SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
เครือข่ ายสังคมเชิงเสมือน                    การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้                            ห้ องเรี ยนเชิงพหุวัฒนธรรม
            (Virtual Community)                        (Knowledge Sharing)                                     (Joint Classroom in
       (Kollock, 1996; Preece, 2000
       (K ll k 1996 P           2000;           (Marquardt, 1996 P b et al,, 2000)
                                                (M      d 1996; Probst, l                                 Multicultural Education)
                                                                                                          M l i l l Ed i )
          ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550)                                                                         (Banks, 2002; Casey, 2008)
รู ป แบบในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารซึ่ ง มี ก าร   พฤติกรรมการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนแบ่งปั น        รู ป แบบการจัด สภาพ แวดล้ อ มสํ า หรั บ
แบ่ ง ปั นความคิ ด ทั ศ นคติ ผลงานหรื อ         ความรูู้ ทักษะ ประสบการณ์ ระหว่างกัน         ผูู้เ รี ย นที่ มี ค วามแตกต่า งกัน ในเรื่ อ งของ
ผลลัพธ์บางประการ โดยที่บคคลสามารถ
                              ุ                 ในขณะเข้ าร่ วมกิจกรรมตามกระบวนการ           ศาสนา สังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้ เกิด
จะพัฒ นาความสัม พัน ธ์ ระหว่า งกัน ผ่ า น       6 ขันตอน ได้ แก่ 1) ขันแนะนําแนวทาง
                                                      ้                      ้               การเรี ยนรู้ในเนื ้อหาวิชาที่เรี ยนและยอมรับ
ทางระบบออนไลน์ โดยมี แ รงจู ง ใจ 4              สร้ างกลุ่มสัมพันธ์ 2) ขันกําหนดความรู้
                                                                               ้             ในเรื่ องความแตกต่างทางด้ านวัฒนธรรม
ประการ คอ 1)ความตองการในการทจะ
ป            ื )          ้     ใ         ี่     ํ ไปส่ ปาหมาย 3) ขนพบปะแลกเปลยน
                                                นาไปสูเป   ้           ) ั้ ป       ป ี่     สมพนธทเกดขนภายในหองเรยนฯ แบง
                                                                                             สั ั ์ ี่ ิ ึ ้              ใ ้ ี                ่
ได้ รับความรู้ อ่ืนกลับมา 2) ความต้ องการ       เพื่อนเรี ยนเพื่อนรู้ 4) ขันสืบเสาะแสวงหา
                                                                           ้                 ออกเป็ น 3 ระดับ คือ 1) ปฏิสมพันธ์ กบ ั         ั
มีช่ือเสียง 3) ความรู้สกภาคภูมิใจ และ 4)
                        ึ                       5) ขันสร้ างสรรค์เผยแพร่ และ 6) ขัน
                                                        ้                                ้   ตัวผู้เรี ยนเอง 2) ปฏิสมพันธ์ กบผู้เรี ยน
                                                                                                                             ั       ั
ความต้ องการในการติดต่อสื่อสาร                  ประเมินผลงาน                                 ด้ ว ยกัน และเนื อ หาสาระ และ
                                                                                                                    ้                       3)
                                                                                             ปฏิ สัมพัน ธ์ ร ะหว่า งสาระการสอนกับ ตัว
                                                                                             ผู้เรี ยนเอง


                         รู ปแบบเครืื อข่่ายสังคมเชิิงเสมืือนเพืื่อการแลกเปลีี่ยนเรีี ยนรู ้
                                              ั                           ป
                                        สําหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม ั
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย

    วัตถุประสงค์ ท่ วไป
                    ั
    เพอพฒนารู ปแบบเครอขายสงคมเชงเสมอนเพอการแลกเปลยนเรยนรู
    เพื่อพัฒนารปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนร้
    สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

วัตถุประสงค์ เฉพาะ
   เพื่อพัฒนารู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บ
                                                                          ํ
   การศึกษาพหุวัฒนธรรม
    เพื่อประเมินรั บรองรู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
   สาหรบการศกษาพหุวฒนธรรม
   สําหรับการศึกษาพหวัฒนธรรม
วิธีดาเนินการวิจัย
                                                                                    ํ

ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บ
                                                                              ํ
          การศึกษาพหุวัฒนธรรม
 •แบบสัมภาษณ์เชิงลึก สําหรับสัมภาษณ์ผ้ บริหาร จํานวน 10 คน
                   ึ                   ู
 •แบบสอบสอบถามอาจารย์ที่สอนในระดับอุดมศึกษา 40 คนโดยใช้ แบบสอบถาม


ระยะที่ 2 การประเมินรั บรองรู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
          สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม
                              ุ
 แบบรับรองรูปแบบเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลียนเรี ยนรู้สําหรับการศึกษา
                                                        ่
 พหุวฒนธรรม
     ั
รองศาสตราจารย์       4 คน
ผู้ชวยศาสตราจารย์
    ่                7 คน
อาจารย์             29 คน
ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บ
                                                                              ํ
          การศึกษาพหุวัฒนธรรม

                                             ู
  ศึกษา ค้ นคว้ า วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล เอกสาร และงานวิจยที่เกี่ยวข้ อง
                                                               ั

  ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับสภาพปั จจุบนของการจัดการศึกษาในสังคมพหุวฒนธรรม
                                  ั                            ั
       สมภาษณผู ริหาร จานวน
       สัมภาษณ์ผ้บรหาร จํานวน 10 คน
       สอบถามอาจารย์ที่สอนในระดับอุดมศึกษา จํานวน 40 คน

  พัฒนารูปแบบเครืื อข่ายสังคมเชิงเสมืือนเพืื่อการแลกเปลียนเรีี ยนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม
                                                        ี่            ํ         ึ      ั
ระยะที่ 2 การประเมินรั บรองรู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
          สําหรัับการศึึกษาพหุวัฒนธรรม
            ํ

 นํารูปแบบฯ ที่พฒนาขึ ้น ไปให้ ผ้ ทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน ทําการประเมินรับรองรูปแบบฯ
                ั                 ู

 โดยรูปแบบฯ มีความเหมาะสมอยูในระดับ เหมาะสมมาก
                           ่
รู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บการศึกษาพหุวัฒนธรรม
                                                                     ํ
ประกอบดวย องคประกอบ
ประกอบด้ วย 11 องค์ ประกอบ
         1) การออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนบนเครื อข่ายสังคมพหุวฒนธรรม      ั
         2) กระบวนการแลกเปลียนเรี ยนรู้และติดตามพฤติกรรมของผู้เรี ยน
                                     ่
         3) ฐานการช่วยเหลือผู้เรี ยนในการเรี ยนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน
         4) ปั จจัยที่ก่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สําหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม
                                                                          ั
         5) การยอมรับและการอยูร่วมกันของผู้เู รี ยนในสังคมพหุวฒนธรรมบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน
            )                          ู่                           ุั
         6) การเสริมแรงด้ านพฤติกรรมของผู้เรี ยน
         7) ปฏิสมพันธ์ของผู้เรี ยนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน
                   ั
         8) การจัดการเครื อข่ายบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน
              การจดการเครอขายบนเครอขายสงคมเชงเสมอน
         9)ระบบบริ หารจัดการบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน
         10) เครื่ องมือที่ตดต่อสือสารบนสังคมเชิงเสมือน
                              ิ    ่
         11) เครื่ องมือสะท้ อนความรู้ของผู้เรี ยน
รู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บการศึกษาพหุวัฒนธรรม
                                                               ํ
ประกอบดวยการจดกจกรรมภายในเครอขาย ขนตอน
ประกอบด้ วยการจัดกิจกรรมภายในเครื อข่ าย 4 ขันตอน  ้
         1) ขันการเตรี ยมความพร้ อมของห้ องเรี ยนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน
                ้
         2) ขันการสร้ างความคุ้นเคย
                      ้
         3) ขันการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม
                  ้                       ํ              ั
         4) ขันตอนด้ านการวัดและการประเมินผล โดยมีองค์ประกอบย่อย ได้ แก่
                    ้
                        4.1) บุคคล
                           ) ุ
                        4.2) สือการเรี ยนการสอน
                                ่
                        4.3) ห้ องเรี ยนแบบผสมผสาน
1. ขั้นการเตรียมความพร้ อมสํ าหรับเครือข่ ายสั งคมเชิงเสมือนฯ
1.1 สารวจปญหาความตองการของสงคม วเคราะหขอมูล
1 1  สํารวจปัญหาความต้องการของสังคม วิเคราะห์ขอมล
                                               ้
พื้นฐาน ความพร้อมของสถาบันการศึกษา
                                                                1
1.2  วิเคราะห์ผเู ้ รี ยน
1.3  กําหนดขอบเขตของเนื้อหา วิธีการจัดการเรี ยนการสอน
กิจกรรม สื่ อการสอน วิธีการวัดและการประเมินผลบนพื้นฐาน
ด้านความหลากหลายทางวฒนธรรมของผูเ้ รยน
  ้                       ั            ี
1.4  พัฒนาเนื้อหา
1.5  พัฒนาห้องเรี ยนออนไลน์์ สื่ อการเรี ยนการสอนและ
                      ้
เครื่ องมือที่ช่วยในการสนับสนุนการจัดการเรี ยนการสอน
1.6 แนะนาและฝกการใชงานเครองมอในหองเรยน
1 6 แนะนําและฝึ กการใช้งานเครื่ องมือในห้องเรี ยน
ออนไลน์บนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนฯ
2. ขั้นการสร้ างความคุ้นเคยบนเครือข่ ายสั งคมเชิงเสมือนฯ
2.1 การเรยนการสอนในชนเรยนปกต
2 1 การเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยนปกติ        2.2 การเรยนการสอนบนเครอขายสงคมเชงเสมอนฯ
                                           2 2 การเรี ยนการสอนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนฯ
2.1.1 ห้องเรี ยนปกติ                       2.2.1 ห้องเรี ยนออนไลน์
2.1.1.1 การสร้างความคุนเคยระหว่าง้        2.2.1.1  การสร้างความ คุนเคยระหว่าง
                                                                       ้
                      ่
ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนอยูในห้องเรี ยนปกติ     สมาชิก
2.1.1.2  ใ องเรีี ยนปกติิของแต่่ละ
          ในห้้       ป                    2.2.1.4   ผูสอน ติิดตาม สังเกตพฤติิกรรม
                                                                    ้               ั
มหาวิทยาลัย ผูสอนจัดกิจกรรมการเรี ยน
              ้                            ผูเ้ รี ยนผ่านการทํากิจกรรมของผูเ้ รี ยนและการบันทึกความรู ้
การสอนตามแผนการสอน                         ของผูเ้ รี ยนในกระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal)
                                            เครื่ องมือที่ใช้สาหรับกิจกรรมในห้องเรี ยนออนไลน์
                                                               ํ
                   2                       บนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนฯ ได้แก่ กระดานสนทนา
                                           (Forum), ห้องสนทนา(Chatroom) เฟสบุค (Facebook) และ
                                                      ้                     ฟ ๊
                                           กระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal)
3. ขั้นการแลกเปลียนเรียนรู้สําหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม
                 ่                            ั
3.1 การแลกเปลยนความรู กี่ยวกับเนื้อหาที่เรี ยนผ่านช่องทางสื่ อสารในห้องเรี ยนเสมือนฯ
3 1  การแลกเปลี่ยนความร้เกยวกบเนอหาทเรยนผานชองทางสอสารในหองเรยนเสมอนฯ

3.2  ผูเ้ รี ยนสื บค้นและแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรี ยน
3.3   การให้คาแนะนําหรื อชี้นาประเด็นที่น่าสนใจเพื่อกระตุนและชี้แนะผูเ้ รี ยน
                ํ               ํ                           ้
3.5  ผูเู ้ รี ยนใช้กระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal) เพื่อบันทึกความรูู ้และประสบการณ์
ที่ได้จากการทํากิจกรรม
3.6   ผูสอนและติดตาม สังเกตพฤติกรรมผูเ้ รี ยนผ่านการทํากิจกรรมของผูเ้ รี ยนและการ
                   ้
บันทึึกความรู ้ของผูเ้ รีี ยนในกระดานสะท้อนคิิด (
   ั                         ใ           ้      (Reflective Journal)
                                                                   )


                                                  3
4. ขั้นการประเมินการสร้างความรูู ้และความตระหนักในคุุณค่าทางด้านวัฒนธรรม

4.1  การประเมินติดตามพฤติกรรมของผูเ้ รี ยน ผ่านเครื่ องมือบันทึกความรู ้

4.2  สรุ ปผลการประเมินผล


                                      4
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนบนเครื อข่ ายสังคมพหุวัฒนธรรม
เป็ นองค์ประกอบที่มงเน้ นในด้ านการจัดสภาพแวดล้ อมเพื่อการเรี ยนรู้และการทํากิจกรรมของผู้เรี ยน
                         ุ่
ผ่านเครื อข่ายสังคมพหุวฒนธรรม โดยการจัดสภาพแวดล้ อมนีจะมุงเน้ นและส่งเสริ มรูปแบบการเรี ยน
                            ั                                 ้ ่
ที่มีความหลากหลาย (Accommodate Divers Learning Styles) ทังการใช้ รูปแบบกิจกรรมการเรี ยน
                                                                    ้
ที่เน้ นความร่วมมือและมีความติดต่อสัมพันธ์กนการใช้ กิจกรรมการเรี ยนที่เน้ นภาระงานหรื อปั ญหา
                                              ั
และสามารถนํามาเชื่อมโยงหรื อประยุกต์กบชีวิตจริ งได้ อย่างไรรวมไปถึงผู้เรี ยนสามารถที่จะประยุกต์
                                           ั
ความรู้ใหม่ที่ได้ รับเข้ ามาจากการทํากิจกรรมผ่านเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนเข้ ากับความรู้เดิมของ
ตนเอง
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้และติดตามพฤติกรรมของผู้เรี ยน
เป็ นกระบวนการที่มงเน้ นการจัดการเรี ยนรู้ในสภาพที่เป็ นจริงและบริ บทการแก้ ปัญหาที่ตรงกับสภาพจริ ง
                     ุ่
ของผู้เรี ยน ด้ วยการสอดแทรกประสบการณ์ทางสังคมเข้ าไปในกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ส่งเสริ มการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ (Encourages Critical Thinking) การสร้ างประสบการณ์อย่างลึกซึ ้งในรูปแบบที่
หลากหลายเพื่อเปิ ดมุมมองให้ กบผู้เู รี ยน จัดกิจกรรมการแลกเปลียนเรี ยนรูู้ระหว่างผู้เู รี ยนและมีการจัด
                        ุ     ั                                ่
กระบวนการประเมินการเรี ยนรู้ตามสภาพจริ งของผู้เรี ยนในระหว่างภารกิจ
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านฐานการช่ วยเหลือผู้เรี ยนในการเรี ยนบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน
สามารถแบ่งลักษณะของฐานความช่วยเหลือออกเป็ น 4 ประเภท ได้ แก่
(1) ฐานการช่วยเหลือเกี่ยวกับวิธีการคิด (Metacognitive Scaffolding)
(2) ฐานความช่วยเหลือด้ านกลยุทธ์ (Strategic Scaffolding)
(3) ฐานความช่วยเหลือกระบวนการเรี ยนรูู้ (Procedural Scaffolding)
      ฐ                                                        g
(4) ฐานความช่วยเหลือการสร้ างความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านฐานการช่ วยเหลือผู้เรี ยนในการเรี ยนบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน
สามารถแบ่งลักษณะของฐานความช่วยเหลือออกเป็ น 4 ประเภท ได้ แก่
(1) ฐานการช่วยเหลือเกี่ยวกับวิธีการคิด (Metacognitive Scaffolding)
(2) ฐานความช่วยเหลือด้ านกลยุทธ์ (Strategic Scaffolding)
(3) ฐานความช่วยเหลือกระบวนการเรี ยนรูู้ (Procedural Scaffolding)
      ฐ                                                        g
(4) ฐานความช่วยเหลือการสร้ างความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านปั จจัยที่ก่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ สาหรั บการศึกษาพหุวัฒนธรรม
                                                                   ํ
เป็ นองค์ประกอบที่ชวยสร้ างบรรยากาศที่สนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนเปิ ดกลุมย่อยและการสนทนา สร้ างทักษะ
                     ่                                                 ่
การมีสวนร่วมด้ วยการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนเขียนหรื อสร้ างโครงการที่ผ้ เู รี ยนแต่ละคนสามารถต่อเติม
         ่
เรื่ องราวหรื อขยายผลไปยังผู้เรี ยนคนอื่นๆ ได้ ผู้เรี ยนแลกเปลียนเรื่ องราวในประเด็นใดประเด็นหนึงและ
                                                               ่                                   ่
มองหาความเหมือนร่วมและความแตกต่างในเรื่ องราวนัน โดยใช้ ความหลากหลายของมุมมองของ
                                                            ้                               ุ
ผู้เรี ยนและการให้ ความร่วมมือของผู้เรี ยนทังในด้ านการเรี ยนและการทํากิจกรรม
                                              ้
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านการยอมรั บและการอยู่ร่วมกันของผู้เรี ยนในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครื อข่ าย
สังคมเชิงเสมือน ความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรมนันส่วนหนึงมีผลมาจากระยะเวลาและความถี่
                                                             ้       ่
ในการรับรู้เนือหาหรื อเรื่ องราวที่เกี่ยวข้ องกับวัฒนธรรม โดยจะส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้เรี ยน การรู้จกคิด
              ้                                                                                    ั
วิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการ และเชื่อมโยงบริ บททางวัฒนธรรมเข้ ากับชีวิตประจําวัน เข้ าใจและ
ยอมรับถึงความแตกต่างในด้ านของวัฒนธรรม ซึงทังหมดจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนรูู้จกคิดสร้ างสรรค์โดยไม่ขด
                                                     ่ ้                   ั                         ั
กับหลักความเชื่อของสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านการเสริมแรงด้ านพฤติกรรมของผู้เรียน เป็ นกระบวนที่มงเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับรู้ถง
                                                                            ุ่                     ึ
ความแตกต่างทางเชื ้อชาติและวัฒนธรรมที่เกิดขึ ้นในห้ องเรี ยนและในสังคม การปรับทัศนคติของผู้เรี ยน
เกี่ยวกับการอยูร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างทางด้ านวัฒนธรรม รวมไปถึงการส่งเสริ มและจัด
                ่
ประสบการณ์ในการเรี ยนที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนพัฒนาทังทางด้ านทักษะ ความรู้ความเข้ าใจและ
                                                              ้
เจตคติที่ดีตอสังคม
            ่
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านการมีปฏิสัมพันธ์ ของผู้เรี ยนบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน จะมุงเน้ นไปที่รูปแบบ
                                                                                            ่
การเรี ยนรู้ควรเกิดขึ ้นในบริ บทที่เป็ นความรู้ที่ผ้ เู รี ยนสามารถเชื่อมโยงหรื อพัฒนามาจากสภาพชีวิตจริง
การเชื่อมโยงประสบการณ์ท่ีอยูนอกห้ องเรี ยนของผู้เรี ยนเข้ ากับการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ใน
                                 ่
ห้ องเรี ยน โดยมีวตถุประสงค์หลักเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนสามารถที่จะแลกเปลี่ยนหรื อบูรณาการความรู้ใหม่เข้ า
                  ั
กับความรูู้เดิมของตนเองได้
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านการจัดการเครื อข่ ายบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน เป็ นองค์ประกอบที่จะช่วยใน
การจัดการเครื อข่ายในภาพรวมเพื่อให้ ผ้ สอนจะสามารถที่จะวางแผนในการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้
                                       ู

องค์ ประกอบด้ านระบบบริหารจัดการบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน เป็ นระบบที่จะช่วยให้ ผ้ สอน
                                                                                      ู
สามารถที่จะบริหารและจัดการห้ องเรี ยนเสมือนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน

องค์ ประกอบด้ านเครื่ องมือที่ตดต่ อสื่อสารบนสังคมเชิงเสมือน เป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยน
                                 ิ
สามารถทจะเขาสงคมออนไลนเพอพบปะเพอนทอยู ามสถานทตางๆ โดยมวตถุประสงคเพอใหผู รยน
สามารถที่จะเข้ าสังคมออนไลน์เพื่อพบปะเพื่อนที่อย่ตามสถานที่ตางๆ โดยมีวตถประสงค์เพื่อให้ ผ้เรี ยน
                                                                   ่       ั
สามารถที่จะสร้ างเครื อข่ายทางด้ านสังคม โดยเครื่ องมือในด้ านนี ้จะประกอบไปด้ วย เฟสบุ๊ค (Facebook)
และ อีเมลล์ (e-Mail)
อภิปรายผลการวิจัย

องค์ ประกอบด้ านเครื่ องมือสะท้ อนความรู้ ของผู้เรี ยน เป็ นการจัดเครื่ องมือต่างๆ ภายในเครื อข่าย
สังคมเชิงเสมือนเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนจะสามารถที่จะใช้ ในการบันทึกความรู้ที่ได้ ในระหว่างเรี ยน โดยเครื่ องมือ
จะประกอบไปด้ วย กระดานสะท้ อนคิด (Reflective Journal) บล็อก (Blog) และกระดานสนทนา (Forum)
Thank you
      y
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒน

More Related Content

Similar to การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒน

ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 

Similar to การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒน (20)

Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis575050184-1 _201701-learning environment analysis
575050184-1 _201701-learning environment analysis
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553แผนปฏิบัติงาน 2553
แผนปฏิบัติงาน 2553
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGPanita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 

การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒน

  • 1.
  • 2. เครือข่ ายสังคมเชิงเสมือน การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ห้ องเรี ยนเชิงพหุวัฒนธรรม (Virtual Community) (Knowledge Sharing) (Joint Classroom in (Kollock, 1996; Preece, 2000 (K ll k 1996 P 2000; (Marquardt, 1996 P b et al,, 2000) (M d 1996; Probst, l Multicultural Education) M l i l l Ed i ) ใจทิพย์ ณ สงขลา, 2550) (Banks, 2002; Casey, 2008) รู ป แบบในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารซึ่ ง มี ก าร พฤติกรรมการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนแบ่งปั น รู ป แบบการจัด สภาพ แวดล้ อ มสํ า หรั บ แบ่ ง ปั นความคิ ด ทั ศ นคติ ผลงานหรื อ ความรูู้ ทักษะ ประสบการณ์ ระหว่างกัน ผูู้เ รี ย นที่ มี ค วามแตกต่า งกัน ในเรื่ อ งของ ผลลัพธ์บางประการ โดยที่บคคลสามารถ ุ ในขณะเข้ าร่ วมกิจกรรมตามกระบวนการ ศาสนา สังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้ เกิด จะพัฒ นาความสัม พัน ธ์ ระหว่า งกัน ผ่ า น 6 ขันตอน ได้ แก่ 1) ขันแนะนําแนวทาง ้ ้ การเรี ยนรู้ในเนื ้อหาวิชาที่เรี ยนและยอมรับ ทางระบบออนไลน์ โดยมี แ รงจู ง ใจ 4 สร้ างกลุ่มสัมพันธ์ 2) ขันกําหนดความรู้ ้ ในเรื่ องความแตกต่างทางด้ านวัฒนธรรม ประการ คอ 1)ความตองการในการทจะ ป ื ) ้ ใ ี่ ํ ไปส่ ปาหมาย 3) ขนพบปะแลกเปลยน นาไปสูเป ้ ) ั้ ป ป ี่ สมพนธทเกดขนภายในหองเรยนฯ แบง สั ั ์ ี่ ิ ึ ้ ใ ้ ี ่ ได้ รับความรู้ อ่ืนกลับมา 2) ความต้ องการ เพื่อนเรี ยนเพื่อนรู้ 4) ขันสืบเสาะแสวงหา ้ ออกเป็ น 3 ระดับ คือ 1) ปฏิสมพันธ์ กบ ั ั มีช่ือเสียง 3) ความรู้สกภาคภูมิใจ และ 4) ึ 5) ขันสร้ างสรรค์เผยแพร่ และ 6) ขัน ้ ้ ตัวผู้เรี ยนเอง 2) ปฏิสมพันธ์ กบผู้เรี ยน ั ั ความต้ องการในการติดต่อสื่อสาร ประเมินผลงาน ด้ ว ยกัน และเนื อ หาสาระ และ ้ 3) ปฏิ สัมพัน ธ์ ร ะหว่า งสาระการสอนกับ ตัว ผู้เรี ยนเอง รู ปแบบเครืื อข่่ายสังคมเชิิงเสมืือนเพืื่อการแลกเปลีี่ยนเรีี ยนรู ้ ั ป สําหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม ั
  • 3. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย วัตถุประสงค์ ท่ วไป ั เพอพฒนารู ปแบบเครอขายสงคมเชงเสมอนเพอการแลกเปลยนเรยนรู เพื่อพัฒนารปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนร้ สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ เฉพาะ เพื่อพัฒนารู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บ ํ การศึกษาพหุวัฒนธรรม เพื่อประเมินรั บรองรู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ สาหรบการศกษาพหุวฒนธรรม สําหรับการศึกษาพหวัฒนธรรม
  • 4.
  • 5. วิธีดาเนินการวิจัย ํ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บ ํ การศึกษาพหุวัฒนธรรม •แบบสัมภาษณ์เชิงลึก สําหรับสัมภาษณ์ผ้ บริหาร จํานวน 10 คน ึ ู •แบบสอบสอบถามอาจารย์ที่สอนในระดับอุดมศึกษา 40 คนโดยใช้ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 การประเมินรั บรองรู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ุ แบบรับรองรูปแบบเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลียนเรี ยนรู้สําหรับการศึกษา ่ พหุวฒนธรรม ั
  • 6. รองศาสตราจารย์ 4 คน ผู้ชวยศาสตราจารย์ ่ 7 คน อาจารย์ 29 คน
  • 7. ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บ ํ การศึกษาพหุวัฒนธรรม ู ศึกษา ค้ นคว้ า วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล เอกสาร และงานวิจยที่เกี่ยวข้ อง ั ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับสภาพปั จจุบนของการจัดการศึกษาในสังคมพหุวฒนธรรม ั ั สมภาษณผู ริหาร จานวน สัมภาษณ์ผ้บรหาร จํานวน 10 คน สอบถามอาจารย์ที่สอนในระดับอุดมศึกษา จํานวน 40 คน พัฒนารูปแบบเครืื อข่ายสังคมเชิงเสมืือนเพืื่อการแลกเปลียนเรีี ยนรู้ สาหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม ี่ ํ ึ ั
  • 8. ระยะที่ 2 การประเมินรั บรองรู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ สําหรัับการศึึกษาพหุวัฒนธรรม ํ นํารูปแบบฯ ที่พฒนาขึ ้น ไปให้ ผ้ ทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน ทําการประเมินรับรองรูปแบบฯ ั ู โดยรูปแบบฯ มีความเหมาะสมอยูในระดับ เหมาะสมมาก ่
  • 9. รู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บการศึกษาพหุวัฒนธรรม ํ ประกอบดวย องคประกอบ ประกอบด้ วย 11 องค์ ประกอบ 1) การออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนบนเครื อข่ายสังคมพหุวฒนธรรม ั 2) กระบวนการแลกเปลียนเรี ยนรู้และติดตามพฤติกรรมของผู้เรี ยน ่ 3) ฐานการช่วยเหลือผู้เรี ยนในการเรี ยนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน 4) ปั จจัยที่ก่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สําหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม ั 5) การยอมรับและการอยูร่วมกันของผู้เู รี ยนในสังคมพหุวฒนธรรมบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน ) ู่ ุั 6) การเสริมแรงด้ านพฤติกรรมของผู้เรี ยน 7) ปฏิสมพันธ์ของผู้เรี ยนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน ั 8) การจัดการเครื อข่ายบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน การจดการเครอขายบนเครอขายสงคมเชงเสมอน 9)ระบบบริ หารจัดการบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน 10) เครื่ องมือที่ตดต่อสือสารบนสังคมเชิงเสมือน ิ ่ 11) เครื่ องมือสะท้ อนความรู้ของผู้เรี ยน
  • 10. รู ปแบบเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรั บการศึกษาพหุวัฒนธรรม ํ ประกอบดวยการจดกจกรรมภายในเครอขาย ขนตอน ประกอบด้ วยการจัดกิจกรรมภายในเครื อข่ าย 4 ขันตอน ้ 1) ขันการเตรี ยมความพร้ อมของห้ องเรี ยนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน ้ 2) ขันการสร้ างความคุ้นเคย ้ 3) ขันการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้สาหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม ้ ํ ั 4) ขันตอนด้ านการวัดและการประเมินผล โดยมีองค์ประกอบย่อย ได้ แก่ ้ 4.1) บุคคล ) ุ 4.2) สือการเรี ยนการสอน ่ 4.3) ห้ องเรี ยนแบบผสมผสาน
  • 11.
  • 12. 1. ขั้นการเตรียมความพร้ อมสํ าหรับเครือข่ ายสั งคมเชิงเสมือนฯ 1.1 สารวจปญหาความตองการของสงคม วเคราะหขอมูล 1 1  สํารวจปัญหาความต้องการของสังคม วิเคราะห์ขอมล ้ พื้นฐาน ความพร้อมของสถาบันการศึกษา 1 1.2  วิเคราะห์ผเู ้ รี ยน 1.3  กําหนดขอบเขตของเนื้อหา วิธีการจัดการเรี ยนการสอน กิจกรรม สื่ อการสอน วิธีการวัดและการประเมินผลบนพื้นฐาน ด้านความหลากหลายทางวฒนธรรมของผูเ้ รยน ้ ั ี 1.4  พัฒนาเนื้อหา 1.5  พัฒนาห้องเรี ยนออนไลน์์ สื่ อการเรี ยนการสอนและ ้ เครื่ องมือที่ช่วยในการสนับสนุนการจัดการเรี ยนการสอน 1.6 แนะนาและฝกการใชงานเครองมอในหองเรยน 1 6 แนะนําและฝึ กการใช้งานเครื่ องมือในห้องเรี ยน ออนไลน์บนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนฯ
  • 13. 2. ขั้นการสร้ างความคุ้นเคยบนเครือข่ ายสั งคมเชิงเสมือนฯ 2.1 การเรยนการสอนในชนเรยนปกต 2 1 การเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยนปกติ 2.2 การเรยนการสอนบนเครอขายสงคมเชงเสมอนฯ 2 2 การเรี ยนการสอนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนฯ 2.1.1 ห้องเรี ยนปกติ 2.2.1 ห้องเรี ยนออนไลน์ 2.1.1.1 การสร้างความคุนเคยระหว่าง้ 2.2.1.1  การสร้างความ คุนเคยระหว่าง ้ ่ ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนอยูในห้องเรี ยนปกติ สมาชิก 2.1.1.2  ใ องเรีี ยนปกติิของแต่่ละ ในห้้ ป 2.2.1.4   ผูสอน ติิดตาม สังเกตพฤติิกรรม ้ ั มหาวิทยาลัย ผูสอนจัดกิจกรรมการเรี ยน ้ ผูเ้ รี ยนผ่านการทํากิจกรรมของผูเ้ รี ยนและการบันทึกความรู ้ การสอนตามแผนการสอน ของผูเ้ รี ยนในกระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal)  เครื่ องมือที่ใช้สาหรับกิจกรรมในห้องเรี ยนออนไลน์ ํ 2 บนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนฯ ได้แก่ กระดานสนทนา (Forum), ห้องสนทนา(Chatroom) เฟสบุค (Facebook) และ ้ ฟ ๊ กระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal)
  • 14. 3. ขั้นการแลกเปลียนเรียนรู้สําหรับการศึกษาพหุวฒนธรรม ่ ั 3.1 การแลกเปลยนความรู กี่ยวกับเนื้อหาที่เรี ยนผ่านช่องทางสื่ อสารในห้องเรี ยนเสมือนฯ 3 1  การแลกเปลี่ยนความร้เกยวกบเนอหาทเรยนผานชองทางสอสารในหองเรยนเสมอนฯ 3.2  ผูเ้ รี ยนสื บค้นและแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรี ยน 3.3   การให้คาแนะนําหรื อชี้นาประเด็นที่น่าสนใจเพื่อกระตุนและชี้แนะผูเ้ รี ยน ํ ํ ้ 3.5  ผูเู ้ รี ยนใช้กระดานสะท้อนคิด (Reflective Journal) เพื่อบันทึกความรูู ้และประสบการณ์ ที่ได้จากการทํากิจกรรม 3.6   ผูสอนและติดตาม สังเกตพฤติกรรมผูเ้ รี ยนผ่านการทํากิจกรรมของผูเ้ รี ยนและการ ้ บันทึึกความรู ้ของผูเ้ รีี ยนในกระดานสะท้อนคิิด ( ั ใ ้ (Reflective Journal) ) 3
  • 15. 4. ขั้นการประเมินการสร้างความรูู ้และความตระหนักในคุุณค่าทางด้านวัฒนธรรม 4.1  การประเมินติดตามพฤติกรรมของผูเ้ รี ยน ผ่านเครื่ องมือบันทึกความรู ้ 4.2  สรุ ปผลการประเมินผล 4
  • 16. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนบนเครื อข่ ายสังคมพหุวัฒนธรรม เป็ นองค์ประกอบที่มงเน้ นในด้ านการจัดสภาพแวดล้ อมเพื่อการเรี ยนรู้และการทํากิจกรรมของผู้เรี ยน ุ่ ผ่านเครื อข่ายสังคมพหุวฒนธรรม โดยการจัดสภาพแวดล้ อมนีจะมุงเน้ นและส่งเสริ มรูปแบบการเรี ยน ั ้ ่ ที่มีความหลากหลาย (Accommodate Divers Learning Styles) ทังการใช้ รูปแบบกิจกรรมการเรี ยน ้ ที่เน้ นความร่วมมือและมีความติดต่อสัมพันธ์กนการใช้ กิจกรรมการเรี ยนที่เน้ นภาระงานหรื อปั ญหา ั และสามารถนํามาเชื่อมโยงหรื อประยุกต์กบชีวิตจริ งได้ อย่างไรรวมไปถึงผู้เรี ยนสามารถที่จะประยุกต์ ั ความรู้ใหม่ที่ได้ รับเข้ ามาจากการทํากิจกรรมผ่านเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือนเข้ ากับความรู้เดิมของ ตนเอง
  • 17. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้และติดตามพฤติกรรมของผู้เรี ยน เป็ นกระบวนการที่มงเน้ นการจัดการเรี ยนรู้ในสภาพที่เป็ นจริงและบริ บทการแก้ ปัญหาที่ตรงกับสภาพจริ ง ุ่ ของผู้เรี ยน ด้ วยการสอดแทรกประสบการณ์ทางสังคมเข้ าไปในกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ส่งเสริ มการคิด อย่างมีวิจารณญาณ (Encourages Critical Thinking) การสร้ างประสบการณ์อย่างลึกซึ ้งในรูปแบบที่ หลากหลายเพื่อเปิ ดมุมมองให้ กบผู้เู รี ยน จัดกิจกรรมการแลกเปลียนเรี ยนรูู้ระหว่างผู้เู รี ยนและมีการจัด ุ ั ่ กระบวนการประเมินการเรี ยนรู้ตามสภาพจริ งของผู้เรี ยนในระหว่างภารกิจ
  • 18. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านฐานการช่ วยเหลือผู้เรี ยนในการเรี ยนบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน สามารถแบ่งลักษณะของฐานความช่วยเหลือออกเป็ น 4 ประเภท ได้ แก่ (1) ฐานการช่วยเหลือเกี่ยวกับวิธีการคิด (Metacognitive Scaffolding) (2) ฐานความช่วยเหลือด้ านกลยุทธ์ (Strategic Scaffolding) (3) ฐานความช่วยเหลือกระบวนการเรี ยนรูู้ (Procedural Scaffolding) ฐ g (4) ฐานความช่วยเหลือการสร้ างความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
  • 19. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านฐานการช่ วยเหลือผู้เรี ยนในการเรี ยนบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน สามารถแบ่งลักษณะของฐานความช่วยเหลือออกเป็ น 4 ประเภท ได้ แก่ (1) ฐานการช่วยเหลือเกี่ยวกับวิธีการคิด (Metacognitive Scaffolding) (2) ฐานความช่วยเหลือด้ านกลยุทธ์ (Strategic Scaffolding) (3) ฐานความช่วยเหลือกระบวนการเรี ยนรูู้ (Procedural Scaffolding) ฐ g (4) ฐานความช่วยเหลือการสร้ างความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
  • 20. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านปั จจัยที่ก่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ สาหรั บการศึกษาพหุวัฒนธรรม ํ เป็ นองค์ประกอบที่ชวยสร้ างบรรยากาศที่สนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนเปิ ดกลุมย่อยและการสนทนา สร้ างทักษะ ่ ่ การมีสวนร่วมด้ วยการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนเขียนหรื อสร้ างโครงการที่ผ้ เู รี ยนแต่ละคนสามารถต่อเติม ่ เรื่ องราวหรื อขยายผลไปยังผู้เรี ยนคนอื่นๆ ได้ ผู้เรี ยนแลกเปลียนเรื่ องราวในประเด็นใดประเด็นหนึงและ ่ ่ มองหาความเหมือนร่วมและความแตกต่างในเรื่ องราวนัน โดยใช้ ความหลากหลายของมุมมองของ ้ ุ ผู้เรี ยนและการให้ ความร่วมมือของผู้เรี ยนทังในด้ านการเรี ยนและการทํากิจกรรม ้
  • 21. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านการยอมรั บและการอยู่ร่วมกันของผู้เรี ยนในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครื อข่ าย สังคมเชิงเสมือน ความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรมนันส่วนหนึงมีผลมาจากระยะเวลาและความถี่ ้ ่ ในการรับรู้เนือหาหรื อเรื่ องราวที่เกี่ยวข้ องกับวัฒนธรรม โดยจะส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้เรี ยน การรู้จกคิด ้ ั วิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการ และเชื่อมโยงบริ บททางวัฒนธรรมเข้ ากับชีวิตประจําวัน เข้ าใจและ ยอมรับถึงความแตกต่างในด้ านของวัฒนธรรม ซึงทังหมดจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนรูู้จกคิดสร้ างสรรค์โดยไม่ขด ่ ้ ั ั กับหลักความเชื่อของสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 22. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านการเสริมแรงด้ านพฤติกรรมของผู้เรียน เป็ นกระบวนที่มงเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับรู้ถง ุ่ ึ ความแตกต่างทางเชื ้อชาติและวัฒนธรรมที่เกิดขึ ้นในห้ องเรี ยนและในสังคม การปรับทัศนคติของผู้เรี ยน เกี่ยวกับการอยูร่วมกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างทางด้ านวัฒนธรรม รวมไปถึงการส่งเสริ มและจัด ่ ประสบการณ์ในการเรี ยนที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ ผ้ เู รี ยนพัฒนาทังทางด้ านทักษะ ความรู้ความเข้ าใจและ ้ เจตคติที่ดีตอสังคม ่
  • 23. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านการมีปฏิสัมพันธ์ ของผู้เรี ยนบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน จะมุงเน้ นไปที่รูปแบบ ่ การเรี ยนรู้ควรเกิดขึ ้นในบริ บทที่เป็ นความรู้ที่ผ้ เู รี ยนสามารถเชื่อมโยงหรื อพัฒนามาจากสภาพชีวิตจริง การเชื่อมโยงประสบการณ์ท่ีอยูนอกห้ องเรี ยนของผู้เรี ยนเข้ ากับการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ใน ่ ห้ องเรี ยน โดยมีวตถุประสงค์หลักเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนสามารถที่จะแลกเปลี่ยนหรื อบูรณาการความรู้ใหม่เข้ า ั กับความรูู้เดิมของตนเองได้
  • 24. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านการจัดการเครื อข่ ายบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน เป็ นองค์ประกอบที่จะช่วยใน การจัดการเครื อข่ายในภาพรวมเพื่อให้ ผ้ สอนจะสามารถที่จะวางแผนในการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้ ู องค์ ประกอบด้ านระบบบริหารจัดการบนเครื อข่ ายสังคมเชิงเสมือน เป็ นระบบที่จะช่วยให้ ผ้ สอน ู สามารถที่จะบริหารและจัดการห้ องเรี ยนเสมือนบนเครื อข่ายสังคมเชิงเสมือน องค์ ประกอบด้ านเครื่ องมือที่ตดต่ อสื่อสารบนสังคมเชิงเสมือน เป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยน ิ สามารถทจะเขาสงคมออนไลนเพอพบปะเพอนทอยู ามสถานทตางๆ โดยมวตถุประสงคเพอใหผู รยน สามารถที่จะเข้ าสังคมออนไลน์เพื่อพบปะเพื่อนที่อย่ตามสถานที่ตางๆ โดยมีวตถประสงค์เพื่อให้ ผ้เรี ยน ่ ั สามารถที่จะสร้ างเครื อข่ายทางด้ านสังคม โดยเครื่ องมือในด้ านนี ้จะประกอบไปด้ วย เฟสบุ๊ค (Facebook) และ อีเมลล์ (e-Mail)
  • 25. อภิปรายผลการวิจัย องค์ ประกอบด้ านเครื่ องมือสะท้ อนความรู้ ของผู้เรี ยน เป็ นการจัดเครื่ องมือต่างๆ ภายในเครื อข่าย สังคมเชิงเสมือนเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนจะสามารถที่จะใช้ ในการบันทึกความรู้ที่ได้ ในระหว่างเรี ยน โดยเครื่ องมือ จะประกอบไปด้ วย กระดานสะท้ อนคิด (Reflective Journal) บล็อก (Blog) และกระดานสนทนา (Forum)