นเครืองมือในการดํารงชีวิตทีดีของครู ในยุคศตวรรษที ที การเรียนรู้ในโรงเรียน (และมหาวิทยาลัย) ต้องเปลียน ไปจากเดิมโดยสินเชิง ครูต้องเปลียนบทบาทจาก “ครูสอน” (teacher) มา เป็น “ครูฝึก” (coach) หรือครูผู้อํานวยความสะดวกในการเรียน (learning facilitator) ห้องเรียนต้องเปลียนจากห้องสอน (class room) มาเป็นห้อง ทํางาน (studio) เพราะในเวลา เรียนส่วนใหญ่ นักเรียนจะเรียนเป็นกลุ่ม และ ทํางานร่วมกันทีเรียกว่า การเรียนแบบโครงการ (Project- Based Learning)
  • 12. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 12 การศึกษาต้องเปลียนจากเน้นการสอน (ของครู) มาเป็นเน้นการเรียน (ของนักเรียน) เปลียนจาก เน้นการเรียนของปัจเจก(IndividualLearning)มาเป็นเรียนร่วมกันเป็นกลุ่ม(Team Learning) เปลียนจาก การเรียนแบบ เน้นการแข่งขันมาเป็นเน้นความร่วมมือหรือช่วยเหลือแบ่งปันกัน ครูเปลียนจากการบอก เนือหาสาระ มาเป็นทําหน้าทีสร้างแรง บันดาลใจ สร้างความท้าทาย ความสนุกในการเรียนให้แก่ศิษย์ โดยเน้น ออกแบบโครงการให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันลงมือทําเพือเรียนรู้จากการลงมือ ทํา (Learning by Doing) เพือให้ได้เรียนรู้ฝึกฝนทักษะเพือการดํารงชีพในศตวรรษที (21st Century Skills) แล้วครูชวน ศิษย์ร่วมกันทบทวนไตร่ตรอง (reflection หรือ AAR) เพือให้เกิดการเรียนรู้หรือทักษะทีลึกและเชือมโยง รวมทังโยงประสบการณ์ตรงเข้ากับทฤษฎีทีมีคนเผยแพร่ไว้แล้ว ทําให้เกิดการเรียนรู้เชิงทฤษฎีจากการ ปฏิบัติ ไม่ใช่จากการฟังและท่องบ่น หัวใจของการเปลียนแปลงคือ เปลียนจากเรียนรู้จากฟังครูสอน (Learning by Attending Lecture/Teaching) มาเป็น เรียนรู้จากการ ลงมือทํา (Learning by Doing)มองจากมุมหนึง PLC คือ เครืองมือสําหรับให้ครูรวมตัวกันเป็นชุมชน (community) ทําหน้าทีเป็นผู้นําการเปลียนแปลง (Change Agent) ขับเคลือนการเปลียนแปลงในระดับ “ปฏิรูป” การเรียนรู้ เป็นการปฏิรูปที “เกิดจากภายใน” คือ ครูร่วมกันดําเนินการ เพือให้การปฏิรูปการเรียนรู้ ดําเนินคู่ขนาน และเสริมแรงกันทังจากภายในและจาก ภายนอก PLC เป็นเครืองมือให้ครูเป็น ผู้ลงมือกระทํา (actor) เป็น “ประธาน” เพือสร้างการเปลียนแปลง ให้แก่วงการศึกษา ไม่ใช่ปล่อยให้ครูเป็น “กรรม” (ผู้ถูกกระทํา) อยู่เรือยไป หรือเป็นเครืองมือปลดปล่อย ครูออกจากความ สัมพันธ์เชิงอํานาจ สู่ความสัมพันธ์แนวราบเพือร่วมกันสร้างการเปลียนแปลง ให้แก่ การศึกษา รวมทังสร้างการรวมตัวกันของครู เพือทํางานสร้างสรรค์ ได้แก่ การนําประสบการณ์การ จัดการเรียนรู้แบบ PBL และนวัตกรรมอืน ๆ ทีตนเองทดลอง มาแลกเปลียนแบ่งปันกัน เกิดการสร้าง ความรู้หรือยกระดับความรู้ในการทําหน้าทีครูจากประสบการณ์ตรง และจากการเทียบเคียงกับ ทฤษฎีทีมี คนศึกษาและเผยแพร่ไว้ PLC คือเครืองมือทีจะช่วยนําไปสู่การตังโจทย์และทํา “วิจัยในชันเรียน” ทีทรงพลังสร้างสรรค์ จะช่วยการออกแบบวิธีวิทยา การวิจัย การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัย และการสังเคราะห์ ออกมาเป็นความรู้ใหม่ ทีเชือมโยงกับบริบทความเป็นจริงของสังคมไทย ของวงการศึกษาไทย คือจะเป็น ผลการวิจัยในชันเรียนทีไม่ใช่จํากัดอยู่ เฉพาะข้อมูลในชันเรียนเท่านัน แต่จะเชือมโยงสู่ชีวิตจริงของผู้คน ทีเป็น บริบทของการเรียนรู้ของนักเรียนและการทําหน้าทีครูด้วย PLC ทีแท้จริงต้องมีการทําอย่างเป็น ระบบ มีผู้เข้าร่วมขับเคลือน ในหลากหลายบทบาท โดยมีเป้าหมายเพือพัฒนาผลสัมฤทธิของการเรียน ของศิษย์
  • 13. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 13 กลยุทธ์การเรียนการสอนทีใช้เสริมสร้างผลการเรียนรู้ในศตวรรษที 21 กลยุทธ์การเรียนการสอนทีใช้เสริมสร้างผลการเรียนรู้ในศตวรรษที 21 มีดังนี 1) วิธีสอน 1.1 วิธีสอนแบบสืบสอบ 1.2 วิธีสอนแบบโครงงาน 1.3 วิธีสอนแบบอุปนัย เป็นต้น 2) รูปแบบการสอน 2.1 รูปแบบการเรียนรู้CIPPA 2.2 รูปแบบวงจรการเรียนรู้4 ขันตอน 2.3 รูปแบบวงจรการเรียนรู้5 ขันตอน 2.4 รูปแบบวงจรการเรียนรู้7 ขันตอน เป็นต้น 3) แนวการสอน 3.1 การจัดการเรียนรู้เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง 3.2 การเรียนรู้ใช้โครงงานเป็นฐาน 3.3 การเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็นฐาน 3.4 การเรียนรู้ใช้วิจัยเป็นฐาน 3.5 การเรียนรู้ใช้แหล่งข้อมูลเป็นฐาน 3.6 การเรียนรู้ใช้กิจกรรมเป็นฐาน 3.7 การเรียนรู้ใช้สถานการณ์จําลองเป็นฐาน 3.8 การเรียนรู้ใช้ประเด็นสังคมเป็นฐาน 3.9การเรียนรู้ใช้ประเด็นสังคมเชือมโยงวิทยาศาสตร์เป็นฐาน 3.10 กระบวนการเรียนรู้5 ขันตอน 4) เทคนิคการสอน 4.1 เทคนิคการใช้คําถาม 4.2 เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ 4.3 เทคนิคการเรียนรู้เสริมสร้างพหุปัญญา 4.4 เทคนิคการใช้ผังกราฟิก 4.5 เทคนิคการเสริมแรง 4.6 เทคนิคเพือนช่วยเพือน 4.7 เทคนิคหมวก 6 ใบของเดอโบโน เป็นต้น
  • 14. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 14 • กระบวนการทีใช้เสริมสร้างทักษะการคิดมีหลายกระบวนการ ดังเช่น 1. กระบวนการสืบสอบ 1) ระบุคําถามสําคัญ (key question) 2) ตังสมมติฐานหรือคาดคะเนคําตอบ 3) ออกแบบเพือรวบรวมข้อมูลและแสวงหาสารสนเทศ 4) วิเคราะห์และสือความหมายข้อมูล 5) แปลความหมายข้อมูลและสรุปผลหรือสร้างคําอธิบาย 2. กระบวนการทํา โครงงาน 1) ระบุคําถามโครงงาน (project questions หรือ research questions) 2) วางแผนทํา โครงงาน 3) ดํา เนินการทํา โครงงาน 4) วิเคราะห์และสือความหมายข้อมูล 5) สรุปผลและประเมิน 3. กระบวนการสร้างมโนทัศน์ประเภทความหมาย 1) สังเกตด้วยประสาทสัมผัสทัง 5 2) แยกแยะความเหมือนและความต่าง 3) หาลักษณะร่วม 4) ระบุชือความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ 5) สรุปหรือสร้างมโนทัศน์ 4. กระบวนการวิเคราะห์ 1) สังเกต 2) จําแนกแยกแยะ 3) จัดหมวดหมู่อาจใช้สถิติประกอบ 4) สรุปผลการวิเคราะห์ 5. กระบวนการสือความหมายข้อมูล 1) วิเคราะห์หรือจัดกระทําข้อมูล 2) เลือกแบบการนํา เสนอให้เหมาะสมกับข้อมูล 3) ปฏิบัติการเสนอข้อมูล 4) ประเมิน หรือตรวจสอบ 5) ระบุชือแบบการนํา เสนอข้อมูล
  • 15. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 15 6. กระบวนการสังเคราะห์ 1) วิเคราะห์สิงต่างๆ ตังแต่2 สิงขึนไป 2) ระบุลักษณะเด่น และลักษณะร่วมของสิงต่างๆ 3) ผสมผสานลักษณะเด่นเพือสร้างสิงใหม่ 4) สร้างสิงใหม่ทีมีความแตกต่างจากสิงเดิม 7. กระบวนการกลุ่ม 1) ระบุเป้าหมายและชีแจงให้เข้าใจตรงกัน 2) วางแผนการดํา เนินงาน 3) ดํา เนินงานตามแผนอย่างร่วมมือร่วมใจ 4) ประเมินผลการทํางาน 5) สรุปผลการทํางาน 8. กระบวนการเสริมสร้างทักษะการปฏิบัติ 1) สังเกต 2) ทําตามต้นแบบ 3) ทํา งานโดยไม่มีต้นแบบ 4) ฝึกหัด 5) ริเริมสร้างงานใหม่ 9. กระบวนการแก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์
  • 16. แนวทางการดําเนินงานด้านการเรียนการสอนในศตวรรษที /สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา หน้า 16 10. กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม Museum of Science’s National Center for Technology Literacy(2007) เสนอขันตอนของกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม5 ขันตอนดังนี 1) ขันตังคําถาม(Ask) 2) ขันจินตนาการวิธีแก้ปัญหา(Imagine) 3) ขันวางแผน(Plan) 4) ขันสร้างสรรค์ผลผลิต (Create) 5) ขันปรับปรุง(Improve) ตัวอย่าง กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขันตอนในการสอนทําโครงงาน ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กลยุทธ์การสอน แนวการสอน รูปแบบการเรียนการสอน และ วิธีสอนต่างๆ ซึงแต่ละวิธีนันประกอบด้วยกระบวนการต่างๆ ทังกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิด และปฏิบัติ ซึงเป็นการเสริมสร้างทักษะการคิดและกระบวนการคิดทักษะปฏิบัติอันเป็นความชํานาญ ทัวไปและความชํานาญของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และแต่ละสาขาวิชาซึงผู้สอนควรเห็นความสําคัญ และนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทังยุคนีและยุคใหม่