SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
สมองและพฤติกรรม
Brain and Behavior
ร.ศ. มานิต ศรีสุรภานนท
ในสมัยโบราณคนเราเชื่อวาสภาพจิตใจและพฤติกรรมของมนุษยเปนผลมาจากหัวใจและ
อวัยวะภายใน ตอมา Galen (ค.ศ. 129-199) ซึ่งจัดวาเปนบิดาแหงประสาทจิตวิทยาสมัยใหม
(modern neuropsychology) ใหความเห็นวาสภาพจิตใจและพฤติกรรมของมนุษยเปนผลมาจาก
สมอง แมวาแนวความคิดนี้จะไดรับการยอมรับ แตความรูตาง ๆ ในแงมุมดังกลาวก็เพิ่มขึ้นชามาก
ในชวงหลายสิบปที่ผานมา ความรูตาง ๆ ในแงมุมนี้ไดมีเพิ่มขึ้นอยางมาก เนื่องจากมีการใช
เทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อศึกษาเกี่ยวกับประสาทกายวิภาค (neuroanatomy) โดยเฉพาะในดาน
brain imaging เชน computed tomography (CT), magnatic resonance imaging (MRI)
การศึกษาความผิดปกติของโครงสรางสมอง
1. Computed Tomography (CT) Scans
การเริ่มนํา CT scans มาใชในป ค.ศ. 1972 จัดวาเปนความกาวหนาครั้งสําคัญทางประสาท
รังสีวิทยา (neuroradiology) ในปจจุบัน CT scans จัดวาเปนเครื่องมือหนึ่งที่มีการใชอยางแพร
หลายในการหาความผิดปกติของโครงสรางสมอง
ภาพของ CT scans เกิดจากการฉายรังสีเปนมุม 360 องศาจากดานหนึ่งของศีรษะโดยมีเครื่อง
อานปริมาณกัมมันตภาพรังสี (radiation) ที่ผานออกมาอีกดานหนึ่ง เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร
คํานวณปริมาณรังสีที่ออกมาแลว เครื่องจะจัดทําภาพขึ้นตามความเขมขนของรังสีที่ตรวจรับได
เนื้อเยื่อที่มีความเขมขนสูง เชน กระดูกจะดูดซับรังสีมาก ทําใหรังสีผานออกมาไดนอย จึงเกิดเปน
บริเวณสีขาว สวนบริเวณที่มีความเขมขนนอย เชน ชองวางในสมองจะเห็นภาพเปนสีดํา จากการที่
กระดูกเปนเนื้อเยื่อที่ดูดซับรังสีมาก ทําใหภาพของ CT scans ของสมองจึงไมชัดเจนนัก
2. Magnetic Resonance Imaging (MRI) Scans
MRI scans เริ่มถูกนํามาใชในป ค.ศ. 1982 และไดรับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ วิธีการนี้แตก
ตางจาก CT scans คือ แทนที่จะมีการสงผานกัมมันตภาพรังสีแบบ CT scans วิธีใหมนี้ใชการนํา
ศีรษะของผูปวยเขาไปไวในสนามแมเหล็กเพื่ออานลักษณะการหมุนของ nucleus ของแตละ atom
เนื่องจากการหมุนดังกลาวกอใหเกิดพลังงานไฟฟาจึงสงผลใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้น สนามแมเหล็ก
ของเครื่องและสนามแมเหล็กที่เกิดจากการหมุนดังกลาวจะเกิดปฏิกิริยากัน และเนื่องจากการหมุน
2
ของ nucleus จะมีความแตกตางกันในเนื้อเยื่อแตละชนิด ผลจากการอานลักษณะการหมุนดังกลา
วจะถูกนําเขาไปคํานวณดวยคอมพิวเตอรและสรางภาพขึ้น ภาพที่ไดจากการทํา MRI scans ของ
สมองจะใหความชัดเจนสูง
3. Positron Emission Tomography (PET)
Positron emission tomography (PET) เปนการสืบคนที่ทําใหสามารถเห็นภาพของ local
central nervous system metabolism บริเวณ cortex และ subcortex ของสมองได โดยอาศัย
เครื่องตรวจจับ positron emitting radionuclide (เชน 15
O, 13
N, 11
C, 18
F) ทําใหสามารถประเมิน
การทํางานของสมองไดในหลายแงมุม เชน brain glucose metabolism, cerebral blood flow,
brain oxygen use และ neurotransmitter receptor functions การสืบคนชนิดนี้ไดถูกนํามาใชใน
การหาสมุฏฐานโรคของ Schizophrenia, Bipolar Disorder, Substance-Related Disorders,
Obsessive-Compulsive Disorder และ Panic Disorder
4. Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT)
Single photon emission computed tomography (SPECT) เปนการสืบคนที่ทําใหสามารถ
เห็นภาพการทํางาน (activity) ของสมองที่ลดลงหรือเพิ่มขึ้นในลักษณะของ focal หรือ diffuse ได
โดยใชสารจําพวก lipophilic radiopharmaceuticals (เชน Tc99m
HM-PAO) การสืบคนวิธีนี้ชวยให
เห็นภาพของ cerebral blood flow และ brain receptor bindingได
เซลลประสาท (Neuron)
Neuron เปนเซลลที่ทําหนาที่รับ, บันทึก และสงผานขอมูลตาง ๆ ในรางกาย ผูเชี่ยวชาญบาง
ทานเชื่อวา มนุษยแตละคนมี neurons อยูราว 1 แสนลานเซลล จํานวนที่มากมายดังกลาวแสดงให
เห็นถึงการเชื่อมโยงการทํางานที่ซับซอนของ neurons
Neuron มีขนาดและโครงสรางที่แตกตางกันตามหนาที่ในระบบประสาท โดยทั่วไป neuron
แบงออกไดเปน 3 สวนสําคัญ คือ
1. Soma (Cell body) คือ สวนที่มี cell nucleus และโครงสรางอื่น ๆ ที่ทําใหเซลลสมอง
ทํางานไดตามปกติ
2. Dendrite คือ สวนที่รับกระแสประสาทจาก neuron ตัวอื่น โครงสรางนี้จึงมักมีขนาดสั้น
3. Axon คือ สวนที่สงกระแสประสาทไปสู neuron ตัวอื่น โครงสรางนี้จึงมักมีขนาดยาว
3
การสื่อสารภายใน neuron จะใชวิธีการสงคลื่นไฟฟาไปตาม dendrite หรือ axon ซึ่งคลื่นไฟฟา
ดังกลาวเกิดจากการผานเขาออกของเกลือแรหลายตัว โดยเฉพาะ Sodium (Na+
) และ Potassium
(K+
)
โดยทั่วไป neurons จะสื่อสารกันโดยการสงผานสารเคมีประสาท (neurochemistry) ระหวาง
กัน สารเคมีดังกลาวมีหลายชนิด คือ
1. Neurotransmitters เปนสารที่สงตอกันระหวาง neurons ที่ติดกัน สารเหลานี้มีหลาย
ชนิด เชน dopamine แตละชนิดก็มีตัวรับหลายแบบ เชน D1, D2, D3, D4 และตัวรับแตละแบบก็
จะมีผลเฉพาะอยางตอ neurons ที่ติดกันในชวงเวลาสั้น ๆ
2. Neuromodulators เปนสารที่จะสงผลให neurotransmitters แตละตัวทํางานเพิ่มขึ้น
หรือลดลง โดยการออกฤทธิ์ดังกลาวจะคงอยูเปนเวลานาน สาร neuromodulators เองไมมีผลโดย
ตรงตอ neurons
3. Hormones เปนสารที่หลั่งจากตอมไรทอ (endocrine gland) สารเหลานี้จะอยูในกระแส
เลือดและจะออกฤทธิ์ตอบางสวนของสมองอยางจําเพาะเจาะจง เชน thyrotropin-releasing
hormone (TRH) ซึ่งหลั่งจาก hypothalamus เขาสูกระแสเลือดสงผลตอ anterior pituitary gland
ในการหลั่ง thyroid-stimulating hormone (TSH) เปนตน
ประสาทกายวิภาค (Neuroanatomy)
ระบบประสาท (nervous system) ของมนุษยแบงไดเปน 2 ระบบใหญ ๆ คือ
1. Central nervous system ซึ่งประกอบดวยสมอง (brain) และไขสันหลัง (spinal cord)
2. Peripheral nervous system ซึ่งประกอบดวยสวนที่เรียกวา somatic division ซึ่งมีหนา
ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวที่ตั้งใจ เชน การขยับมือ-เทา และสวนที่เรียกวา autonomic division ซึ่ง
ทํางานแบบอัตโนมัติ เชน การชักเทาหนีเมื่อเหยียบใสกนบุหรี่ เปนตน
สมองจัดไดวาเปนสวนที่ซับซอนที่สุดของรางกายมนุษย โดยเฉลี่ยแลว สมองของมนุษยจะหนัก
ประมาณ 1,400 กรัม หรือราวรอยละ 2 ของนํ้าหนักตัว ในดานประสาทกายวิภาค สมองแบงออก
ไดเปนสวน ๆ ดังนี้ คือ
1. Telencephalon: cerebral cortices และ basal ganglia
2. Diencephalon: thalamus, hypothalamus และ limbic system
3. Midbrain: substantia nigra, ventral tegmental area (VTA), raphe nuclei และ
reticular formation
4. Pons and cerebellum
5. Medulla oblongata
4
1. Telencephalon
1.1 Cerebral cortices สามารถแบงออกไดปน 4 กอน (lobes) คือ frontal, parietal, temporal
และ occipital lobes ซึ่งแตละกอนมีหนาที่แตกตางกันดังนี้ คือ
a. Frontal Lobes: การเคลื่อนไหวโดยตั้งใจ (voluntary movement), การแกปญหา
(problem solving), การวางแผน (planning) และความจําทันที (immediate memory)
b. Temporal lobes: การไดยิน, การเขาใจภาษาที่ไดยิน (auditory language
comprehension), การเรียนรู (learning), ความจํา (memory), แรงจูงใจ (motivation) และ
อารมณ (emotion)
c. Parietal lobes: การรับสัมผัสทางกาย (somatosensory) และการแยกการรับสัมผัส
(sensory discrimination)
d. Occipital lobes: การมอง และการแปลผลจากขอมูลที่เห็น (interpretation of visual
information)
1.2 Basal ganglia คือ กลุมของศูนยกลางเซลลประสาทที่อยูใต cortex (subcortical nuclei)
ซึ่งมีองคประกอบสําคัญ คือ caudate nucleus, putamen และ globus pallidus สมองสวนนี้มีบท
บาทสําคัญในการควบคุมความตึงของกลามเนื้อ (muscle tone) และประสานงานดานการเคลื่อน
ไหว (coordinaiton of movement) ความผิดปกติของสมองสวนนี้จึงทําใหเกิดอาการสั่น (tremor)
และการแข็งทื่อ (rigidity) ได
นอกจากนี้ สมองสวนนี้ยังเกี่ยวของกับความจําที่เกี่ยวของกับหัตถการ (procedural
memory) ซึ่งความจําลักษณะนี้เปนสิ่งสําคัญในการเรียนรูเพื่อใหเกิดความชํานาญดานการเคลื่อน
ไหว (motor skills) เชน การเตนรํา, การผูกเชือกรองเทา
2. Diencephalon
2.1 Thalamus เปนกลุมของศูนยกลางเซลลประสาท (nuclei) ที่อยูดานในของสมองซึ่งมีหนาที่
สงผานขอมูลดานการรับสัมผัส (sensory information) (ยกเวนการไดกลิ่น) จากสวนอื่น ๆ ของราง
กายและสงตอขอมูลดังกลาวไปที่ cerebral cortex นอกจากนี้ บางสวนของ thalamus ยังเกี่ยวของ
กับอารมณและความจําอีกดวย
2.2 Hypothalamus อยูที่ดานลางของ thalamus มีหนาที่สําคัญเกี่ยวกับวงจรการหลับ-ตื่น
(sleep-wake cycle), การควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic nervous system) และ
ควบคุมการทํางานของ pituitary gland (ซึ่งมีหนาที่หลั่ง hormones หลายตัว), ความหิว และ
ความกาวราว
5
2.3 Limbic system เปนระบบหนึ่งของสมองที่มี hypothalamus เปนองคประกอบหนึ่งของ
ระบบ ระบบสมองสวนนี้มีความเกี่ยวของกับอารมณ (emotion) ความผิดปกติของสมองบริเวณนี้
ทําใหเกิดความผิดปกติทางอารมณไดมากมาย เชน การโกรธรุนแรง, ความวิตกกังวล, ความ
ตองการทางเพศที่มากขึ้นหรือนอยลง
3. Midbrain
3.1 Substantia nigra เปนศูนยกลางของเซลลประสาท (nuclei) จํานวนหนึ่งที่มีแขนงของ
เซลลประสาทยื่นไปสูบริเวณ caudate และ putament บริเวณนี้จึงทํางานประสานกับสมองสวนดัง
กลาวในการควบคุมความตึงของกลามเนื้อ (muscle tone) และประสานงานดานการเคลื่อนไหว
(coordinaiton of movement) ความผิดปกติของสมองสวนนี้จึงทําใหเกิดอาการสั่น (tremor) และ
การแข็งทื่อ (rigidity) ได
3.2 Ventral tegmental area (VTA) เปนศูนยกลางของเซลลประสาท (nuclei) จํานวนหนึ่งที่
มีแขนงของเซลลประสาทยื่นไปสูบริเวณ frontal lobes (mesocortical tract) และ limbic system
(mesolimbic tract) ในปจจุบันเชื่อวา ความผิดปกติของ mesolimbic tract เปนสาเหตุสําคัญ
ประการหนึ่งของการเกิดโรค schizophrenia
3.3 Raphe nuclei เปนกลุมของศูนยกลางเซลลประสาท (nuclei) ที่อยูกึ่งกลางของ
midbrain, pons และ medulla กลุมเซลลนี้มีแขนงยื่นไปที่สวนตาง ๆ หลายแหงของสมอง ความ
ผิดปกติของบริเวณนี้จะกอใหเกิดความผิดปกติในดานการควบคุมการนอน (sleep regulation)
และการควบคุมอารมณและพฤติกรรมกาวราว (the control of mood and aggressive behavior)
3.4 Reticular formation เปนกลุมของศูนยกลางเซลลประสาท (nuclei) ที่กระจัดกระจาย
อยูใน midbrain, pons และ medulla กลุมเซลลนี้จะมีแขนงยื่นไดที่สวนตาง ๆ หลายแหงของ
สมอง สมองสวนนี้มีหนาที่เกี่ยวกับการรูสึกตัว (consciousness) ดังนั้นความผิดปกติของสมอง
บริเวณนี้อาจทําใหผูปวยสับสน (confusion) หรือไมรูตัว จนถึงการมีอาการ coma ได
4. Pons
สมองสวนนี้เปนบริเวณเชื่อมตอระหวาง spinal cord และ medulla oblogata กับสมองสวน
ที่สูงขึ้นไป สมองสวนนี้เกี่ยวของกับการนอน (sleep), การตอบสนองทางกายและทางอารมณตอ
ความเครียด (physical and emotional responses to stress), ระบบการรับสัมผัส (the sensory
system) และการกระตุนบริเวณ cortex (cortical activation)
5. Medulla oblongata
6
สมองบริเวณนี้เปนสวนที่เชื่อมตอระหวางสมองสวนที่สูงขึ้นไปและไขสันหลัง หนาที่สําคัญ
ของสมองสวนนี้ คือ การควบคุมอัตราการหายใจและการเตนของหัวใจ ความเสียหายของสมองนี้
จะทําใหเสียชีวิตได
6. Cerebellum
สมองสวนนี้มีหนาที่สําคัญเกี่ยวกับการทรงตัว, ทาเดิน และการควบคุมการเคลื่อนไหว
การทํางานของ Cerebral Hemispheres (Function of the Cerebral
Hemispheres)
Cerebral hemispheres มีการทํางานในลักษณะของการจัดการในดานตรงขาม (contralateral
arrangement) ดังนั้นสวนของสมองที่รับสัมผัสหรือสั่งการเคลื่อนไหวของ cortex ดานขวาจึงทํา
หนาที่ดังกลาวตอรางกายซีกซาย สวน cortex ดานซายจะทําหนาที่ดังกลาวตอรางกายซีกขวา
อยางไรก็ตาม cerebral hemispheres ทั้งสองดานก็มีการสื่อสารกันทาง corpus callosum
ผูที่ถนัดขวาเกือบทั้งหมดจะมี left cerebral hemisphere เปนสมองซีกที่เดน (dominant)
ประมาณสองในสามของผูที่ถนัดซายก็จะมี left cerebral hemisphere เปนสมองซีกที่เดนเชนกัน
ราวหนึ่งในสามของผูที่ถนัดซายเทานั้นที่จะมี right cerebral hemisphere เปนสมองซีกที่เดน
แมวาภายนอกของ cerebral hemispheres ทั้งสองดานจะดูคลายกัน แตหนาที่บางอยางก็มี
ความแตกตางกันโดย left cerebral hemisphere มีหนาที่หลักเกี่ยวกับภาษา (เชน การพูด, การ
อาน, การเขียน), ความคิดที่เปนตรรกะ (logical thought) และการวิเคราะหขอมูล (analysis of
information) สวน right cerebral hemisphere มีหนาที่หลักเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
(movements), การสังเคราะห (synthesis), ความเขาใจ (comphrehension) และการสื่อสารดาน
อารมณ (communication of emotion)
การทํางานผิดปกติของสมอง (Brain Dysfunction)
การทํางานผิดปกติของสมองที่พบบอย คือ ความผิดปกติของภาษา (disorders of language),
ความผิดปกติของการอานและเขียน (disorders of reading and writing), ความผิดปกติของการ
รับรู (disorders of perception), ความผิดปกติของความจํา (disorders of memory), ความผิด
ปกติของการเคลื่อนไหว (disorders of movement), ความผิดปกติของอารมณและการเขาสังคม
(disorders of emotional and social function) และความผิดปกติของการทําหนาที่ดานบริหาร
(disorders of executive functioning)
7
1. ความผิดปกติของภาษา (Disorders of Language)
โดยทั่วไปสมองซีกที่ควบคุมมือที่ถนัดซึ่งสวนใหญ คือ สมองซีกซาย จะเปนสมองซีกที่ทําหนาที่
เกี่ยวของกับภาษา
ความผิดปกติของภาษาที่เกิดจากความเสียหายของสมองเรียกวา aphasias สําหรับชนิดที่พบ
บอย คือ
1.1 Broca’s aphasia: ผูปวยพูดไดลําบาก, พูดทวนคําไมได, บอกชื่อสิ่งของไมได แตยังเขา
ใจในสิ่งที่ผูอื่นพูดได ความผิดปกติชนิดนี้พบไดเมื่อมีความเสียหายที่บริเวณ Broca’s area (left
inferior frontal lobe)
1.2 Wernicke’s aphasia: ผูปวยจะพูดทวนคําไมได, บอกชื่อสิ่งของไมได และไมเขาใจสิ่งที่
ผูอื่นพูด แตผูปวยมีลักษณะการพูดแบบ fluent aphasias ความผิดปกติชนิดนี้พบไดเมื่อมีความ
เสียหายที่บริเวณ Wernicke’s area (left superior temporal lobe)
Fluent aphasias คือ การพูดไดอยางคลองแคลวแตเนื้อหาของการพูดไมสามารถเขาใจไดเนื่อง
จากการใชภาษาที่ผิดไปจากปกติอยางมาก เชน การใชคําหนึ่งแทนคําหนึ่ง (ใชคําวา “เกาอี้” แทน
คําวา “โตะ”), การพูดประโยคซํ้าเดิมแมวาผูอื่นจะเปลี่ยนเรื่องหรือเปลี่ยนคําถามไปแลว, การออก
เสียงผิดจากที่ควรจะเปน (ใชคําวา “กลาย” แทนคําวา “กาย”), การบัญญัติศัพทใหมซึ่งไมสามารถ
เขาใจได เปนตน
2. ความผิดปกติของการอานและการเขียน (Disorders of Reading and Writing)
การสูญเสียความสามารถในอานหนังสืออยางสิ้นเชิง เรียกวา alexia แตการสูญเสียความ
สามารถดังกลาวเพียงบางสวนเรียกวา dyslexia สวนการสูญเสียความสามารถในการเขียน เรียก
วา dysgraphia ความผิดปกติเหลานี้อาจเกิดขึ้นไดโดยที่ผูปวยไมมีความผิดปกติของการพูด, การ
เขาใจภาษา นอกจากนี้ผูปวยจะตองมีเชาวนปญญา, แรงจูงใจ และการศึกษาอยูในเกณฑดี
3. ความผิดปกติของการรับสัมผัส (Disorders of Perception)
ความผิดปกติของการรับสัมผัสเรียกวา agnosias (ภาษากรีก a = not, gnosis = perception)
ความผิดปกติเหลานี้เกิดจากความเสียหายของสมองในสวน parietal lobes ซึ่งแบงไดเปนหลาย
ชนิด ขึ้นอยูกับตําแหนงของสมองที่เกิดความเสียหาย
3.1 Astereognosia: การไมสามารถทราบถึงลักษณะหรือรูปทรงของวัตถุที่อยูในมือได แม
วาผูปวยจะมีเชาวนปญญา, ความสนใจ และความสามารถดานภาษาอยูในเกณฑดี
3.2 Finger agnosis: การไมสามารถบอกไดวานิ้วไหนของผูปวยไดรับการสัมผัสจากภาย
นอก
8
3.3 Auditory agnosia: การไมสามารถเขาใจการพูดของผูอื่น นอกจากนี้ ผูปวยยังไม
สามารถจําเสียงที่เคยไดยินบอย ๆ ได เชน เสียงไอ, เสียงนกหวีด เปนตน
3.4 Visual object agnosia: การไมสามารถบอกชื่อของสิ่งที่เห็นได
3.5 Prosopagnosia: การไมสามารถจําหนาของคนคุนเคยได ในรายที่รุนแรง ผูปวยอาจไม
สามารถจําหนาตนเองที่เห็นในกระจกได
3.6 Unilateral neglect: การละเลยสิ่งกระตุนดานภาพ, เสียง หรือสัมผัสจากดานใดดาน
หนึ่งของผูปวย ตัวอยางเชน การตักขาวในจานดานซายมือกินเพียงขางเดียงโดยไมสนใจขาวใน
จานดานขวามือ
4. ความผิดปกติของความจํา (Disorders of Memory)
ความผิดปกติของความจํา เรียกวา amnesia ความเสียหายที่สวนใดสวนหนึ่งของสมองมักทํา
ใหผูปวยเกิด amnesia รวมดวย อยางไรก็ตาม การศึกษาวิจัยในระยะหลังพบวาบางสวนของสมอง
มีความเกี่ยวของอยางยิ่งกับเรื่องของความจํา เชน medial temporal lobes, thalamus, fiber
pathways ที่ติดตอกับบริเวณดังกลาว เปนตน
ความผิดปกติของความจํามีไดหลายแบบ เชน
4.1 Retrograde amnesia: ลืมสิ่งที่เกิดเคยเรียนรูหรือจําไดในอดีต ความผิดปกตินี้สามารถ
พบไดในบางโรคของสมอง เชน traumatic amnesia
4.2 Anterograde amnesia: ไมสามารถจดจําสิ่งที่เรียนรูใหมได ความผิดปกตินี้สามารถพบ
ไดในผูปวยทางจิตเวชที่ไดรับการรักษาโดยการทําใหชักดวยไฟฟา (electroconvulsive
therapy)
5. ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว (Disorders of Movement)
การสูญเสียความชํานาญในการเคลื่อนไหว (skilled motor movement) เรียกวา apraxia การ
ใชคําวา apraxia จะใชในกรณีที่การสูญเสียความชํานาญดังกลาวไมไดเกิดจากการออนแรงของ
กลามเนื้อ, การเคลื่อนไหวชา (akinesia), ความผิดปกติของความตึงของกลามเนื้อหรือทาทาง, สั่น
(tremors), การเสื่อมของเชาวนปญญา, การไมเขาใจภาษา หรือการไมรวมมือ
Apraxia แบงออกไดเปน 3 ชนิดใหญ ๆ คือ
5.1 Ideomotor apraxia: การสูญเสียความชํานาญในการเคลื่อนไหวงาย ๆ เชน การปรบมือ
ความผิดปกตินี้มักเกิดจากความเสียหายที่บริเวณ left premotor area ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ frontal
lobe
9
5.2 Ideational apraxia: การสูญเสียความชํานาญในการเคลื่อนไหวที่ซับซอนหรือเปนขั้น
ตอน เชน การเปดซองจดหมาย, การผูกเชือกรองเทา ความผิดปกตินี้มักเกิดจากความเสียหายใน
หลาย ๆ บริเวณของสมอง โดยเฉพาะ left parietal cortex ความผิดปกติมักตรวจพบไดในผูปวยที่
มีการเสื่อมของ cortex แบบครอบคลุม (diffuse cortical degeneration) เชน Alzheimer’s
disease
5.3 Constructional apraxia: การสูญเสียความชํานาญในการจัดวางภาพ, โครงสราง และ
ที่วาง ผูปวยที่มีความผิดปกตินี้จะไมสามารถจัดวาภาพหรือโครงสรางตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมใน
พื้นที่ ๆ ที่จัดให เชน การไมสามารถวาดรูปหนาปดนาฬิกาไดอยางถูกตอง เปนตน
5. ความผิดปกติดานอารมณ (Disorders of Emotion)
ความเสียหายของสมองบริเวณ temporal และ parietal lobes ของสมองซีกขวามักทําใหผูปวย
ไมสามารถทราบถึงการแสดงอารมณของผูอื่นซึ่งแสดงออกทางนํ้าเสียง, สีหนา และทาทาง นอก
จากนี้ ความเสียหายดังกลาวมักทําใหผูปวยมีอารมณที่ไมเหมาะสมรวมดวย ความผิดปกติดัง
กลาวมักสงผลใหผูปวยเหลานี้มีบุคลิกภาพที่ไมเหมาะสมในการเขาสังคม เชน การไมแสดงอารมณ
ในระหวางการสนทนา, การหัวเราะอยางไมสมเหตุสมผล
6. ความผิดปกติของการทําหนาที่ดานการจัดการ (Disorders of Executive Functioning)
การทําหนาที่ดานการจัดการ (executive functioning, EF) หมายถึง ความสามารถในการแก
ปญหาไดอยางเหมาะสมตามเปาหมายที่ตองการ ดังนั้น EF จึงเกี่ยวของกับการตั้งเปาหมาย, การ
วางแผนการปฏิบัติ, การควบคุมพฤติกรรมของตนเอง และการปรับเปลี่ยนแผนการใหเหมาะสมกับ
สถานการณ
เนื่องจาก frontal lobes เปนสมองสวนที่มีหนาที่รับผิดชอบในในหลาย ๆ เรื่องของสมอง เชน
การเคลื่อนไหว, การรับสัมผัส, ภาษา, ความจํา, การตัดสินใจ และบุคลิกภาพ ความผิดปกติของ
EF จึงมักพบในผูปวยที่มีความเสียหายของ frontal lobes
EF เปนสิ่งสําคัญในการดํารงชีวิตประจําวัน ดังนั้นผูที่มีความผิดปกติของ EF มักมีปญหาทาง
พฤติกรรมตาง ๆ ตามมามากมาย เนื่องจากผูปวยไมสามารถที่จะปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม
ไดอยางเหมาะสม
บรรณานุกรม (References)
1. Baron RA. Psychology. 2nd ed. Boston: Allyn and Bacon, 1992.

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Anatomy of the somatosensory system 2021 PDF.pdf
Anatomy of the somatosensory system 2021 PDF.pdfAnatomy of the somatosensory system 2021 PDF.pdf
Anatomy of the somatosensory system 2021 PDF.pdf
 
Parietal lobe ppt
Parietal lobe pptParietal lobe ppt
Parietal lobe ppt
 
Nucleus accumbens Hue and Nick
Nucleus accumbens   Hue and NickNucleus accumbens   Hue and Nick
Nucleus accumbens Hue and Nick
 
An Introduction to Neurotransmitter System
An Introduction to Neurotransmitter SystemAn Introduction to Neurotransmitter System
An Introduction to Neurotransmitter System
 
Cns 14
Cns 14Cns 14
Cns 14
 
Frontal lobe & subcortical circuits
Frontal lobe & subcortical circuitsFrontal lobe & subcortical circuits
Frontal lobe & subcortical circuits
 
The Insular Cortex
The Insular CortexThe Insular Cortex
The Insular Cortex
 
Autonomic nervous system in psychiatry
Autonomic nervous system in psychiatryAutonomic nervous system in psychiatry
Autonomic nervous system in psychiatry
 
Basic neuroanatomy & neurophysiology
Basic neuroanatomy & neurophysiologyBasic neuroanatomy & neurophysiology
Basic neuroanatomy & neurophysiology
 
Frontal lobe dr. arpit
Frontal lobe dr. arpitFrontal lobe dr. arpit
Frontal lobe dr. arpit
 
Functional anatomy of Frontal lobe
Functional anatomy of Frontal lobeFunctional anatomy of Frontal lobe
Functional anatomy of Frontal lobe
 
Neuroanatomy & Neurophysiology DCP 1105.ppt
Neuroanatomy & Neurophysiology DCP 1105.pptNeuroanatomy & Neurophysiology DCP 1105.ppt
Neuroanatomy & Neurophysiology DCP 1105.ppt
 
White matter tracts
White matter tractsWhite matter tracts
White matter tracts
 
Cerebellum 78
Cerebellum 78Cerebellum 78
Cerebellum 78
 
Frontal lobe
Frontal lobeFrontal lobe
Frontal lobe
 
Frontal lobe
Frontal lobeFrontal lobe
Frontal lobe
 
Ch. 3: Biopsychology
Ch. 3: BiopsychologyCh. 3: Biopsychology
Ch. 3: Biopsychology
 
Neurons
NeuronsNeurons
Neurons
 
Autonomic nervous system
Autonomic nervous systemAutonomic nervous system
Autonomic nervous system
 
Temporal lobe ppt
Temporal lobe pptTemporal lobe ppt
Temporal lobe ppt
 

Similar to Brain and behavior in Thai

ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 

Similar to Brain and behavior in Thai (20)

ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

More from Thorsang Chayovan

COVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CTCOVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CTThorsang Chayovan
 
Dyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guidelineDyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guidelineThorsang Chayovan
 
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiPediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiThorsang Chayovan
 
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis Thorsang Chayovan
 
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreasThe role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreasThorsang Chayovan
 
Role of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsiaRole of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsiaThorsang Chayovan
 
Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis Thorsang Chayovan
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการThorsang Chayovan
 
Febrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in childrenFebrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in childrenThorsang Chayovan
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenThorsang Chayovan
 
Diseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in ThaiDiseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in ThaiThorsang Chayovan
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thorsang Chayovan
 

More from Thorsang Chayovan (20)

COVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CTCOVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CT
 
Dyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guidelineDyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guideline
 
Common respiratory problems
Common respiratory problemsCommon respiratory problems
Common respiratory problems
 
Avascular necrosis
Avascular necrosisAvascular necrosis
Avascular necrosis
 
Shoulder injury
Shoulder injuryShoulder injury
Shoulder injury
 
Pediatric pneumonia Thai
Pediatric pneumonia ThaiPediatric pneumonia Thai
Pediatric pneumonia Thai
 
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiPediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
 
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
 
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreasThe role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
 
Role of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsiaRole of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsia
 
Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis
 
Pneumonia in children
Pneumonia in childrenPneumonia in children
Pneumonia in children
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
 
Febrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in childrenFebrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in children
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
Diseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in ThaiDiseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in Thai
 
Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009
 
NEJM Cholecystitis
NEJM CholecystitisNEJM Cholecystitis
NEJM Cholecystitis
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
 
ACLS Thai
ACLS ThaiACLS Thai
ACLS Thai
 

Brain and behavior in Thai

  • 1. สมองและพฤติกรรม Brain and Behavior ร.ศ. มานิต ศรีสุรภานนท ในสมัยโบราณคนเราเชื่อวาสภาพจิตใจและพฤติกรรมของมนุษยเปนผลมาจากหัวใจและ อวัยวะภายใน ตอมา Galen (ค.ศ. 129-199) ซึ่งจัดวาเปนบิดาแหงประสาทจิตวิทยาสมัยใหม (modern neuropsychology) ใหความเห็นวาสภาพจิตใจและพฤติกรรมของมนุษยเปนผลมาจาก สมอง แมวาแนวความคิดนี้จะไดรับการยอมรับ แตความรูตาง ๆ ในแงมุมดังกลาวก็เพิ่มขึ้นชามาก ในชวงหลายสิบปที่ผานมา ความรูตาง ๆ ในแงมุมนี้ไดมีเพิ่มขึ้นอยางมาก เนื่องจากมีการใช เทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อศึกษาเกี่ยวกับประสาทกายวิภาค (neuroanatomy) โดยเฉพาะในดาน brain imaging เชน computed tomography (CT), magnatic resonance imaging (MRI) การศึกษาความผิดปกติของโครงสรางสมอง 1. Computed Tomography (CT) Scans การเริ่มนํา CT scans มาใชในป ค.ศ. 1972 จัดวาเปนความกาวหนาครั้งสําคัญทางประสาท รังสีวิทยา (neuroradiology) ในปจจุบัน CT scans จัดวาเปนเครื่องมือหนึ่งที่มีการใชอยางแพร หลายในการหาความผิดปกติของโครงสรางสมอง ภาพของ CT scans เกิดจากการฉายรังสีเปนมุม 360 องศาจากดานหนึ่งของศีรษะโดยมีเครื่อง อานปริมาณกัมมันตภาพรังสี (radiation) ที่ผานออกมาอีกดานหนึ่ง เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร คํานวณปริมาณรังสีที่ออกมาแลว เครื่องจะจัดทําภาพขึ้นตามความเขมขนของรังสีที่ตรวจรับได เนื้อเยื่อที่มีความเขมขนสูง เชน กระดูกจะดูดซับรังสีมาก ทําใหรังสีผานออกมาไดนอย จึงเกิดเปน บริเวณสีขาว สวนบริเวณที่มีความเขมขนนอย เชน ชองวางในสมองจะเห็นภาพเปนสีดํา จากการที่ กระดูกเปนเนื้อเยื่อที่ดูดซับรังสีมาก ทําใหภาพของ CT scans ของสมองจึงไมชัดเจนนัก 2. Magnetic Resonance Imaging (MRI) Scans MRI scans เริ่มถูกนํามาใชในป ค.ศ. 1982 และไดรับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ วิธีการนี้แตก ตางจาก CT scans คือ แทนที่จะมีการสงผานกัมมันตภาพรังสีแบบ CT scans วิธีใหมนี้ใชการนํา ศีรษะของผูปวยเขาไปไวในสนามแมเหล็กเพื่ออานลักษณะการหมุนของ nucleus ของแตละ atom เนื่องจากการหมุนดังกลาวกอใหเกิดพลังงานไฟฟาจึงสงผลใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้น สนามแมเหล็ก ของเครื่องและสนามแมเหล็กที่เกิดจากการหมุนดังกลาวจะเกิดปฏิกิริยากัน และเนื่องจากการหมุน
  • 2. 2 ของ nucleus จะมีความแตกตางกันในเนื้อเยื่อแตละชนิด ผลจากการอานลักษณะการหมุนดังกลา วจะถูกนําเขาไปคํานวณดวยคอมพิวเตอรและสรางภาพขึ้น ภาพที่ไดจากการทํา MRI scans ของ สมองจะใหความชัดเจนสูง 3. Positron Emission Tomography (PET) Positron emission tomography (PET) เปนการสืบคนที่ทําใหสามารถเห็นภาพของ local central nervous system metabolism บริเวณ cortex และ subcortex ของสมองได โดยอาศัย เครื่องตรวจจับ positron emitting radionuclide (เชน 15 O, 13 N, 11 C, 18 F) ทําใหสามารถประเมิน การทํางานของสมองไดในหลายแงมุม เชน brain glucose metabolism, cerebral blood flow, brain oxygen use และ neurotransmitter receptor functions การสืบคนชนิดนี้ไดถูกนํามาใชใน การหาสมุฏฐานโรคของ Schizophrenia, Bipolar Disorder, Substance-Related Disorders, Obsessive-Compulsive Disorder และ Panic Disorder 4. Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) Single photon emission computed tomography (SPECT) เปนการสืบคนที่ทําใหสามารถ เห็นภาพการทํางาน (activity) ของสมองที่ลดลงหรือเพิ่มขึ้นในลักษณะของ focal หรือ diffuse ได โดยใชสารจําพวก lipophilic radiopharmaceuticals (เชน Tc99m HM-PAO) การสืบคนวิธีนี้ชวยให เห็นภาพของ cerebral blood flow และ brain receptor bindingได เซลลประสาท (Neuron) Neuron เปนเซลลที่ทําหนาที่รับ, บันทึก และสงผานขอมูลตาง ๆ ในรางกาย ผูเชี่ยวชาญบาง ทานเชื่อวา มนุษยแตละคนมี neurons อยูราว 1 แสนลานเซลล จํานวนที่มากมายดังกลาวแสดงให เห็นถึงการเชื่อมโยงการทํางานที่ซับซอนของ neurons Neuron มีขนาดและโครงสรางที่แตกตางกันตามหนาที่ในระบบประสาท โดยทั่วไป neuron แบงออกไดเปน 3 สวนสําคัญ คือ 1. Soma (Cell body) คือ สวนที่มี cell nucleus และโครงสรางอื่น ๆ ที่ทําใหเซลลสมอง ทํางานไดตามปกติ 2. Dendrite คือ สวนที่รับกระแสประสาทจาก neuron ตัวอื่น โครงสรางนี้จึงมักมีขนาดสั้น 3. Axon คือ สวนที่สงกระแสประสาทไปสู neuron ตัวอื่น โครงสรางนี้จึงมักมีขนาดยาว
  • 3. 3 การสื่อสารภายใน neuron จะใชวิธีการสงคลื่นไฟฟาไปตาม dendrite หรือ axon ซึ่งคลื่นไฟฟา ดังกลาวเกิดจากการผานเขาออกของเกลือแรหลายตัว โดยเฉพาะ Sodium (Na+ ) และ Potassium (K+ ) โดยทั่วไป neurons จะสื่อสารกันโดยการสงผานสารเคมีประสาท (neurochemistry) ระหวาง กัน สารเคมีดังกลาวมีหลายชนิด คือ 1. Neurotransmitters เปนสารที่สงตอกันระหวาง neurons ที่ติดกัน สารเหลานี้มีหลาย ชนิด เชน dopamine แตละชนิดก็มีตัวรับหลายแบบ เชน D1, D2, D3, D4 และตัวรับแตละแบบก็ จะมีผลเฉพาะอยางตอ neurons ที่ติดกันในชวงเวลาสั้น ๆ 2. Neuromodulators เปนสารที่จะสงผลให neurotransmitters แตละตัวทํางานเพิ่มขึ้น หรือลดลง โดยการออกฤทธิ์ดังกลาวจะคงอยูเปนเวลานาน สาร neuromodulators เองไมมีผลโดย ตรงตอ neurons 3. Hormones เปนสารที่หลั่งจากตอมไรทอ (endocrine gland) สารเหลานี้จะอยูในกระแส เลือดและจะออกฤทธิ์ตอบางสวนของสมองอยางจําเพาะเจาะจง เชน thyrotropin-releasing hormone (TRH) ซึ่งหลั่งจาก hypothalamus เขาสูกระแสเลือดสงผลตอ anterior pituitary gland ในการหลั่ง thyroid-stimulating hormone (TSH) เปนตน ประสาทกายวิภาค (Neuroanatomy) ระบบประสาท (nervous system) ของมนุษยแบงไดเปน 2 ระบบใหญ ๆ คือ 1. Central nervous system ซึ่งประกอบดวยสมอง (brain) และไขสันหลัง (spinal cord) 2. Peripheral nervous system ซึ่งประกอบดวยสวนที่เรียกวา somatic division ซึ่งมีหนา ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวที่ตั้งใจ เชน การขยับมือ-เทา และสวนที่เรียกวา autonomic division ซึ่ง ทํางานแบบอัตโนมัติ เชน การชักเทาหนีเมื่อเหยียบใสกนบุหรี่ เปนตน สมองจัดไดวาเปนสวนที่ซับซอนที่สุดของรางกายมนุษย โดยเฉลี่ยแลว สมองของมนุษยจะหนัก ประมาณ 1,400 กรัม หรือราวรอยละ 2 ของนํ้าหนักตัว ในดานประสาทกายวิภาค สมองแบงออก ไดเปนสวน ๆ ดังนี้ คือ 1. Telencephalon: cerebral cortices และ basal ganglia 2. Diencephalon: thalamus, hypothalamus และ limbic system 3. Midbrain: substantia nigra, ventral tegmental area (VTA), raphe nuclei และ reticular formation 4. Pons and cerebellum 5. Medulla oblongata
  • 4. 4 1. Telencephalon 1.1 Cerebral cortices สามารถแบงออกไดปน 4 กอน (lobes) คือ frontal, parietal, temporal และ occipital lobes ซึ่งแตละกอนมีหนาที่แตกตางกันดังนี้ คือ a. Frontal Lobes: การเคลื่อนไหวโดยตั้งใจ (voluntary movement), การแกปญหา (problem solving), การวางแผน (planning) และความจําทันที (immediate memory) b. Temporal lobes: การไดยิน, การเขาใจภาษาที่ไดยิน (auditory language comprehension), การเรียนรู (learning), ความจํา (memory), แรงจูงใจ (motivation) และ อารมณ (emotion) c. Parietal lobes: การรับสัมผัสทางกาย (somatosensory) และการแยกการรับสัมผัส (sensory discrimination) d. Occipital lobes: การมอง และการแปลผลจากขอมูลที่เห็น (interpretation of visual information) 1.2 Basal ganglia คือ กลุมของศูนยกลางเซลลประสาทที่อยูใต cortex (subcortical nuclei) ซึ่งมีองคประกอบสําคัญ คือ caudate nucleus, putamen และ globus pallidus สมองสวนนี้มีบท บาทสําคัญในการควบคุมความตึงของกลามเนื้อ (muscle tone) และประสานงานดานการเคลื่อน ไหว (coordinaiton of movement) ความผิดปกติของสมองสวนนี้จึงทําใหเกิดอาการสั่น (tremor) และการแข็งทื่อ (rigidity) ได นอกจากนี้ สมองสวนนี้ยังเกี่ยวของกับความจําที่เกี่ยวของกับหัตถการ (procedural memory) ซึ่งความจําลักษณะนี้เปนสิ่งสําคัญในการเรียนรูเพื่อใหเกิดความชํานาญดานการเคลื่อน ไหว (motor skills) เชน การเตนรํา, การผูกเชือกรองเทา 2. Diencephalon 2.1 Thalamus เปนกลุมของศูนยกลางเซลลประสาท (nuclei) ที่อยูดานในของสมองซึ่งมีหนาที่ สงผานขอมูลดานการรับสัมผัส (sensory information) (ยกเวนการไดกลิ่น) จากสวนอื่น ๆ ของราง กายและสงตอขอมูลดังกลาวไปที่ cerebral cortex นอกจากนี้ บางสวนของ thalamus ยังเกี่ยวของ กับอารมณและความจําอีกดวย 2.2 Hypothalamus อยูที่ดานลางของ thalamus มีหนาที่สําคัญเกี่ยวกับวงจรการหลับ-ตื่น (sleep-wake cycle), การควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic nervous system) และ ควบคุมการทํางานของ pituitary gland (ซึ่งมีหนาที่หลั่ง hormones หลายตัว), ความหิว และ ความกาวราว
  • 5. 5 2.3 Limbic system เปนระบบหนึ่งของสมองที่มี hypothalamus เปนองคประกอบหนึ่งของ ระบบ ระบบสมองสวนนี้มีความเกี่ยวของกับอารมณ (emotion) ความผิดปกติของสมองบริเวณนี้ ทําใหเกิดความผิดปกติทางอารมณไดมากมาย เชน การโกรธรุนแรง, ความวิตกกังวล, ความ ตองการทางเพศที่มากขึ้นหรือนอยลง 3. Midbrain 3.1 Substantia nigra เปนศูนยกลางของเซลลประสาท (nuclei) จํานวนหนึ่งที่มีแขนงของ เซลลประสาทยื่นไปสูบริเวณ caudate และ putament บริเวณนี้จึงทํางานประสานกับสมองสวนดัง กลาวในการควบคุมความตึงของกลามเนื้อ (muscle tone) และประสานงานดานการเคลื่อนไหว (coordinaiton of movement) ความผิดปกติของสมองสวนนี้จึงทําใหเกิดอาการสั่น (tremor) และ การแข็งทื่อ (rigidity) ได 3.2 Ventral tegmental area (VTA) เปนศูนยกลางของเซลลประสาท (nuclei) จํานวนหนึ่งที่ มีแขนงของเซลลประสาทยื่นไปสูบริเวณ frontal lobes (mesocortical tract) และ limbic system (mesolimbic tract) ในปจจุบันเชื่อวา ความผิดปกติของ mesolimbic tract เปนสาเหตุสําคัญ ประการหนึ่งของการเกิดโรค schizophrenia 3.3 Raphe nuclei เปนกลุมของศูนยกลางเซลลประสาท (nuclei) ที่อยูกึ่งกลางของ midbrain, pons และ medulla กลุมเซลลนี้มีแขนงยื่นไปที่สวนตาง ๆ หลายแหงของสมอง ความ ผิดปกติของบริเวณนี้จะกอใหเกิดความผิดปกติในดานการควบคุมการนอน (sleep regulation) และการควบคุมอารมณและพฤติกรรมกาวราว (the control of mood and aggressive behavior) 3.4 Reticular formation เปนกลุมของศูนยกลางเซลลประสาท (nuclei) ที่กระจัดกระจาย อยูใน midbrain, pons และ medulla กลุมเซลลนี้จะมีแขนงยื่นไดที่สวนตาง ๆ หลายแหงของ สมอง สมองสวนนี้มีหนาที่เกี่ยวกับการรูสึกตัว (consciousness) ดังนั้นความผิดปกติของสมอง บริเวณนี้อาจทําใหผูปวยสับสน (confusion) หรือไมรูตัว จนถึงการมีอาการ coma ได 4. Pons สมองสวนนี้เปนบริเวณเชื่อมตอระหวาง spinal cord และ medulla oblogata กับสมองสวน ที่สูงขึ้นไป สมองสวนนี้เกี่ยวของกับการนอน (sleep), การตอบสนองทางกายและทางอารมณตอ ความเครียด (physical and emotional responses to stress), ระบบการรับสัมผัส (the sensory system) และการกระตุนบริเวณ cortex (cortical activation) 5. Medulla oblongata
  • 6. 6 สมองบริเวณนี้เปนสวนที่เชื่อมตอระหวางสมองสวนที่สูงขึ้นไปและไขสันหลัง หนาที่สําคัญ ของสมองสวนนี้ คือ การควบคุมอัตราการหายใจและการเตนของหัวใจ ความเสียหายของสมองนี้ จะทําใหเสียชีวิตได 6. Cerebellum สมองสวนนี้มีหนาที่สําคัญเกี่ยวกับการทรงตัว, ทาเดิน และการควบคุมการเคลื่อนไหว การทํางานของ Cerebral Hemispheres (Function of the Cerebral Hemispheres) Cerebral hemispheres มีการทํางานในลักษณะของการจัดการในดานตรงขาม (contralateral arrangement) ดังนั้นสวนของสมองที่รับสัมผัสหรือสั่งการเคลื่อนไหวของ cortex ดานขวาจึงทํา หนาที่ดังกลาวตอรางกายซีกซาย สวน cortex ดานซายจะทําหนาที่ดังกลาวตอรางกายซีกขวา อยางไรก็ตาม cerebral hemispheres ทั้งสองดานก็มีการสื่อสารกันทาง corpus callosum ผูที่ถนัดขวาเกือบทั้งหมดจะมี left cerebral hemisphere เปนสมองซีกที่เดน (dominant) ประมาณสองในสามของผูที่ถนัดซายก็จะมี left cerebral hemisphere เปนสมองซีกที่เดนเชนกัน ราวหนึ่งในสามของผูที่ถนัดซายเทานั้นที่จะมี right cerebral hemisphere เปนสมองซีกที่เดน แมวาภายนอกของ cerebral hemispheres ทั้งสองดานจะดูคลายกัน แตหนาที่บางอยางก็มี ความแตกตางกันโดย left cerebral hemisphere มีหนาที่หลักเกี่ยวกับภาษา (เชน การพูด, การ อาน, การเขียน), ความคิดที่เปนตรรกะ (logical thought) และการวิเคราะหขอมูล (analysis of information) สวน right cerebral hemisphere มีหนาที่หลักเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (movements), การสังเคราะห (synthesis), ความเขาใจ (comphrehension) และการสื่อสารดาน อารมณ (communication of emotion) การทํางานผิดปกติของสมอง (Brain Dysfunction) การทํางานผิดปกติของสมองที่พบบอย คือ ความผิดปกติของภาษา (disorders of language), ความผิดปกติของการอานและเขียน (disorders of reading and writing), ความผิดปกติของการ รับรู (disorders of perception), ความผิดปกติของความจํา (disorders of memory), ความผิด ปกติของการเคลื่อนไหว (disorders of movement), ความผิดปกติของอารมณและการเขาสังคม (disorders of emotional and social function) และความผิดปกติของการทําหนาที่ดานบริหาร (disorders of executive functioning)
  • 7. 7 1. ความผิดปกติของภาษา (Disorders of Language) โดยทั่วไปสมองซีกที่ควบคุมมือที่ถนัดซึ่งสวนใหญ คือ สมองซีกซาย จะเปนสมองซีกที่ทําหนาที่ เกี่ยวของกับภาษา ความผิดปกติของภาษาที่เกิดจากความเสียหายของสมองเรียกวา aphasias สําหรับชนิดที่พบ บอย คือ 1.1 Broca’s aphasia: ผูปวยพูดไดลําบาก, พูดทวนคําไมได, บอกชื่อสิ่งของไมได แตยังเขา ใจในสิ่งที่ผูอื่นพูดได ความผิดปกติชนิดนี้พบไดเมื่อมีความเสียหายที่บริเวณ Broca’s area (left inferior frontal lobe) 1.2 Wernicke’s aphasia: ผูปวยจะพูดทวนคําไมได, บอกชื่อสิ่งของไมได และไมเขาใจสิ่งที่ ผูอื่นพูด แตผูปวยมีลักษณะการพูดแบบ fluent aphasias ความผิดปกติชนิดนี้พบไดเมื่อมีความ เสียหายที่บริเวณ Wernicke’s area (left superior temporal lobe) Fluent aphasias คือ การพูดไดอยางคลองแคลวแตเนื้อหาของการพูดไมสามารถเขาใจไดเนื่อง จากการใชภาษาที่ผิดไปจากปกติอยางมาก เชน การใชคําหนึ่งแทนคําหนึ่ง (ใชคําวา “เกาอี้” แทน คําวา “โตะ”), การพูดประโยคซํ้าเดิมแมวาผูอื่นจะเปลี่ยนเรื่องหรือเปลี่ยนคําถามไปแลว, การออก เสียงผิดจากที่ควรจะเปน (ใชคําวา “กลาย” แทนคําวา “กาย”), การบัญญัติศัพทใหมซึ่งไมสามารถ เขาใจได เปนตน 2. ความผิดปกติของการอานและการเขียน (Disorders of Reading and Writing) การสูญเสียความสามารถในอานหนังสืออยางสิ้นเชิง เรียกวา alexia แตการสูญเสียความ สามารถดังกลาวเพียงบางสวนเรียกวา dyslexia สวนการสูญเสียความสามารถในการเขียน เรียก วา dysgraphia ความผิดปกติเหลานี้อาจเกิดขึ้นไดโดยที่ผูปวยไมมีความผิดปกติของการพูด, การ เขาใจภาษา นอกจากนี้ผูปวยจะตองมีเชาวนปญญา, แรงจูงใจ และการศึกษาอยูในเกณฑดี 3. ความผิดปกติของการรับสัมผัส (Disorders of Perception) ความผิดปกติของการรับสัมผัสเรียกวา agnosias (ภาษากรีก a = not, gnosis = perception) ความผิดปกติเหลานี้เกิดจากความเสียหายของสมองในสวน parietal lobes ซึ่งแบงไดเปนหลาย ชนิด ขึ้นอยูกับตําแหนงของสมองที่เกิดความเสียหาย 3.1 Astereognosia: การไมสามารถทราบถึงลักษณะหรือรูปทรงของวัตถุที่อยูในมือได แม วาผูปวยจะมีเชาวนปญญา, ความสนใจ และความสามารถดานภาษาอยูในเกณฑดี 3.2 Finger agnosis: การไมสามารถบอกไดวานิ้วไหนของผูปวยไดรับการสัมผัสจากภาย นอก
  • 8. 8 3.3 Auditory agnosia: การไมสามารถเขาใจการพูดของผูอื่น นอกจากนี้ ผูปวยยังไม สามารถจําเสียงที่เคยไดยินบอย ๆ ได เชน เสียงไอ, เสียงนกหวีด เปนตน 3.4 Visual object agnosia: การไมสามารถบอกชื่อของสิ่งที่เห็นได 3.5 Prosopagnosia: การไมสามารถจําหนาของคนคุนเคยได ในรายที่รุนแรง ผูปวยอาจไม สามารถจําหนาตนเองที่เห็นในกระจกได 3.6 Unilateral neglect: การละเลยสิ่งกระตุนดานภาพ, เสียง หรือสัมผัสจากดานใดดาน หนึ่งของผูปวย ตัวอยางเชน การตักขาวในจานดานซายมือกินเพียงขางเดียงโดยไมสนใจขาวใน จานดานขวามือ 4. ความผิดปกติของความจํา (Disorders of Memory) ความผิดปกติของความจํา เรียกวา amnesia ความเสียหายที่สวนใดสวนหนึ่งของสมองมักทํา ใหผูปวยเกิด amnesia รวมดวย อยางไรก็ตาม การศึกษาวิจัยในระยะหลังพบวาบางสวนของสมอง มีความเกี่ยวของอยางยิ่งกับเรื่องของความจํา เชน medial temporal lobes, thalamus, fiber pathways ที่ติดตอกับบริเวณดังกลาว เปนตน ความผิดปกติของความจํามีไดหลายแบบ เชน 4.1 Retrograde amnesia: ลืมสิ่งที่เกิดเคยเรียนรูหรือจําไดในอดีต ความผิดปกตินี้สามารถ พบไดในบางโรคของสมอง เชน traumatic amnesia 4.2 Anterograde amnesia: ไมสามารถจดจําสิ่งที่เรียนรูใหมได ความผิดปกตินี้สามารถพบ ไดในผูปวยทางจิตเวชที่ไดรับการรักษาโดยการทําใหชักดวยไฟฟา (electroconvulsive therapy) 5. ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว (Disorders of Movement) การสูญเสียความชํานาญในการเคลื่อนไหว (skilled motor movement) เรียกวา apraxia การ ใชคําวา apraxia จะใชในกรณีที่การสูญเสียความชํานาญดังกลาวไมไดเกิดจากการออนแรงของ กลามเนื้อ, การเคลื่อนไหวชา (akinesia), ความผิดปกติของความตึงของกลามเนื้อหรือทาทาง, สั่น (tremors), การเสื่อมของเชาวนปญญา, การไมเขาใจภาษา หรือการไมรวมมือ Apraxia แบงออกไดเปน 3 ชนิดใหญ ๆ คือ 5.1 Ideomotor apraxia: การสูญเสียความชํานาญในการเคลื่อนไหวงาย ๆ เชน การปรบมือ ความผิดปกตินี้มักเกิดจากความเสียหายที่บริเวณ left premotor area ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ frontal lobe
  • 9. 9 5.2 Ideational apraxia: การสูญเสียความชํานาญในการเคลื่อนไหวที่ซับซอนหรือเปนขั้น ตอน เชน การเปดซองจดหมาย, การผูกเชือกรองเทา ความผิดปกตินี้มักเกิดจากความเสียหายใน หลาย ๆ บริเวณของสมอง โดยเฉพาะ left parietal cortex ความผิดปกติมักตรวจพบไดในผูปวยที่ มีการเสื่อมของ cortex แบบครอบคลุม (diffuse cortical degeneration) เชน Alzheimer’s disease 5.3 Constructional apraxia: การสูญเสียความชํานาญในการจัดวางภาพ, โครงสราง และ ที่วาง ผูปวยที่มีความผิดปกตินี้จะไมสามารถจัดวาภาพหรือโครงสรางตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมใน พื้นที่ ๆ ที่จัดให เชน การไมสามารถวาดรูปหนาปดนาฬิกาไดอยางถูกตอง เปนตน 5. ความผิดปกติดานอารมณ (Disorders of Emotion) ความเสียหายของสมองบริเวณ temporal และ parietal lobes ของสมองซีกขวามักทําใหผูปวย ไมสามารถทราบถึงการแสดงอารมณของผูอื่นซึ่งแสดงออกทางนํ้าเสียง, สีหนา และทาทาง นอก จากนี้ ความเสียหายดังกลาวมักทําใหผูปวยมีอารมณที่ไมเหมาะสมรวมดวย ความผิดปกติดัง กลาวมักสงผลใหผูปวยเหลานี้มีบุคลิกภาพที่ไมเหมาะสมในการเขาสังคม เชน การไมแสดงอารมณ ในระหวางการสนทนา, การหัวเราะอยางไมสมเหตุสมผล 6. ความผิดปกติของการทําหนาที่ดานการจัดการ (Disorders of Executive Functioning) การทําหนาที่ดานการจัดการ (executive functioning, EF) หมายถึง ความสามารถในการแก ปญหาไดอยางเหมาะสมตามเปาหมายที่ตองการ ดังนั้น EF จึงเกี่ยวของกับการตั้งเปาหมาย, การ วางแผนการปฏิบัติ, การควบคุมพฤติกรรมของตนเอง และการปรับเปลี่ยนแผนการใหเหมาะสมกับ สถานการณ เนื่องจาก frontal lobes เปนสมองสวนที่มีหนาที่รับผิดชอบในในหลาย ๆ เรื่องของสมอง เชน การเคลื่อนไหว, การรับสัมผัส, ภาษา, ความจํา, การตัดสินใจ และบุคลิกภาพ ความผิดปกติของ EF จึงมักพบในผูปวยที่มีความเสียหายของ frontal lobes EF เปนสิ่งสําคัญในการดํารงชีวิตประจําวัน ดังนั้นผูที่มีความผิดปกติของ EF มักมีปญหาทาง พฤติกรรมตาง ๆ ตามมามากมาย เนื่องจากผูปวยไมสามารถที่จะปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม ไดอยางเหมาะสม บรรณานุกรม (References) 1. Baron RA. Psychology. 2nd ed. Boston: Allyn and Bacon, 1992.