SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
เหตุการณ์สาคัญในท้องถิ่น
บทนา
การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม
เพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน
รักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทาความรู้จัก
สังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและ
ความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคม
มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหา
คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่
หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่ง
ที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการ
ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก
หลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอ
ไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจน
เพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย
1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน)
2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม
3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์
4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง
5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 1
การกาหนดหัวเรื่อง
การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้
1. เหตุการณ์สาคัญ
2. เหตุบ้านการเมือง
3. พื้นที่สีแดงไทยกัมพูชา
4. ศูนย์พักพิงโนนเจริญ
5. เหตุการณ์สาคัญในท้องถิ่น
6. เหตุการณ์สาคัญบ้านโนนเจริญ
7. ศูนย์อพยพลี้ภัยปืนใหญ่
เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 5 เหตุการณ์สาคัญในชุมชน เหตุผล
แม้ว่าศูนย์พักพิงจะอยู่ที่โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม แต่การต้อนรับการช่วยเหลือนั้นชุมชน
เป็นผู้ปฎิบัติอย่างเหน็ดเหนื่อยด้วยความเต็มใจ จึงตั้งชื่อให้ครอบคลุมว่า “เหตุการณ์สาคัญใน
ชุมชน”
ที่ไหน เหตุปะทะกันระหว่าทหารไทยกับกัมพูชา จังหวัดที่มีรอยตะเข็บชายแดน
ติดต่อประเทศกัมพูชามี 2 จังหวัด มีศูนย์พักพิงชั่วคราวขนาดใหญ่ 2 แห่งคือ ที่โรงเรียน
ปราสาทวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์ ศูนย์พักพิงชั่วคราวโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมจังหวัด
บุรีรัมย์ สามารถรองรับผู้อพยพได้ถึง 5,000 พันคนแต่มีผู้อพยพ มาเพียง 3,264 คน เท่านั้น
ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ควรบันทึกไว้เป็นหลักฐานว่ามีเหตุการณ์สาคัญเกิดขึ้นในชุมชนของเรา
ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2501-2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 2
การรวบรวมข้อมูล
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. บุรีรัมย์ไกด์
2. หนังสือพิมพ์มติชน
3. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
4. หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
5. รายงานการปฏิบัติหน้าที่โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
6. http//th.wikipedia.org
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. นายสมศักดิ์ สุมาลี นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ
2. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รองนายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ
3. นายประกาย ศรีเหมือน กานันตาบลโนนเจริญ
4. นายอนุสิทธิ์ กัญหา ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1
5. นายสนับ ศิลปโสภา ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3
6. นายบุญธรรม อ่อนหางหว้า ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4
7. นางประไพ รักตลาด ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5
8. นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
9. คณะครูโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 3
ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์นายสมศักดิ์ สุมาลี
นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รองนายกเทศมนตรี
เทศบาลตาบลโนนเจริญ นายประกาย ศรีเหมือน กานันตาบลโนนเจริญ นายอนุสิทธิ์ กัญหา
ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 นายสนับ ศิลปโสภา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 นายบุญธรรม สูงหางหว้า
ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 นางประไพ รักตลาด ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 นายสมเกียรติ สวงรัมย์
ผู้อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมและคณะครูโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการวิเคราะห์ข่าวของหนังสือพิมพ์บุรีรัมย์ไกด์
หนังสือพิมพ์มติชน หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ รายงานการปฏิบัติหน้าที่
โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม และ เว็บไซด์ http//th.wikipedia.org สรุปได้ว่า ข้อพิพาท
เกิดขึ้น 2 ช่วง คือ
ช่วงที่ 1 ระหว่างปี พ.ศ. พ.ศ. 2501-2535
ช่วงที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. พ.ศ. 2551-2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 4
วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล
จากการวิเคราะห์ข่าวของหนังสือพิมพ์บุรีรัมย์ไกด์หนังสือพิมพ์มติชน หนังสือพิมพ์
ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ รายงานการปฏิบัติหน้าที่โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมและเว็บไซด์
http//th.wikipedia.org สรุปได้ว่า ข้อพิพาทระหว่างไทยกับกัมพูชาเกิดจากการแย่งปราสาท
เขาพระวิหารและปราสาทตาเมือนธม ซึ่งน่าจะเป็นการสู้รบกันโดยมีการเมืองไทยอยู่เบื้องหลัง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 5
การตีความหลักฐาน
จากเหตุปะทะกันระหว่างทหารไทยและกัมพูชา ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา
บริเวณปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาควาย อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์และบริเวณ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2554 เป็นต้นมานั้น ได้มีประชาชน
เดือดร้อนและได้อพยพย้ายผู้คนตามเขตชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
ได้เตรียมสถานที่ไว้รองรับประชาชนอย่างเต็มที่สามารถบรรจุผู้อพยพได้ถึง 5,000 คน
แต่ผู้อพยพมาประมาณ 3,000 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
.................................................................................
เหตุปะทะกันบริเวณชายแดน พ.ศ. 2554 เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเดือดร้อน
ให้กับประชาชนชาวไทยเป็นอย่างมาก ต้นเหตุเกิดจากคดีปราสาทพระวิหารปราสาทเขา
พระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อ
ปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดน
ไทยด้านอาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิด
จากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้าของเทือกเขาพนมดง
รักคนละฉบับ ทาให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท
โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ ศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลก
ได้ตัดสินให้ตัวปราสาทเขาพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505
ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้
อย่างไม่ยุติธรรม เนื่องจากศาลโลกยึดติดอยู่บนแผนที่ฉบับเดียว โดยที่ศาลโลกมิได้มีการ
ตรวจสอบสถานที่อย่างจริงจังตามข้อตกลงไทย-ฝรั่งเศสอย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้
แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชา ในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคง
เป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน
หลังจากกัมพูชาเป็นเอกราชในวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ประเทศไทยได้เป็น
ประเทศแรกที่ได้ให้การรับรอง จนมีการตั้งสานักผู้แทนทางการทูตขึ้นที่กรุงพนมเปญ
และสัมพันธภาพก็เจริญมาด้วยดีโดยตลอด จนกระทั่ง พ.ศ. 2501 เอกอัครราชทูตกัมพูชา
ประจากรุงลอนดอน ซัมซารี ได้เขียนบทความเกี่ยวกับสิทธิเหนือปราสาทเขาพระวิหาร
ลงในนิตยสาร "กัมพูชาวันนี้ (le Combodge d'aujourd'hui)" มีเนื้อหาส่วนหนึ่งระบุบว่า
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
"ไทยอ้างสิทธิเหนือวิหารนี้ โดยการใช้กาลังทหารเข้ายึดเอาพระวิหารอันเป็นการกระทาแบบ
ฮิตเลอร์“จากนั้นมาวิทยุและหนังสือพิมพ์ของกัมพูชาก็ได้พูดถึงเรื่องสิทธิเหนือปราสาทเขาพระ
วิหารนี้อยู่เรื่อย ๆ จนเกิดกระแส "ทวงเขาพระวิหารคืนจากไทย" แต่ยังไม่รุนแรงนัก นอกจากนี้
ยังมีเหตุการณ์ปล้นสะดมทางชายแดนไทย-กัมพูชาเสมอๆ ทาให้รัฐบาลไทยในขณะนั้นได้เสนอ
ให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการผสมเพื่อดาเนินการตรวจสอบเส้นเขตแดนแต่ก็ไม่ได้รับการตอบ
สนองจากรัฐบาลกัมพูชาทาให้ความสัมพันธ์ไม่ดีขึ้น (http://th.wikipedia.org)
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ระหว่างการปะทะกันนานถึง 4-5 ชั่วโมง สานัก
ข่าวซินหัว รายงานว่า ทหารไทยเสียชีวิต 7 นาย ส่วนทหารกัมพูชาเสียชีวิต 1 นาย และได้รับ
บาดเจ็บ 4 นาย ส่วนหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์รายงานว่าทหารไทยได้รับบาดเจ็บ 2-3 นาย
ทหารกัมพูชาเสียชีวิต 1 นายและมีการจับกุมทหารไทยไป 5 นาย พลเรือนไทยคนหนึ่งเสียชีวิต
จากกระสุนปืนใหญ่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ ทหารไทยและกัมพูชาปะทะกันอีกรอบ ทหารไทย 1
นาย ถูกจับกุมระหว่างการปะทะวันที่ 6 กุมภาพันธ์ CNN รายงานว่า ไทยได้ถล่มกัมพูชา
ยับเยินโดยยิงปืนใหญ่ 155 มม. ปูพรมไปทั่วแดนกัมพูชา ถนนและฐานทหารเสียหายมากมาย
รถถังและรถหุ้มเกราะกัมพูชาเสียหายใช้การไม่ได้กว่าสามสิบคัน ส่วนรายชื่อผู้เสียชีวิตของ
ทหารกัมพูชายังมิอาจประเมินได้เนื่องจากพื้นที่ไฟไหม้แต่คาดว่าไม่น่าจะต่ากว่าหกร้อยนาย
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศ พื้นที่
ตาบลเสาธงชัย หมู่ที่ 2,3,9,10,12 13 และตาบลรุง หมู่ที่ 5,7,10 อาเภอกันทรลักษ์ จังหวัด
ศรีสะเกษ เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติ อันเนื่องจากกองกาลังจากนอกประเทศ พร้อมจัดตั้งศูนย์
อานวยการเฉพาะกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยจังหวัดศรีสะเกษ ณ ที่ว่าการอาเภอกันทรลักษณ์
ส่วนรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศมีหนังสือชี้แจงถึงคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ทางการมีการประกาศให้ประชาชนเข้าไปในหลุมหลบภัย และมีการอพยพย้ายออกจากพื้นที่
ของประชาชน เพื่อป้องกันการที่ฝ่ายกัมพูชาใช้อาวุธหนักยิงเข้ามาด้าน พันเอกสรรเสริญ
แก้วกาเนิด โฆษกกองทัพบกให้สัมภาษณ์ว่า การปะทะกันของทหารทั้ง 2 ฝ่ายเริ่มขึ้นเมื่อ
เวลา 18.40 น. เริ่มจากทางทหารกัมพูชายิงพลุส่องสว่างเข้ามาตกที่บริเวณภูมะเขือ อ.กันทร-
ลักษ์ หลังจากนั้นทหารกัมพูชายิงปืนใหญ่ของรถถังเข้ามาอีก ทาให้ทหารไทยต้องใช้มาตรการ
ตอบโต้ โดยยิงเครื่องยิงลูกระเบิดสวนกลับไป
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
(UNSC) ได้ลงความเห็นปฏิเสธข้อเรียกร้องของสมเด็จฮุน เชน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา
ที่ต้องการให้จัดประชุมฉุกเฉินประเทศสมาชิกคณะมนตรีฯ 15 ชาติและส่งกาลังทหารเข้ามา
รักษาความสงบในพื้นที่พิพาท โดยระบุควรแก้ไขปัญหากันเองในระดับภูมิภาควันเดียวกันไม่มี
เหตุปะทะกันเพิ่มเติม แต่มีรายงานว่าทหารกัมพูชาได้ใช้ช่วงที่ยังหยุดยิงกันอยู่นี้ขุดที่ตั้งใหม่
และจัดตั้งกระสอบทรายเพิ่มเติม ทหารไทยนายหนึ่งซึ่งได้รับบาดเจ็บจากการยิงปืนใหญ่
เมื่อวันที่ 6 เสียชีวิตเนื่องจากพิษบาดแผลที่โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 นายกษิต ภิรมย์ ได้แถลงด้วยวาจาต่อประธาน
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ นครนิวยอร์ก ในถ้อยแถลงการณ์ของรัฐมนตรี
ต่างประเทศระบุใจความตอนหนึ่งว่าฝ่ายกัมพูชา ละเมิดข้อตกลงหยุดยิง ที่ได้ตกลงกันใน วันที่
5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ณ ช่องสะงาในจังหวัดศรีสะเกษ ที่ทั้งสองฝ่ายได้บรรลุข้อตกลงที่จะ
หยุดยิงทันที ผู้บังคับการทหารระดับภูมิภาคของไทยและฝ่ายกัมพูชา เป็นตัวแทนเจรจา
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ได้เกิดการปะทะกันรอบใหม่ขึ้น เหตุยิงกันดังกล่าวกินเวลา
ไม่กี่นาที ถึงแม้ว่าสื่อท้องถิ่นจะรายงานว่าทหารไทยได้รับบาดเจ็บ 5 นาย แต่กองทัพออกมา
ระบุว่ามีทหารได้รับบาดเจ็บ 1 นายจากการสู้รบ
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ การปะทะกันทวีความรุนแรงขึ้น โดยมีการปะทะกันถึงสามครั้ง
ในวันนี้ (5.00 น., 20.00 น., 22.00 น.) แต่ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิตจากทั้งสองฝ่าย โฆษก
กองทัพบกไทย สรรเสริญ แก้วกาเนิด ระบุว่า ฝ่ายกัมพูชาเป็นผู้เริ่มโจมตีก่อน โดยใช้ปืนครก
และอาร์พีจี ทาให้ฝ่ายไทยต้องทาการตอบโต้อย่างไรก็ตาม ปาย สิฟาน โฆษกคณะรัฐมนตรี
กัมพูชาปฏิเสธว่ากัมพูชาเป็นฝ่ายเริ่มก่อน และกล่าวตรงกันข้าม กัมพูชาต้องการความ
ช่วยเหลือจากนานาชาติเพื่อป้องกันมิให้มีการสู้รบเกิด ขึ้นต่อไป ขณะที่ไทยกล่าวว่าปัญหา
ดังกล่าวควรได้รับการแก้ไขในระดับทวิภาคี ในวันเดียวกัน มีรายงานที่ไม่ได้รับการยืนยันว่า
รถถังเวียดนามได้มุ่งหน้ามายังชายแดนไทย-กัมพูชา อย่างไรก็ตาม ฮุน เซน ปฏิเสธรายงาน
ดังกล่าว ในความตกลงซึ่งบรรลุในการประชุมอาเซียนในจาการ์ตา กัมพูชาและไทยตกลงที่จะ
ให้ผู้สังเกตการณ์ชาวอินโดนีเซียสังเกตพื้นที่พิพาท พรมแดน โดยมีทั้งทหารและพลเรือนรวม
40 คน ด้านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอินโดนีเซียออกมาระบุว่า คณะที่ส่งไปนั้น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
มิใช่เพื่อรักษาสันติภาพหรือใช้กาลังให้เกิดสันติภาพ โดยคณะดังกล่าวจะไม่ติดอาวุธ
เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554 ทางการไทยได้ยอมรับว่ามีการใช้กระสุนระเบิด
ทวิประสงค์ (DPICM) ระหว่างการปะทะกันจริง ซึ่งถูกระบุตามจากกลุ่มเครือข่ายความร่วมมือ
ต่อต้านระเบิดลูกปราย (CMC) เป็นระเบิดประเภทหนึ่งโดยอาวุธดังกล่าวประกอบด้วยระเบิด
มือขนาดเล็กนับหลายร้อยลูก หรือลูกปราย ซึ่งกระจายไปกินอาณาบริเวณกว้างและถูกห้าม
โดยประเทศส่วนใหญ่ตามอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย ประเทศไทยไม่ได้ลงนามใน
สนธิสัญญา แต่ได้ให้สัญญาอย่างเปิดเผยว่าจะไม่ใช้อาวุธดังกล่าวทาง CMC กล่าวว่าเหตุการณ์
ครั้งนี้เป็นการใช้ระเบิดลูกปรายที่ได้รับการยืนยันครั้ง แรกนับตั้งแต่อนุสัญญาได้กลายมาเป็น
กฎหมายระหว่างประเทศ
วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2554 ในช่วงเช้าได้เกิดการปะทะกันขึ้นบริเวณจังหวัดสุริ
นทรด้านปราสาทตาควาย ต.บักได อ.พนมดงรัก เรื่อยมาจนถึงปราสาทตาเมือนธม ต.ตาเมียง
อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์ ทาให้ทหารไทยเสียชีวิต 4 นายและบาดเจ็บอีก 14 นายมีการพบ
ลูกกระสุนปืนใหญ่ฝ่ายทหารเขมรยิงเข้าตกมายังฝั่งไทยที่บริเวณฝายน้า ล้น บ้านสายโท 12
ต.สายตะกู อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 1 ลูก พร้อมได้ยินเสียงปืนดังตลอดเวลาจึงต้องทาการ
อพยพ ชาวบ้าน ราว 2,500 คนออกจากพื้นที่ทางกระทรวงต่างประเทศไทยส่งหนังสือประท้วง
อย่างรุนแรงที่สุดผ่านเอกอัครราชทูตกัมพูชาประจาประเทศไทยหลังจากเกิดเหตุการณ์การ
ปะทะผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ได้ประกาศอาเภอบ้านกรวดเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติภาวะ
สงครามทั้งอาเภอชวรัตน์ ชาญวีรกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศให้ บริเวณ
ปราสาทตาเมือนธม หมู่ที่ 8 ตาบลตาเมียง พื้นที่ หมู่ที่ 1-15 ตาบลแนงมุด หมู่ที่ 1-14 ตาบล
โคกตะเคียน หมู่ที่ 1-20 ตาบลกาบเชิง หมู่ที่ 1-18 ตาบลด่าน หมู่ที่ 1-9 ตาบลตะเคียน อาเภอ
พนมดงรัก ในพื้นที่หมู่ที่ 1-20 ตาบลบักได หมู่ที่ 1-12 ตาบลตาเมียง หมู่ที่ 1-12 ตาบลจีกแดก
หมู่ที่ 1-11 ตาบลโคกกลาง จังหวัดสุรินทร์ ทั้ง 2 ตาบล เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติ อันเนื่องจาก
กองกาลังจากนอกประเทศและ พลเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดได้แถลง
ตอนหนึ่งว่า ในเวลานี้ไม่จาเป็นต้องเจรจากับใครหากชาติไทยถูกลุกล้า หรือถูกภัยคุกคาม
ประเทศ ก็พร้อมที่จะใช้กาลังตอบโต้จนถึงที่สุด และได้สั่งการเตรียมพร้อมยกระดับ
แผนป้องกันประเทศ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ศูนย์พักพิงชั่วคราวโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
...................................................................
จากเหตุปะทะกันระหว่างทหารไทยและกัมพูชา ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา
บริเวณปราสาทตาเมืองธม ปราสาทตาควาย อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์และบริเวณ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2554 เป็นต้นมานั้น ได้มีประชาชน
เดือดร้อนและได้อพยพย้ายผู้คนตามเขตชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
ได้เตรียมสถานที่ไว้รองรับประชาชนอย่างเต็มที่ สามารถบรรจุผู้อพยพได้ถึง 5 พันคน
แต่ผู้อพยพ มาประมาณ 3,000 คน ซึ่งได้รวบรวมบรรยากาศโดยรวม ดังนี้
ชื่อภาพ : ด้านหน้าโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม เป็นศูนย์ดูแลผู้พักพิง
ผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบตามแนวเขตชายแดนไทย-กัมพูชา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : สถานีตารวจภูธรโนนเจริญ ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือ
ในการรักษาความสงบเรียบร้อยและอานวยความสะดวก
ด้านการจราจรด้านหน้าโรงเรียน
ชื่อภาพ : สนามหน้าเสาธงโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม บริการดูแล
การจราจรและสถานที่จอดรถของผู้มาพักพิง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : ถนนหน้าอาคารต่าง ๆ บริการจอดรถให้กับหน่วยงานต่าง ๆ
ที่เข้ามาให้การช่วยเหลือและผู้นาสิ่งของมาบริจาค
ชื่อภาพ : อาคารโรงจอดรถครูและบุคลากรโรงเรียน ใช้เป็นที่จอดรถ
และที่พักอาศัยของผู้พักพิงชั่วคราว
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : ลานจอดรถหน้าเสาธงโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
ชื่อภาพ : อาคารเรียนหลังที่ 1 ใช้ใต้ถุนอาคารเป็นที่พักอาศัย
ของผู้พักพิงชั่วคราว
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : ในห้องเรียนของทุกอาคารเปิดให้ผู้พักพิงเข้าพัก
ชื่อภาพ : อาคารเรียนหลังที่ ๒ ใต้ถุนอาคารใช้เป็นที่พักอาศัยของผู้พักพิง
ชั่วคราวและจัดกิจกรรมคลายเครียดให้เด็ก ๆ ชั้นบนเป็นที่พัก
ของหน่วยงานทางราชการที่มาให้การช่วยเหลือ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์นาเด็ก ๆ
ในศูนย์พักพิงทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น วาดภาพระบายสี
ชื่อภาพ : อาคารเรียนหลังที่ ๓ เปิดห้องเรียนให้เป็นที่พักของผู้พักพิง
ชั่วคราวทั้งชั้นบนและชั้นล่าง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : ใต้ถุนอาคารใช้เป็นศูนย์อานวยการแพทย์และสาธารณสุข
ชื่อภาพ : อาคารหอประชุมโรงเรียนใช้เป็นที่พักของผู้มาพักพิง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : ผู้อานวยการ สมเกียรติ สวงรัมย์ ต้อนรับคณะจากหน่วยงาน
ที่มาเยี่ยมเยียนให้กาลังใจพบปะผู้พักพิง
และคณะที่มาบริจาคสิ่งของเครื่องอุปโภคบริโภค
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : จุดให้บริการลงทะเบียนเข้าพักพิงและให้บริการด้านข้อมูล
ชื่อภาพ : ฯพณฯ องอาจ คร้ามไพบูลย์
รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีมาเยี่ยมเยียนให้กาลังใจผู้พักพิง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : ฯพณฯ โสภณ ซารัมย์ รัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม
มาเยี่ยมเยียนให้กาลังใจผู้พักพิง
ชื่อภาพ: โรงอาหารโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมใช้เป็นที่ประกอบ
อาหารของแม่บ้านตาบลสายตะกูเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้พักพิง
เป็นอาหารกลางวันทุกมื้อ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : ข้างกล่องจากทั้ง 5 หมู่ บ้านในโนนเจริญพร้อมแจกจ่าย
ให้ผู้พักพิงเป็นอาหารเช้าและเย็น
ชื่อภาพ : ห้องน้า-ห้องสุขา เปิดให้ใช้บริการห้องน้า-ห้องสุขา
โรงเรียน 5 หลัง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : ได้รับความอนุเคราะห์จากเทศบาลประโคนชัยนารถสุขา
เคลื่อนที่มาให้บริการ
ชื่อภาพ : การให้บริการน้าดื่ม-น้าใช้ในโรงเรียนปรับปรุงระบบน้าประปา
ในโรงเรียนให้สะดวกและเพียงพอ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 23
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ชื่อภาพ : รถน้าจากหน่วยงานต่าง ๆ นาน้าทั้งน้าดื่ม-น้าใช้มาให้บริการ
ตลอดทั้งวัน
ชื่อภาพ : การให้บริการด้านไฟฟ้าปรับปรุงระบบไฟฟ้าให้มีแสงสว่าง
เพียงพอในทุกสถานที่เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของ
ผู้พักพิงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 24
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
บรรณานุกรม
ดนัย ไชยโยธา. (2548). การเมืองและการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
องค์การรับส่งสินค้าและวัสดุภัณฑ์.
นิตยสาร สารคดี ปีที่ 24 ฉบับที่ 282 สิงหาคม 2551
ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช. (2551). พระวิหารในมุมมองกฎหมาย. ไทยโพสต์แทบลอยด์, 6-12
กรกฎาคม.
บุญร่วม เทียมจันทร์. (2550). ไทยแพ้คดีเสียดินแดนให้เขมร กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อนิเมท
กรุ๊ป จากัด. ISBN 978-974-09-1683-3
ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, ประหยัด ศ.นาคะนาท และ จารัสดวงธิสาร
ภาสกร ชุณหอุไร. (มมป.) คู่มือนักศึกษากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมือง
(ภาคสันติ), 2 : อัดสาเนา
นพนิธิ สุริยะ. (มมป.). กฎหมายระหว่างประเทศเล่มสอง : อัดสาเนา

More Related Content

Similar to เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน

เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรร 'ษๅ
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1kurorma Bent
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำหรร 'ษๅ
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นreaweewan
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มZomza Sirada
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 

Similar to เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน (20)

เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัย
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
 
Workhistrory1
Workhistrory1Workhistrory1
Workhistrory1
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้ม
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 

More from หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 

More from หรร 'ษๅ (20)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 

เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) เหตุการณ์สาคัญในท้องถิ่น บทนา การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม เพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน รักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทาความรู้จัก สังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและ ความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคม มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหา คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่ หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่ง ที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการ ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก หลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอ ไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
  • 2. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดหัวเรื่อง การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้ 1. เหตุการณ์สาคัญ 2. เหตุบ้านการเมือง 3. พื้นที่สีแดงไทยกัมพูชา 4. ศูนย์พักพิงโนนเจริญ 5. เหตุการณ์สาคัญในท้องถิ่น 6. เหตุการณ์สาคัญบ้านโนนเจริญ 7. ศูนย์อพยพลี้ภัยปืนใหญ่ เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 5 เหตุการณ์สาคัญในชุมชน เหตุผล แม้ว่าศูนย์พักพิงจะอยู่ที่โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม แต่การต้อนรับการช่วยเหลือนั้นชุมชน เป็นผู้ปฎิบัติอย่างเหน็ดเหนื่อยด้วยความเต็มใจ จึงตั้งชื่อให้ครอบคลุมว่า “เหตุการณ์สาคัญใน ชุมชน” ที่ไหน เหตุปะทะกันระหว่าทหารไทยกับกัมพูชา จังหวัดที่มีรอยตะเข็บชายแดน ติดต่อประเทศกัมพูชามี 2 จังหวัด มีศูนย์พักพิงชั่วคราวขนาดใหญ่ 2 แห่งคือ ที่โรงเรียน ปราสาทวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์ ศูนย์พักพิงชั่วคราวโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมจังหวัด บุรีรัมย์ สามารถรองรับผู้อพยพได้ถึง 5,000 พันคนแต่มีผู้อพยพ มาเพียง 3,264 คน เท่านั้น ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ควรบันทึกไว้เป็นหลักฐานว่ามีเหตุการณ์สาคัญเกิดขึ้นในชุมชนของเรา ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2501-2554
  • 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. บุรีรัมย์ไกด์ 2. หนังสือพิมพ์มติชน 3. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 4. หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ 5. รายงานการปฏิบัติหน้าที่โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม 6. http//th.wikipedia.org หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. นายสมศักดิ์ สุมาลี นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ 2. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รองนายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ 3. นายประกาย ศรีเหมือน กานันตาบลโนนเจริญ 4. นายอนุสิทธิ์ กัญหา ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 5. นายสนับ ศิลปโสภา ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 6. นายบุญธรรม อ่อนหางหว้า ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 7. นางประไพ รักตลาด ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 8. นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม 9. คณะครูโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม
  • 4. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์นายสมศักดิ์ สุมาลี นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตาบลโนนเจริญ นายประกาย ศรีเหมือน กานันตาบลโนนเจริญ นายอนุสิทธิ์ กัญหา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 นายสนับ ศิลปโสภา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 นายบุญธรรม สูงหางหว้า ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 นางประไพ รักตลาด ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ผู้อานวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมและคณะครูโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการวิเคราะห์ข่าวของหนังสือพิมพ์บุรีรัมย์ไกด์ หนังสือพิมพ์มติชน หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ รายงานการปฏิบัติหน้าที่ โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม และ เว็บไซด์ http//th.wikipedia.org สรุปได้ว่า ข้อพิพาท เกิดขึ้น 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 ระหว่างปี พ.ศ. พ.ศ. 2501-2535 ช่วงที่ 2 ระหว่างปี พ.ศ. พ.ศ. 2551-2554
  • 5. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล จากการวิเคราะห์ข่าวของหนังสือพิมพ์บุรีรัมย์ไกด์หนังสือพิมพ์มติชน หนังสือพิมพ์ ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ รายงานการปฏิบัติหน้าที่โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมและเว็บไซด์ http//th.wikipedia.org สรุปได้ว่า ข้อพิพาทระหว่างไทยกับกัมพูชาเกิดจากการแย่งปราสาท เขาพระวิหารและปราสาทตาเมือนธม ซึ่งน่าจะเป็นการสู้รบกันโดยมีการเมืองไทยอยู่เบื้องหลัง
  • 6. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 5 การตีความหลักฐาน จากเหตุปะทะกันระหว่างทหารไทยและกัมพูชา ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา บริเวณปราสาทตาเมือนธม ปราสาทตาควาย อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์และบริเวณ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2554 เป็นต้นมานั้น ได้มีประชาชน เดือดร้อนและได้อพยพย้ายผู้คนตามเขตชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ได้เตรียมสถานที่ไว้รองรับประชาชนอย่างเต็มที่สามารถบรรจุผู้อพยพได้ถึง 5,000 คน แต่ผู้อพยพมาประมาณ 3,000 คน
  • 7. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ................................................................................. เหตุปะทะกันบริเวณชายแดน พ.ศ. 2554 เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเดือดร้อน ให้กับประชาชนชาวไทยเป็นอย่างมาก ต้นเหตุเกิดจากคดีปราสาทพระวิหารปราสาทเขา พระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดน ไทยด้านอาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิด จากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้าของเทือกเขาพนมดง รักคนละฉบับ ทาให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ ศาลยุติธรรม ระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลก ได้ตัดสินให้ตัวปราสาทเขาพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้ อย่างไม่ยุติธรรม เนื่องจากศาลโลกยึดติดอยู่บนแผนที่ฉบับเดียว โดยที่ศาลโลกมิได้มีการ ตรวจสอบสถานที่อย่างจริงจังตามข้อตกลงไทย-ฝรั่งเศสอย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้ แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชา ในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคง เป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน หลังจากกัมพูชาเป็นเอกราชในวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ประเทศไทยได้เป็น ประเทศแรกที่ได้ให้การรับรอง จนมีการตั้งสานักผู้แทนทางการทูตขึ้นที่กรุงพนมเปญ และสัมพันธภาพก็เจริญมาด้วยดีโดยตลอด จนกระทั่ง พ.ศ. 2501 เอกอัครราชทูตกัมพูชา ประจากรุงลอนดอน ซัมซารี ได้เขียนบทความเกี่ยวกับสิทธิเหนือปราสาทเขาพระวิหาร ลงในนิตยสาร "กัมพูชาวันนี้ (le Combodge d'aujourd'hui)" มีเนื้อหาส่วนหนึ่งระบุบว่า
  • 8. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) "ไทยอ้างสิทธิเหนือวิหารนี้ โดยการใช้กาลังทหารเข้ายึดเอาพระวิหารอันเป็นการกระทาแบบ ฮิตเลอร์“จากนั้นมาวิทยุและหนังสือพิมพ์ของกัมพูชาก็ได้พูดถึงเรื่องสิทธิเหนือปราสาทเขาพระ วิหารนี้อยู่เรื่อย ๆ จนเกิดกระแส "ทวงเขาพระวิหารคืนจากไทย" แต่ยังไม่รุนแรงนัก นอกจากนี้ ยังมีเหตุการณ์ปล้นสะดมทางชายแดนไทย-กัมพูชาเสมอๆ ทาให้รัฐบาลไทยในขณะนั้นได้เสนอ ให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการผสมเพื่อดาเนินการตรวจสอบเส้นเขตแดนแต่ก็ไม่ได้รับการตอบ สนองจากรัฐบาลกัมพูชาทาให้ความสัมพันธ์ไม่ดีขึ้น (http://th.wikipedia.org) เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ระหว่างการปะทะกันนานถึง 4-5 ชั่วโมง สานัก ข่าวซินหัว รายงานว่า ทหารไทยเสียชีวิต 7 นาย ส่วนทหารกัมพูชาเสียชีวิต 1 นาย และได้รับ บาดเจ็บ 4 นาย ส่วนหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์รายงานว่าทหารไทยได้รับบาดเจ็บ 2-3 นาย ทหารกัมพูชาเสียชีวิต 1 นายและมีการจับกุมทหารไทยไป 5 นาย พลเรือนไทยคนหนึ่งเสียชีวิต จากกระสุนปืนใหญ่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ ทหารไทยและกัมพูชาปะทะกันอีกรอบ ทหารไทย 1 นาย ถูกจับกุมระหว่างการปะทะวันที่ 6 กุมภาพันธ์ CNN รายงานว่า ไทยได้ถล่มกัมพูชา ยับเยินโดยยิงปืนใหญ่ 155 มม. ปูพรมไปทั่วแดนกัมพูชา ถนนและฐานทหารเสียหายมากมาย รถถังและรถหุ้มเกราะกัมพูชาเสียหายใช้การไม่ได้กว่าสามสิบคัน ส่วนรายชื่อผู้เสียชีวิตของ ทหารกัมพูชายังมิอาจประเมินได้เนื่องจากพื้นที่ไฟไหม้แต่คาดว่าไม่น่าจะต่ากว่าหกร้อยนาย วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยประกาศ พื้นที่ ตาบลเสาธงชัย หมู่ที่ 2,3,9,10,12 13 และตาบลรุง หมู่ที่ 5,7,10 อาเภอกันทรลักษ์ จังหวัด ศรีสะเกษ เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติ อันเนื่องจากกองกาลังจากนอกประเทศ พร้อมจัดตั้งศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยจังหวัดศรีสะเกษ ณ ที่ว่าการอาเภอกันทรลักษณ์ ส่วนรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศมีหนังสือชี้แจงถึงคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ทางการมีการประกาศให้ประชาชนเข้าไปในหลุมหลบภัย และมีการอพยพย้ายออกจากพื้นที่ ของประชาชน เพื่อป้องกันการที่ฝ่ายกัมพูชาใช้อาวุธหนักยิงเข้ามาด้าน พันเอกสรรเสริญ แก้วกาเนิด โฆษกกองทัพบกให้สัมภาษณ์ว่า การปะทะกันของทหารทั้ง 2 ฝ่ายเริ่มขึ้นเมื่อ เวลา 18.40 น. เริ่มจากทางทหารกัมพูชายิงพลุส่องสว่างเข้ามาตกที่บริเวณภูมะเขือ อ.กันทร- ลักษ์ หลังจากนั้นทหารกัมพูชายิงปืนใหญ่ของรถถังเข้ามาอีก ทาให้ทหารไทยต้องใช้มาตรการ ตอบโต้ โดยยิงเครื่องยิงลูกระเบิดสวนกลับไป
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UNSC) ได้ลงความเห็นปฏิเสธข้อเรียกร้องของสมเด็จฮุน เชน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ที่ต้องการให้จัดประชุมฉุกเฉินประเทศสมาชิกคณะมนตรีฯ 15 ชาติและส่งกาลังทหารเข้ามา รักษาความสงบในพื้นที่พิพาท โดยระบุควรแก้ไขปัญหากันเองในระดับภูมิภาควันเดียวกันไม่มี เหตุปะทะกันเพิ่มเติม แต่มีรายงานว่าทหารกัมพูชาได้ใช้ช่วงที่ยังหยุดยิงกันอยู่นี้ขุดที่ตั้งใหม่ และจัดตั้งกระสอบทรายเพิ่มเติม ทหารไทยนายหนึ่งซึ่งได้รับบาดเจ็บจากการยิงปืนใหญ่ เมื่อวันที่ 6 เสียชีวิตเนื่องจากพิษบาดแผลที่โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 นายกษิต ภิรมย์ ได้แถลงด้วยวาจาต่อประธาน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ นครนิวยอร์ก ในถ้อยแถลงการณ์ของรัฐมนตรี ต่างประเทศระบุใจความตอนหนึ่งว่าฝ่ายกัมพูชา ละเมิดข้อตกลงหยุดยิง ที่ได้ตกลงกันใน วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ณ ช่องสะงาในจังหวัดศรีสะเกษ ที่ทั้งสองฝ่ายได้บรรลุข้อตกลงที่จะ หยุดยิงทันที ผู้บังคับการทหารระดับภูมิภาคของไทยและฝ่ายกัมพูชา เป็นตัวแทนเจรจา วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ได้เกิดการปะทะกันรอบใหม่ขึ้น เหตุยิงกันดังกล่าวกินเวลา ไม่กี่นาที ถึงแม้ว่าสื่อท้องถิ่นจะรายงานว่าทหารไทยได้รับบาดเจ็บ 5 นาย แต่กองทัพออกมา ระบุว่ามีทหารได้รับบาดเจ็บ 1 นายจากการสู้รบ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ การปะทะกันทวีความรุนแรงขึ้น โดยมีการปะทะกันถึงสามครั้ง ในวันนี้ (5.00 น., 20.00 น., 22.00 น.) แต่ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิตจากทั้งสองฝ่าย โฆษก กองทัพบกไทย สรรเสริญ แก้วกาเนิด ระบุว่า ฝ่ายกัมพูชาเป็นผู้เริ่มโจมตีก่อน โดยใช้ปืนครก และอาร์พีจี ทาให้ฝ่ายไทยต้องทาการตอบโต้อย่างไรก็ตาม ปาย สิฟาน โฆษกคณะรัฐมนตรี กัมพูชาปฏิเสธว่ากัมพูชาเป็นฝ่ายเริ่มก่อน และกล่าวตรงกันข้าม กัมพูชาต้องการความ ช่วยเหลือจากนานาชาติเพื่อป้องกันมิให้มีการสู้รบเกิด ขึ้นต่อไป ขณะที่ไทยกล่าวว่าปัญหา ดังกล่าวควรได้รับการแก้ไขในระดับทวิภาคี ในวันเดียวกัน มีรายงานที่ไม่ได้รับการยืนยันว่า รถถังเวียดนามได้มุ่งหน้ามายังชายแดนไทย-กัมพูชา อย่างไรก็ตาม ฮุน เซน ปฏิเสธรายงาน ดังกล่าว ในความตกลงซึ่งบรรลุในการประชุมอาเซียนในจาการ์ตา กัมพูชาและไทยตกลงที่จะ ให้ผู้สังเกตการณ์ชาวอินโดนีเซียสังเกตพื้นที่พิพาท พรมแดน โดยมีทั้งทหารและพลเรือนรวม 40 คน ด้านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอินโดนีเซียออกมาระบุว่า คณะที่ส่งไปนั้น
  • 10. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) มิใช่เพื่อรักษาสันติภาพหรือใช้กาลังให้เกิดสันติภาพ โดยคณะดังกล่าวจะไม่ติดอาวุธ เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554 ทางการไทยได้ยอมรับว่ามีการใช้กระสุนระเบิด ทวิประสงค์ (DPICM) ระหว่างการปะทะกันจริง ซึ่งถูกระบุตามจากกลุ่มเครือข่ายความร่วมมือ ต่อต้านระเบิดลูกปราย (CMC) เป็นระเบิดประเภทหนึ่งโดยอาวุธดังกล่าวประกอบด้วยระเบิด มือขนาดเล็กนับหลายร้อยลูก หรือลูกปราย ซึ่งกระจายไปกินอาณาบริเวณกว้างและถูกห้าม โดยประเทศส่วนใหญ่ตามอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย ประเทศไทยไม่ได้ลงนามใน สนธิสัญญา แต่ได้ให้สัญญาอย่างเปิดเผยว่าจะไม่ใช้อาวุธดังกล่าวทาง CMC กล่าวว่าเหตุการณ์ ครั้งนี้เป็นการใช้ระเบิดลูกปรายที่ได้รับการยืนยันครั้ง แรกนับตั้งแต่อนุสัญญาได้กลายมาเป็น กฎหมายระหว่างประเทศ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2554 ในช่วงเช้าได้เกิดการปะทะกันขึ้นบริเวณจังหวัดสุริ นทรด้านปราสาทตาควาย ต.บักได อ.พนมดงรัก เรื่อยมาจนถึงปราสาทตาเมือนธม ต.ตาเมียง อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์ ทาให้ทหารไทยเสียชีวิต 4 นายและบาดเจ็บอีก 14 นายมีการพบ ลูกกระสุนปืนใหญ่ฝ่ายทหารเขมรยิงเข้าตกมายังฝั่งไทยที่บริเวณฝายน้า ล้น บ้านสายโท 12 ต.สายตะกู อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 1 ลูก พร้อมได้ยินเสียงปืนดังตลอดเวลาจึงต้องทาการ อพยพ ชาวบ้าน ราว 2,500 คนออกจากพื้นที่ทางกระทรวงต่างประเทศไทยส่งหนังสือประท้วง อย่างรุนแรงที่สุดผ่านเอกอัครราชทูตกัมพูชาประจาประเทศไทยหลังจากเกิดเหตุการณ์การ ปะทะผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ได้ประกาศอาเภอบ้านกรวดเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติภาวะ สงครามทั้งอาเภอชวรัตน์ ชาญวีรกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศให้ บริเวณ ปราสาทตาเมือนธม หมู่ที่ 8 ตาบลตาเมียง พื้นที่ หมู่ที่ 1-15 ตาบลแนงมุด หมู่ที่ 1-14 ตาบล โคกตะเคียน หมู่ที่ 1-20 ตาบลกาบเชิง หมู่ที่ 1-18 ตาบลด่าน หมู่ที่ 1-9 ตาบลตะเคียน อาเภอ พนมดงรัก ในพื้นที่หมู่ที่ 1-20 ตาบลบักได หมู่ที่ 1-12 ตาบลตาเมียง หมู่ที่ 1-12 ตาบลจีกแดก หมู่ที่ 1-11 ตาบลโคกกลาง จังหวัดสุรินทร์ ทั้ง 2 ตาบล เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติ อันเนื่องจาก กองกาลังจากนอกประเทศและ พลเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดได้แถลง ตอนหนึ่งว่า ในเวลานี้ไม่จาเป็นต้องเจรจากับใครหากชาติไทยถูกลุกล้า หรือถูกภัยคุกคาม ประเทศ ก็พร้อมที่จะใช้กาลังตอบโต้จนถึงที่สุด และได้สั่งการเตรียมพร้อมยกระดับ แผนป้องกันประเทศ
  • 11. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ศูนย์พักพิงชั่วคราวโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ................................................................... จากเหตุปะทะกันระหว่างทหารไทยและกัมพูชา ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา บริเวณปราสาทตาเมืองธม ปราสาทตาควาย อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์และบริเวณ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2554 เป็นต้นมานั้น ได้มีประชาชน เดือดร้อนและได้อพยพย้ายผู้คนตามเขตชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ได้เตรียมสถานที่ไว้รองรับประชาชนอย่างเต็มที่ สามารถบรรจุผู้อพยพได้ถึง 5 พันคน แต่ผู้อพยพ มาประมาณ 3,000 คน ซึ่งได้รวบรวมบรรยากาศโดยรวม ดังนี้ ชื่อภาพ : ด้านหน้าโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม เป็นศูนย์ดูแลผู้พักพิง ผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบตามแนวเขตชายแดนไทย-กัมพูชา
  • 12. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : สถานีตารวจภูธรโนนเจริญ ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือ ในการรักษาความสงบเรียบร้อยและอานวยความสะดวก ด้านการจราจรด้านหน้าโรงเรียน ชื่อภาพ : สนามหน้าเสาธงโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม บริการดูแล การจราจรและสถานที่จอดรถของผู้มาพักพิง
  • 13. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ถนนหน้าอาคารต่าง ๆ บริการจอดรถให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้ามาให้การช่วยเหลือและผู้นาสิ่งของมาบริจาค ชื่อภาพ : อาคารโรงจอดรถครูและบุคลากรโรงเรียน ใช้เป็นที่จอดรถ และที่พักอาศัยของผู้พักพิงชั่วคราว
  • 14. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ลานจอดรถหน้าเสาธงโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ชื่อภาพ : อาคารเรียนหลังที่ 1 ใช้ใต้ถุนอาคารเป็นที่พักอาศัย ของผู้พักพิงชั่วคราว
  • 15. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ในห้องเรียนของทุกอาคารเปิดให้ผู้พักพิงเข้าพัก ชื่อภาพ : อาคารเรียนหลังที่ ๒ ใต้ถุนอาคารใช้เป็นที่พักอาศัยของผู้พักพิง ชั่วคราวและจัดกิจกรรมคลายเครียดให้เด็ก ๆ ชั้นบนเป็นที่พัก ของหน่วยงานทางราชการที่มาให้การช่วยเหลือ
  • 16. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์นาเด็ก ๆ ในศูนย์พักพิงทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น วาดภาพระบายสี ชื่อภาพ : อาคารเรียนหลังที่ ๓ เปิดห้องเรียนให้เป็นที่พักของผู้พักพิง ชั่วคราวทั้งชั้นบนและชั้นล่าง
  • 17. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ใต้ถุนอาคารใช้เป็นศูนย์อานวยการแพทย์และสาธารณสุข ชื่อภาพ : อาคารหอประชุมโรงเรียนใช้เป็นที่พักของผู้มาพักพิง
  • 18. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ผู้อานวยการ สมเกียรติ สวงรัมย์ ต้อนรับคณะจากหน่วยงาน ที่มาเยี่ยมเยียนให้กาลังใจพบปะผู้พักพิง และคณะที่มาบริจาคสิ่งของเครื่องอุปโภคบริโภค
  • 19. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : จุดให้บริการลงทะเบียนเข้าพักพิงและให้บริการด้านข้อมูล ชื่อภาพ : ฯพณฯ องอาจ คร้ามไพบูลย์ รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีมาเยี่ยมเยียนให้กาลังใจผู้พักพิง
  • 20. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ฯพณฯ โสภณ ซารัมย์ รัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม มาเยี่ยมเยียนให้กาลังใจผู้พักพิง ชื่อภาพ: โรงอาหารโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมใช้เป็นที่ประกอบ อาหารของแม่บ้านตาบลสายตะกูเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้พักพิง เป็นอาหารกลางวันทุกมื้อ
  • 21. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ข้างกล่องจากทั้ง 5 หมู่ บ้านในโนนเจริญพร้อมแจกจ่าย ให้ผู้พักพิงเป็นอาหารเช้าและเย็น ชื่อภาพ : ห้องน้า-ห้องสุขา เปิดให้ใช้บริการห้องน้า-ห้องสุขา โรงเรียน 5 หลัง
  • 22. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : ได้รับความอนุเคราะห์จากเทศบาลประโคนชัยนารถสุขา เคลื่อนที่มาให้บริการ ชื่อภาพ : การให้บริการน้าดื่ม-น้าใช้ในโรงเรียนปรับปรุงระบบน้าประปา ในโรงเรียนให้สะดวกและเพียงพอ
  • 23. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 23 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ชื่อภาพ : รถน้าจากหน่วยงานต่าง ๆ นาน้าทั้งน้าดื่ม-น้าใช้มาให้บริการ ตลอดทั้งวัน ชื่อภาพ : การให้บริการด้านไฟฟ้าปรับปรุงระบบไฟฟ้าให้มีแสงสว่าง เพียงพอในทุกสถานที่เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของ ผู้พักพิงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • 24. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 24 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) บรรณานุกรม ดนัย ไชยโยธา. (2548). การเมืองและการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ องค์การรับส่งสินค้าและวัสดุภัณฑ์. นิตยสาร สารคดี ปีที่ 24 ฉบับที่ 282 สิงหาคม 2551 ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช. (2551). พระวิหารในมุมมองกฎหมาย. ไทยโพสต์แทบลอยด์, 6-12 กรกฎาคม. บุญร่วม เทียมจันทร์. (2550). ไทยแพ้คดีเสียดินแดนให้เขมร กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อนิเมท กรุ๊ป จากัด. ISBN 978-974-09-1683-3 ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, ประหยัด ศ.นาคะนาท และ จารัสดวงธิสาร ภาสกร ชุณหอุไร. (มมป.) คู่มือนักศึกษากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมือง (ภาคสันติ), 2 : อัดสาเนา นพนิธิ สุริยะ. (มมป.). กฎหมายระหว่างประเทศเล่มสอง : อัดสาเนา