SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
มองสถิติ
เเละตัวชี้วัดทางการศึกษาปีที่2 ฉบับที่3 กรกฎาคม2558
5% 5%
20%
20%
10%
40%
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกโดย QS World University Rankings 2014/15
QS จัดอันดับดูชื่อเสียงด้านวิชาการมากที่สุด
ชื่อเสียงด้านวิชาการ
ชื่อเสียงในหมู่ผู้จ้างงาน
อัตราส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์
การกล่าวขวัญถึงคณะวิชา
สัดส่วนของคณะวิชาระหว่างประเทศ
สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติ
TOP 10 : QS World University Rankings 2014/15
ปี 2014/15
อันดับ (คะแนน)
สถาบัน ประเทศ
ปี 2013/14
อันดับ (คะแนน)
1 (100) Massachusetts Institute of Technology (MIT) 1 (100)
2 (99.4) University of Cambridge 3 (99.0)
2 (99.4) Imperial College London 5 (98.8)
4 (99.3) Harvard University 2 (99.2)
5 (99.2) University of Oxford 6 (98.7)
5 (99.2) UCL (University College London) 4 (98.9)
7 (98.3) Stanford University 7 (96.8)
8 (97.1) California Institute of Technology (Caltech) 10 (96.1)
9 (96.6) Princeton University 10 (96.1)
10 (96.5) Yale University 8 (96.5)
	การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก QS World 
University Rankings 2014/15 จากประเทศ
อังกฤษ จัดอันดับจากสถาบันอุดมศึกษา ชั้นนำ�ทั่วโลกกว่า
3,000 แห่ง ในการจัดอันดับนั้น 400 อันดับแรกจัดอันดับ
เป็นรายสถาบัน ส่วนอันดับที่ 400 ขึ้นไปจัดอันดับเป็นกลุ่ม
	มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาโดดเด่นที่สุด
ครองอันดับ 1 (มา 3 ปีติดต่อกันนับตั้งปี 2012)
สำ�หรับมหาวิทยาลัยที่ได้ อันดับ 2 – 10 อยู่ในแถบ
สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร เช่นปีก่อน
สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
Office of the Education Council
กระทรวงศึกษาธิการ
Ministry of Education
1มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย - 10 อันดับแรก
	 เอเชียเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่เติบโตและมีการพัฒนาประเทศหลายด้านอย่างรวดเร็ว QS มีการจัดอันดับสถาบัน/มหาวิทยาลัย
ในภูมิภาคนี้ 300 สถาบันในเอเชีย วิธีการที่นำ�มาใช้จะแตกต่างกันจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก เนื่องจากเป็นการรวบรวมจาก
ความคิดเห็นที่ได้จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญในระดับภูมิภาค ตามปัจจัยที่สำ�คัญในภูมิภาคและความพร้อมของข้อมูลจำ�นวน
9 ตัวชี้วัด ที่นำ�มาใช้ในการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยในระดับภูมิภาคนี้ ได้แก่
อันดับโลก
(คะแนน) อันดับเอเชีย สถาบัน ประเทศ
22 (91.1) 1 National University of Singapore (NUS) Singapore
28 (88.8) 2 The University of Hong Kong Hong Kong
31 (86.7) 3= The University of Tokyo Japan
31 (86.7) 3= Seoul National University South Korea
36 (84.7) 5 Kyoto University Japan
39 (84.0) 6 Nanyang Technological University (NTU) Singapore
40 (83.3) 7 The Hong Kong University of Science and Technology Hong Kong
46 (81.9) 8 The Chinese University of Hong Kong Hong Kong
47 (81.3) 9 Tsinghua UniversityTsinghua University China
51 (79.9) 10 KAIST - Korea Advanced Institute of Science & Technology South Korea
ที่มา : QS World University Rankings 2014/15
TOP 10 ASIA
QS World University Rankings
2014/15
	 ดีที่สุดในเอเชีย ประจำ�ปี 2014/15
อันดับหนึ่งยังคงเป็น National University
of Singapore (NUS) จากประเทศสิงคโปร์
ที่ยังคงครองแชมป์ พร้อมกับอันดับโลกที่
สูงขึ้นจากอันดับที่ 24 (ในปี 2014) มาเป็น
22 และอันดับสองตกเป็นของ  University
of Hong Kong  ซึ่งขึ้นมาจากอันดับที่ 3
ในปีที่แล้ว ส่วนอันดับ 2 ของปีที่แล้วอย่าง
KAIST-Korea Advanced Institute of
Science & Technology จากประเทศเกาหลีใต้
มาในปีนี้หลุดไปอยู่ในอันดับที่ 10 อย่างแทบ
ไม่น่าเชื่อว่าจากอันดับ 2 จะลงมาถึงอันดับ
10 ในปีนี้ได้
ชื่อเสียงในหมู่ผู้จ้างงาน
(EMPLOYER
REPUTATION) 10%
อัตราส่วนงานวิจัยถูกใช้
อ้างอิงต่อเอกสาร
(CITATION PER PAPER)
15%
สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติ
(Proportion of 
INTERNATIONAL
STUDENTS) 2.5%
สัดส่วนนักศึกษาแลกเปลี่ยน
ที่เข้ามาเรียนในประเทศ
(Proportion of INBOUND
EXCHANGE STUDENTS)
2.5%
สัดส่วนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่ไป
เรียนต่างประเทศ (Proportion
of OUTBOUND EXCHANGE
STUDENTS) 2.5%
ความมีชื่อเสียงด้าน
วิชาการ (ACADEMIC
REPUTATION) 30%
อัตราส่วนนักศึกษาต่อ
คณะ (FACULTY
STUDENT RATIO)
20%
อัตราส่วนเอกสารงาน
วิจัยต่อคณะ (PAPERS
PER FACULTY) 15%
สัดส่วนคณะวิชาระหว่าง
ประเทศ (Proportion
of INTERNATIONAL
FACULTY) 2.5%
1
3
5
7
9
2
4
6
8
2 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th
ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยดีที่สุด 8 แห่งติดอันดับโลก และภูมิภาคเอเชีย
อันดับ
ของไทย
2014/15
อันดับของโลก
ชื่อ
อันดับ
ของไทย
2013/14
อันดับของโลก
1 243 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 239
2 257 มหาวิทยาลัยมหิดล 2 283
3 501-550 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 551-600
4 601-650 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4 601-650
5 651-700 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5 651-700
6 701+ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6 701+
7 701+
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
8 701+
8 701+ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 7 701+
ที่มา : QS World University Rankings 2014/15, 2013/14
เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยติดอันดับโลกในกลุ่มประเทศอาเซียน
	 หากพิจารณาการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย ซึ่งจัดโดย QS World University Rankings : Asia 2014 เฉพาะ
ในกลุ่มอาเซียน 10 ประเทศ พบว่า มีมหาวิทยาลัยในประเทศกลุ่มอาเซียนติด 100 อันดับแรกของมหาวิทยาลัยในเอเชีย มี
จำ�นวน 12 แห่ง ดังนี้
2014
QS ASIA
RANK
คะแนนรวม ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ
2013
QS ASIA
RANK
คะแนนรวม
1 100 NATIONAL UNIVERSITY OF SINGAPORE (NUS) SINGAPORE 2 99.6
7 97.3 NANYANG TECHNOLOGICAL UNIVERSITY (NTU) SINGAPORE 10 95.1
32 80.4 UNIVERSITI MALAYA (UM) MALAYSIA 33 76.9
40 72.7 MAHIDOL UNIVERSITY THAILAND 42 70.6
48 67.4 CHULALONGKORN UNIVERSITY THAILAND 48 67.0
56 65.4 UNIVERSITI KEBANGSAAN MALAYSIA (UKM) MALAYSIA 57 63.9
57 64.0 UNIVERSITI SAINS MALAYSIA (USM) MALAYSIA 61 61.8
63 60.7 UNIVERSITY OF THE PHILIPPINES PHILIPPINES 67 58.7
66 59.6 UNIVERSITI TEKNOLOGI MALAYSIA MALAYSIA 68 57.1
71 58.8 UNIVERSITY OF INDONESIA INDONESIA 64 59.3
76 57.2 UNIVERSITI PUTRA MALAYSIA (UPM) MALAYSIA 72 55.6
92 52.4 CHIANG MAI UNIVERSITY THAILAND 98 49.4
ที่มา : QS World University Rankings: Asia 2014, 2013.
3มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
10 อันดับมหาวิทยาลัยไทย ในเอเชีย
QS 2014 กลุ่มเอเชีย
ชื่อมหาวิทยาลัย
QS 2013 กลุ่มเอเชีย
อันดับ
ของไทย
อันดับของ
เอเชีย
อันดับ
ของไทย
อันดับ
ของเอเชีย
1 40 มหาวิทยาลัยมหิดล 1 42
2 48 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 48
3 92 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 98
4 134 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4 107
5 142 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5 146
6 151-160 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 171-180
7 171-180 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6 161-170
8 181-190 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7 161-170
9 201-250 มหาวิทยาลัยบูรพา 9 191-200
10 251-300 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 11 251-300
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง 10 251-300
ที่มา : QS World University Rankings: Asia 2014, 2013.
Arts &
Humanities
Art & Design
Modern Languages
History
Linguistics
English Language & Literature
Philosophy
Statistics & Operational Research
Sociology
Politics & International Studies
Law
Economics & Econometrics
Accounting & Finance
Communication & Media Studies
Education
Business &Management
Development Studies
Architecture
Computer Science & Information Systems
Chemical Engineering
CiviI & Structural Engineering
Electrical & Electronic Engineering
Mechanical, Aeronautical & Manufacturing
Engineering
Medicine
Biological Sciences
Psychology
Pharmacy & Pharmacology
Agriculture & Forestry
Dentistry
Veteronary Sciecne
Physics & Astronomy
Mathematics
Environmental Sciences
Earth & Marine Sciences
Chemistry
Materials Sciences
Geography
Social Sciences &
Management
Engineering &
Technology
Life Sciences &
Medicine
Natural
Sciences
มหาวิทยาลัยไทยติด100อันดับแรก
	 สาขาAgriculture&Forestry
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อันดับ
ที่ 39 ของโลก
	 สาขาMedicineมหาวิทยาลัย
มหิดล ติดอันดับในกลุ่ม 51-100
ของโลก
	 สาขา Modern Languages
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับ
ในกลุ่ม 51-100 ของโลก
	 สาขา Architecture/Buile
Environmentจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อันดับในกลุ่ม 51-100 ของโลก
	 สาขาEngineering–Chemical
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอันดับใน
กลุ่ม 51-100 ของโลก
QS อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย
จำ�แนกสาขาวิชา ปี 2015
	 QS Intelligence Unit จัดอันดับ
มหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชีย โดยการวิเคราะห์
สาขาวิชายอดนิยมในมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ใน
เอเชีย 5 กลุ่มสาขาวิชาหลัก คือ ศิลปะ
และมนุษยศาสตร์ (Arts & Humanities)
สังคมศาสตร์และการจัดการ (Social Sciences
& Management) วิศวกรรมศาสตร์และ
เทคโนโลยี (Engineering & Technology)
วิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์ (Life
Sciences & Medicine) และวิทยาศาสตร์
ธรรมชาติ (Natural Sciences)
	 ตัวชี้วัดที่นำ�มาใช้ในการจัดอันดับ
ของมหาวิทยาลัยจำ�แนกสาขาวิชา ปี 2015
ประกอบด้วย ความมีชื่อเสียงด้านวิชาการ
(Academic Reputation) ชื่อเสียงในหมู่ผู้จ้างงาน (Employer Reputation) และเอกสารงานวิจัยถูกนำ�ไปใช้อ้างอิงต่อคณะ (Citations
per Faculty) ที่ครอบคลุม 36 สาขาวิชา
4 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th
จีนติดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ในเอเชีย
คณะสาขาทางศิลปะและมนุษยศาสตร์มากที่สุด
3 ใน 10 แห่งของเอเชีย รองลงมาคือ ญี่ปุ่น
และฮ่องกง 2 แห่งเท่ากัน
QS จัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก จำ�แนกคณะสาขาวิชา ในภูมิภาคเอเชีย ปี 2014/15
	 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก ที่จำ�แนกตามคณะสาขาวิชา ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งแบ่งเป็น 5 คณะดังกล่าวข้างต้นแล้ว
ในจุลสารนี้จะเสนอเพียง 3 คณะสาขาวิชา คือ คณะสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) คณะสาขาวิชาทางศิลปะ
และมนุษยศาสตร์ (Arts & Humanities) และคณะสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์และการจัดการ (Social Sciences & Management)
อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย โดย QS 2014/15
คณะสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ - 10 อันดับแรก
อันดับโลก (คะแนน) ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ
9 (91.3) The University of Tokyo Japan
13(88.6) National University of Singapore (NUS) Singapore
17(87.5) Kyoto University Japan
20(86.0) Peking University China
24(85.4) Seoul National University (SNU) South Korea
26(84.8) Tokyo Institute of Technology Japan
29(84.1) Tsinghua University China
37(83.5) University of Hong Kong (HKU) Hong Kong
48(82.1) National Taiwan University (NTU) Taiwan
51(81.7) Osaka University Japan
ญี่ปุ่นติดอันดับ 1 ในเอเชียและมี
มหาวิทยาลัย 4 แห่ง ที่ติดอันดับ
1-10 ของมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ใน
เอเชียที่ติดอันดับมหาวิทยาลัยโลก
จำ�แนกคณะสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
ธรรมชาติ
ฮ่องกงและเกาหลีใต้มีมหาวิทยาลัย
ชั้นนำ�ในเอเชีย ติดอันดับ 1-10
คณะสาขาสังคมศาสตร์และการ
จัดการ มากที่สุด 3 ใน 10 แห่ง
รองลงมาคือ สิงคโปร์
National University of Singapore
(NUS) ของสิงค์โปร์ ติดอันดับมหาวิทยาลัย
โลก จำ�แนกคณะสาขาทางศิลปะและ
มนุษยศาสตร์ ได้อันดับ 1 และญี่ปุน อันดับ 2
อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย โดย QS 2014/15
คณะสาขาสังคมศาสตร์และการจัดการ - 10 อันดับแรก
อันดับโลก
(คะแนน)
ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ
9 (89.0) Nationa7rsity of Singapore (NUS) Singapore
15 (87.2) University of Hong Kong (HKU) Hong Kong
21 (85.3) The University of Tokyo Japan
21 (85.3) The Chinese University of Hong Kong (CUHK) Hong Kong
26 (84.3) The Hong Kong University of Science and Technology (HKUST) Hong Kong
28 (83.6) Seoul National University (SNU) South Korea
29 (83.1) Peking University China
33 (82.4) Nanyang Technological University (NTU) Singapore
45 (79.8) Korea University South Korea
48 (79.2) Yonsei University South Korea
อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย โดย QS 2014/15
สาขาศิลปะและมนุษยศาสตร์ - 10 อันดับแรก
อันดับโลก
(คะแนน)
ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ
13 (87.0) National University of Singapore (NUS) Singapore
14 (85.6) The University of Tokyo Japan
19 (84.3) University of Hong Kong (HKU) Hong Kong
21 (83.8) Peking University China
38 (78.8) The Chinese University of Hong Kong (CUHK) Hong Kong
38. (78.8) Seoul National University (SNU) South Korea
41 (78.6) Kyoto University Japan
45 (77.7) Tsinghua University China
54 (76.0) National Taiwan University (NTU) Taiwan
60 (75.2) Fudan University China
5มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ที่เป็นจุดแข็งในสาขาวิชา Medicine มากที่สุดถึง 5 แห่ง
ซึ่ง มหาวิทยาลัยมหิดล อยู่อันดับช่วง 51-100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยู่ในอันดับช่วง 151-200
เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ในอันดับช่วง 301-400 ทั้งคู่
Medicine
อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ
21 (84.1) National University of Singapore (NUS)
51-100 Mahidol University
151-200 Chiang Mai University
151-200 Chulalongkorn University
151-200 Universiti Malaya (UM)
251-300 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM)
251-300 Universiti Sains Malaysia (USM)
251-300 University of the Philippines
301-400 Khon Kaen University
301-400 Prince of Songkla University
301-400 Universiti Putra Malaysia (UPM)
	 หากพิจารณามหาวิทยาลัยไทยที่ติดอันดับในช่วง 200 อันดับแรก อย่างน้อย 1 สาขาวิชา มีจำ�นวน 7 แห่ง ได้แก่
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหากขยายอันดับมหาวิทยาลัยเป็น 400
อันดับ พบว่า มีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังเพิ่มอีก 1 แห่ง
ประเทศในกลุ่มอาเซียนที่มีมหาวิทยาลัยติดอันดับโลกของ QS ปี 2015
สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย
หากพิจารณามหาวิทยาลัยไทยที่ติดอันดับในช่วง 200 อันดับแรก อย่างน้อย1 สาขาวิชา มีจํานวน
7 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหากขยายอันดับมหาวิทยาลัยเป็น 400 อันดับ พบว่า มีสถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังเพิ่มอีก 1 แห่ง
อันดับมหาวิทยาลัยไทยในปี 2015 จุดประกายให้มหาวิทยาลัยอื่นๆ เร่งพัฒนาและสร้างความเป็นเลิศ
ตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และเสริมสร้างนวัตกรรม สนองสังคม ผลักดันการพัฒนาประเทศอย่างตรง
เป้าหมายและมีทิศทางสู่ความสําเร็จได้
ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ที่เป็นจุดแข็งในสาขาวิชา Medicine มาก
ที่สุดถึง 5 แห่ง ซึ่ง มหาวิทยาลัยมหิดล อยู่อันดับช่วง 51-100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย อยู่ในอันดับช่วง 151-200 เช่นกัน ส่วนมหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อยู่ในอันดับช่วง 301-400 ทั้งคู่
Medicine
21 84.1 National University of Singapore (NUS)
51-100 Mahidol University
151-200 Chiang Mai University
151-200 Chulalongkorn University
151-200 Universiti Malaya (UM)
251-300 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM)
251-300 Universiti Sains Malaysia (USM)
251-300 University of the Philippines
301-400 Khon Kaen University
301-400 Prince of Songkla University
301-400 Universiti Putra Malaysia (UPM)
5 4 4 4 3
4 8 6 4
1
มาเลเซีย
ไทย
จุดแข็งสาขาวิชาที่มีจํานวน
มหาวิทยาลัยไทย ติดอันดับมาก
QS อันดับมหาวิทยาลัยไทยในปี 2015 มีสาขาวิชาที่
เป็นจุดแข็ง ซึ่งจุดประกายให้มหาวิทยาลัยอื่นๆ
เร่งพัฒนาและสร้างความเป็นเลิศตามอัตลักษณ์
ของมหาวิทยาลัย และเสริมสร้างนวัตกรรม สนองสังคม
ผลักดันการพัฒนาประเทศอย่างตรงเป้าหมาย
และมีทิศทางสู่ความสำ�เร็จได้
สาขาวิชาที่ประเทศไทยมี
มหาวิทยาลัยติดอันดับมาก
6 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th
Biological Sciences
อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ
8 (87.9) National University of Singapore (NUS)
51-100 Nanyang Technological University, Singapore (NTU)
151-200 Chulalongkorn University
151-200 Mahidol University
251-300 Universiti Malaya (UM)
251-300 Universiti Sains Malaysia (USM)
301-400 Chiang Mai University
301-400 Kasetsart University
301-400 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM)
301-400 Universiti Putra Malaysia (UPM)
Engineering - Electrical & Electronic
อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ
6 (91.0) National University of Singapore (NUS)
7 (90.7) Nanyang Technological University, Singapore (NTU)
51-100 Universiti Malaya (UM)
51-100 Universiti Sains Malaysia (USM)
101-150 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM)
101-150 Universiti Putra Malaysia (UPM)
101-150 Universiti Teknologi Malaysia
151-200 Chulalongkorn University
151-200 Multimedia University (MMU)
201-250 Universiti Teknologi Petronas (Petronas)
251-300 Asian Institute of Technology, Thailand
251-300 Bandung Institute of Technology (ITB)
251-300 King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang
251-300 King Mongkut’s University of Technology Thonburi
251-300 Universiti Teknologi MARA - UiTM
Modern Languages
อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ
11 (86.6) National University of Singapore (NUS)
51-100 Chulalongkorn University
51-100 Nanyang Technological University, Singapore (NTU)
101-150 Universiti Malaya (UM)
151-200 University of the Philippines
201-250 Mahidol University
201-250 Universiti Putra Malaysia (UPM)
251-300 Chiang Mai University
251-300 Thammasat University
251-300 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM)
	 และสาขาวิชาอื่น ๆ ที่มีมหาวิทยาลัยไทยติดอันดับมากถึง ๔ แห่ง ได้แก่ สาขาวิชา Engineering-Electrical
สาขา Modern Language และสาขา Biological Sciecnces ดังตารางข้างล่างนี้
7มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
กลุ่มสาขาวิชา
จุดอ่อนสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยไทย
ไม่ติดอันดับ
	 ศิลปะและมนุษยศาสตร์
	 (Arts & Humanities)
History, English Language & Literature
	 สังคมศาสตร์และการจัดการ
	 (Social Sciences &
	 Management)
Politics & International StudiesLaw,
Statistics & Operational Research,
Communication & Media Studies, Sociology,
Education, Economics & Econometrics
	 วิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์
	 (Life Sciences & Medicine)
Psychology, Dentistry, Veterinary Science
	 วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
	 (Natural Sciences)
Mathematics Materials Science
Geography & Area Studies
	สาขาวิชาที่มหาวิทยาลัย
ของไทยต้องพัฒนา
จุดอ่อนให้เป็นจุดที่น่าจะ
ส่งเสริมการสร้างความเข้าใจ
และให้ความสำ�คัญกับ
ตัวชี้วัด การสร้างมาตรฐาน
ความน่าเชื่อถือทางวิชาการ
ผลิตบัณฑิตมีคุณสมบัติ
ที่นายจ้างพึงพอใจ การ
อ้างอิงนำ�ผลงานวิจัยไปใช้
ประโยชน์ เพื่อส่งผลระยะ
ยาวในการสร้างทรัพยากร
มนุษย์ที่สอดคล้องกับการ
ผลักดันและสร้างโอกาส
ในการเพิ่มขีดความสามารถ
ทางการแข่งขัน
	 QS World University Ranking ได้รายงานผล
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยออกมา ซึ่งแน่นอนย่อมมีหลาย
ความคิดเห็นทั้งที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยต่อผลการจัดอันดับ
ของแต่ละสถาบัน/มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หากพิจารณา
ตัวชี้วัดของ QS ที่วัดปัจจัยนำ�เข้า คือ สัดส่วนอาจารย์
ต่อนักศึกษา สัดส่วนอาจารย์ต่างประเทศ และสัดส่วนนักศึกษา
ต่างประเทศ ที่คิดเป็นน้ำ�หนักรวม ร้อยละ 30 เมื่อมีตัวป้อน
ที่เหมาะสมแล้ว กลุ่มตัวชี้วัดผลผลิต ซึ่งได้แก่ ความมี
ชื่อเสียงด้านวิชาการ ความคิดเห็นของนายจ้างต่อผู้ที่จบการ
ศึกษา สัดส่วนผลงานทางวิชาการที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำ�นวน
อาจารย์ โดยทั้งสามตัวชี้วัดนี้มีค่าน้ำ�หนักรวมกันถึง ร้อยละ
70 ซึ่งตัวชี้วัดผลผลิตนี้สามารถบอกได้เป็นอย่างดีว่า สถาบัน/
มหาวิทยาลัยที่เป็นเบ้าหลอมความเป็นบัณฑิตที่อุดมด้วย
สรรพวิชานั้นจะมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด
	 หากโจทก์ที่ว่าการจัดการศึกษาที่ดี ย่อมได้ผลผลิต
ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นบัณฑิตที่คิดเป็น มองทะลุ วางแผน
และทำ�งานอย่างเป็นกระบวนการขั้นตอน เป็นที่พอใจของ
ภาคผู้ใช้บัณฑิตแล้วละก็ ผลการจัดอันดับของ QS 2014/2015
ในเอเชีย และเปรียบเทียบไทยกับอาเซียน จะเป็นข้อมูล
ที่มีประโยชน์เป็นไม้บรรทัดอันหนึ่งที่มหาวิทยาลัยเราจะตั้งเป้าหมาย
ให้ก้าวขยับเพิ่มจำ�นวนมหาวิทยาลัยไทยให้มีคุณภาพในเวทีการ
จัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกเพิ่มขึ้น รวมทั้งเป็นการสร้าง
ช่องทางการรับรู้ข่าวสาร ผลการประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลัยไทย
ให้กับหลายภาคส่วน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ ที่อาจมีผลทางอ้อมต่อทัศนคติของผู้บริหารเชิงบวก
ที่มีต่อระบบการศึกษาไทยที่ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศได้
8 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th
สนใจสามารถดาวน์โหลดเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ได้ที่ www.onec.go.th
มองสถิติ
เเละตัวชี้วัด
ทางการศึกษา
โทร. 0 2668 7123 ต่อ 1319, 1343, 1323
โทรสาร. 0 2243 0085
website : www.onec.go.th
กลุ่มสถิติและวิเคราะห์สภาวะทางการศึกษา
สำ�นักวิจัยเเละพัฒนาการศึกษา
สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
99/20 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300

More Related Content

Similar to มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย

Social Media in Universities
Social Media in UniversitiesSocial Media in Universities
Social Media in Universitiesguest18ba34
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐTotsaporn Inthanin
 
เรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for education
เรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for educationเรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for education
เรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for educationPrachyanun Nilsook
 
ศิลปากร
ศิลปากรศิลปากร
ศิลปากรkrunoony
 
ทำไมต้องทับแก้ว
ทำไมต้องทับแก้วทำไมต้องทับแก้ว
ทำไมต้องทับแก้วsilpakorn
 
ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97
ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97
ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97silpakorn
 
TQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationTQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationAnucha Somabut
 
RMUTL Research Activities 2014
RMUTL Research Activities 2014RMUTL Research Activities 2014
RMUTL Research Activities 2014Pisanu Prompri
 

Similar to มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย (13)

Social Media in Universities
Social Media in UniversitiesSocial Media in Universities
Social Media in Universities
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
2558
25582558
2558
 
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
 
No8 february2013
No8 february2013No8 february2013
No8 february2013
 
เรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for education
เรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for educationเรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for education
เรื่องคัดเฉพาะทางด้าน Ict for education
 
ศิลปากร
ศิลปากรศิลปากร
ศิลปากร
 
ทำไมต้องทับแก้ว
ทำไมต้องทับแก้วทำไมต้องทับแก้ว
ทำไมต้องทับแก้ว
 
ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97
ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97
ทำไมต้องทับแก้ว กลุ่ม ที่97
 
Present of ECON
Present of ECONPresent of ECON
Present of ECON
 
TQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationTQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher education
 
RMUTL Research Activities 2014
RMUTL Research Activities 2014RMUTL Research Activities 2014
RMUTL Research Activities 2014
 

มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษาไทย

  • 1. มองสถิติ เเละตัวชี้วัดทางการศึกษาปีที่2 ฉบับที่3 กรกฎาคม2558 5% 5% 20% 20% 10% 40% การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกโดย QS World University Rankings 2014/15 QS จัดอันดับดูชื่อเสียงด้านวิชาการมากที่สุด ชื่อเสียงด้านวิชาการ ชื่อเสียงในหมู่ผู้จ้างงาน อัตราส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ การกล่าวขวัญถึงคณะวิชา สัดส่วนของคณะวิชาระหว่างประเทศ สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติ TOP 10 : QS World University Rankings 2014/15 ปี 2014/15 อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ ปี 2013/14 อันดับ (คะแนน) 1 (100) Massachusetts Institute of Technology (MIT) 1 (100) 2 (99.4) University of Cambridge 3 (99.0) 2 (99.4) Imperial College London 5 (98.8) 4 (99.3) Harvard University 2 (99.2) 5 (99.2) University of Oxford 6 (98.7) 5 (99.2) UCL (University College London) 4 (98.9) 7 (98.3) Stanford University 7 (96.8) 8 (97.1) California Institute of Technology (Caltech) 10 (96.1) 9 (96.6) Princeton University 10 (96.1) 10 (96.5) Yale University 8 (96.5) การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก QS World  University Rankings 2014/15 จากประเทศ อังกฤษ จัดอันดับจากสถาบันอุดมศึกษา ชั้นนำ�ทั่วโลกกว่า 3,000 แห่ง ในการจัดอันดับนั้น 400 อันดับแรกจัดอันดับ เป็นรายสถาบัน ส่วนอันดับที่ 400 ขึ้นไปจัดอันดับเป็นกลุ่ม มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาโดดเด่นที่สุด ครองอันดับ 1 (มา 3 ปีติดต่อกันนับตั้งปี 2012) สำ�หรับมหาวิทยาลัยที่ได้ อันดับ 2 – 10 อยู่ในแถบ สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร เช่นปีก่อน สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา Office of the Education Council กระทรวงศึกษาธิการ Ministry of Education 1มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
  • 2. การจัดอันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย - 10 อันดับแรก เอเชียเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่เติบโตและมีการพัฒนาประเทศหลายด้านอย่างรวดเร็ว QS มีการจัดอันดับสถาบัน/มหาวิทยาลัย ในภูมิภาคนี้ 300 สถาบันในเอเชีย วิธีการที่นำ�มาใช้จะแตกต่างกันจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก เนื่องจากเป็นการรวบรวมจาก ความคิดเห็นที่ได้จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญในระดับภูมิภาค ตามปัจจัยที่สำ�คัญในภูมิภาคและความพร้อมของข้อมูลจำ�นวน 9 ตัวชี้วัด ที่นำ�มาใช้ในการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยในระดับภูมิภาคนี้ ได้แก่ อันดับโลก (คะแนน) อันดับเอเชีย สถาบัน ประเทศ 22 (91.1) 1 National University of Singapore (NUS) Singapore 28 (88.8) 2 The University of Hong Kong Hong Kong 31 (86.7) 3= The University of Tokyo Japan 31 (86.7) 3= Seoul National University South Korea 36 (84.7) 5 Kyoto University Japan 39 (84.0) 6 Nanyang Technological University (NTU) Singapore 40 (83.3) 7 The Hong Kong University of Science and Technology Hong Kong 46 (81.9) 8 The Chinese University of Hong Kong Hong Kong 47 (81.3) 9 Tsinghua UniversityTsinghua University China 51 (79.9) 10 KAIST - Korea Advanced Institute of Science & Technology South Korea ที่มา : QS World University Rankings 2014/15 TOP 10 ASIA QS World University Rankings 2014/15 ดีที่สุดในเอเชีย ประจำ�ปี 2014/15 อันดับหนึ่งยังคงเป็น National University of Singapore (NUS) จากประเทศสิงคโปร์ ที่ยังคงครองแชมป์ พร้อมกับอันดับโลกที่ สูงขึ้นจากอันดับที่ 24 (ในปี 2014) มาเป็น 22 และอันดับสองตกเป็นของ  University of Hong Kong  ซึ่งขึ้นมาจากอันดับที่ 3 ในปีที่แล้ว ส่วนอันดับ 2 ของปีที่แล้วอย่าง KAIST-Korea Advanced Institute of Science & Technology จากประเทศเกาหลีใต้ มาในปีนี้หลุดไปอยู่ในอันดับที่ 10 อย่างแทบ ไม่น่าเชื่อว่าจากอันดับ 2 จะลงมาถึงอันดับ 10 ในปีนี้ได้ ชื่อเสียงในหมู่ผู้จ้างงาน (EMPLOYER REPUTATION) 10% อัตราส่วนงานวิจัยถูกใช้ อ้างอิงต่อเอกสาร (CITATION PER PAPER) 15% สัดส่วนนักศึกษาต่างชาติ (Proportion of  INTERNATIONAL STUDENTS) 2.5% สัดส่วนนักศึกษาแลกเปลี่ยน ที่เข้ามาเรียนในประเทศ (Proportion of INBOUND EXCHANGE STUDENTS) 2.5% สัดส่วนนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่ไป เรียนต่างประเทศ (Proportion of OUTBOUND EXCHANGE STUDENTS) 2.5% ความมีชื่อเสียงด้าน วิชาการ (ACADEMIC REPUTATION) 30% อัตราส่วนนักศึกษาต่อ คณะ (FACULTY STUDENT RATIO) 20% อัตราส่วนเอกสารงาน วิจัยต่อคณะ (PAPERS PER FACULTY) 15% สัดส่วนคณะวิชาระหว่าง ประเทศ (Proportion of INTERNATIONAL FACULTY) 2.5% 1 3 5 7 9 2 4 6 8 2 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th
  • 3. ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยดีที่สุด 8 แห่งติดอันดับโลก และภูมิภาคเอเชีย อันดับ ของไทย 2014/15 อันดับของโลก ชื่อ อันดับ ของไทย 2013/14 อันดับของโลก 1 243 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 239 2 257 มหาวิทยาลัยมหิดล 2 283 3 501-550 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 551-600 4 601-650 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4 601-650 5 651-700 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5 651-700 6 701+ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6 701+ 7 701+ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี 8 701+ 8 701+ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 7 701+ ที่มา : QS World University Rankings 2014/15, 2013/14 เปรียบเทียบมหาวิทยาลัยติดอันดับโลกในกลุ่มประเทศอาเซียน หากพิจารณาการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย ซึ่งจัดโดย QS World University Rankings : Asia 2014 เฉพาะ ในกลุ่มอาเซียน 10 ประเทศ พบว่า มีมหาวิทยาลัยในประเทศกลุ่มอาเซียนติด 100 อันดับแรกของมหาวิทยาลัยในเอเชีย มี จำ�นวน 12 แห่ง ดังนี้ 2014 QS ASIA RANK คะแนนรวม ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ 2013 QS ASIA RANK คะแนนรวม 1 100 NATIONAL UNIVERSITY OF SINGAPORE (NUS) SINGAPORE 2 99.6 7 97.3 NANYANG TECHNOLOGICAL UNIVERSITY (NTU) SINGAPORE 10 95.1 32 80.4 UNIVERSITI MALAYA (UM) MALAYSIA 33 76.9 40 72.7 MAHIDOL UNIVERSITY THAILAND 42 70.6 48 67.4 CHULALONGKORN UNIVERSITY THAILAND 48 67.0 56 65.4 UNIVERSITI KEBANGSAAN MALAYSIA (UKM) MALAYSIA 57 63.9 57 64.0 UNIVERSITI SAINS MALAYSIA (USM) MALAYSIA 61 61.8 63 60.7 UNIVERSITY OF THE PHILIPPINES PHILIPPINES 67 58.7 66 59.6 UNIVERSITI TEKNOLOGI MALAYSIA MALAYSIA 68 57.1 71 58.8 UNIVERSITY OF INDONESIA INDONESIA 64 59.3 76 57.2 UNIVERSITI PUTRA MALAYSIA (UPM) MALAYSIA 72 55.6 92 52.4 CHIANG MAI UNIVERSITY THAILAND 98 49.4 ที่มา : QS World University Rankings: Asia 2014, 2013. 3มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
  • 4. 10 อันดับมหาวิทยาลัยไทย ในเอเชีย QS 2014 กลุ่มเอเชีย ชื่อมหาวิทยาลัย QS 2013 กลุ่มเอเชีย อันดับ ของไทย อันดับของ เอเชีย อันดับ ของไทย อันดับ ของเอเชีย 1 40 มหาวิทยาลัยมหิดล 1 42 2 48 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 48 3 92 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 98 4 134 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4 107 5 142 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5 146 6 151-160 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 171-180 7 171-180 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6 161-170 8 181-190 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7 161-170 9 201-250 มหาวิทยาลัยบูรพา 9 191-200 10 251-300 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 11 251-300 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง 10 251-300 ที่มา : QS World University Rankings: Asia 2014, 2013. Arts & Humanities Art & Design Modern Languages History Linguistics English Language & Literature Philosophy Statistics & Operational Research Sociology Politics & International Studies Law Economics & Econometrics Accounting & Finance Communication & Media Studies Education Business &Management Development Studies Architecture Computer Science & Information Systems Chemical Engineering CiviI & Structural Engineering Electrical & Electronic Engineering Mechanical, Aeronautical & Manufacturing Engineering Medicine Biological Sciences Psychology Pharmacy & Pharmacology Agriculture & Forestry Dentistry Veteronary Sciecne Physics & Astronomy Mathematics Environmental Sciences Earth & Marine Sciences Chemistry Materials Sciences Geography Social Sciences & Management Engineering & Technology Life Sciences & Medicine Natural Sciences มหาวิทยาลัยไทยติด100อันดับแรก  สาขาAgriculture&Forestry มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อันดับ ที่ 39 ของโลก  สาขาMedicineมหาวิทยาลัย มหิดล ติดอันดับในกลุ่ม 51-100 ของโลก  สาขา Modern Languages จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับ ในกลุ่ม 51-100 ของโลก  สาขา Architecture/Buile Environmentจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับในกลุ่ม 51-100 ของโลก  สาขาEngineering–Chemical จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอันดับใน กลุ่ม 51-100 ของโลก QS อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย จำ�แนกสาขาวิชา ปี 2015 QS Intelligence Unit จัดอันดับ มหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชีย โดยการวิเคราะห์ สาขาวิชายอดนิยมในมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ใน เอเชีย 5 กลุ่มสาขาวิชาหลัก คือ ศิลปะ และมนุษยศาสตร์ (Arts & Humanities) สังคมศาสตร์และการจัดการ (Social Sciences & Management) วิศวกรรมศาสตร์และ เทคโนโลยี (Engineering & Technology) วิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์ (Life Sciences & Medicine) และวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ (Natural Sciences) ตัวชี้วัดที่นำ�มาใช้ในการจัดอันดับ ของมหาวิทยาลัยจำ�แนกสาขาวิชา ปี 2015 ประกอบด้วย ความมีชื่อเสียงด้านวิชาการ (Academic Reputation) ชื่อเสียงในหมู่ผู้จ้างงาน (Employer Reputation) และเอกสารงานวิจัยถูกนำ�ไปใช้อ้างอิงต่อคณะ (Citations per Faculty) ที่ครอบคลุม 36 สาขาวิชา 4 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th
  • 5. จีนติดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ในเอเชีย คณะสาขาทางศิลปะและมนุษยศาสตร์มากที่สุด 3 ใน 10 แห่งของเอเชีย รองลงมาคือ ญี่ปุ่น และฮ่องกง 2 แห่งเท่ากัน QS จัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก จำ�แนกคณะสาขาวิชา ในภูมิภาคเอเชีย ปี 2014/15 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก ที่จำ�แนกตามคณะสาขาวิชา ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งแบ่งเป็น 5 คณะดังกล่าวข้างต้นแล้ว ในจุลสารนี้จะเสนอเพียง 3 คณะสาขาวิชา คือ คณะสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) คณะสาขาวิชาทางศิลปะ และมนุษยศาสตร์ (Arts & Humanities) และคณะสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์และการจัดการ (Social Sciences & Management) อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย โดย QS 2014/15 คณะสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ - 10 อันดับแรก อันดับโลก (คะแนน) ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ 9 (91.3) The University of Tokyo Japan 13(88.6) National University of Singapore (NUS) Singapore 17(87.5) Kyoto University Japan 20(86.0) Peking University China 24(85.4) Seoul National University (SNU) South Korea 26(84.8) Tokyo Institute of Technology Japan 29(84.1) Tsinghua University China 37(83.5) University of Hong Kong (HKU) Hong Kong 48(82.1) National Taiwan University (NTU) Taiwan 51(81.7) Osaka University Japan ญี่ปุ่นติดอันดับ 1 ในเอเชียและมี มหาวิทยาลัย 4 แห่ง ที่ติดอันดับ 1-10 ของมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ใน เอเชียที่ติดอันดับมหาวิทยาลัยโลก จำ�แนกคณะสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ฮ่องกงและเกาหลีใต้มีมหาวิทยาลัย ชั้นนำ�ในเอเชีย ติดอันดับ 1-10 คณะสาขาสังคมศาสตร์และการ จัดการ มากที่สุด 3 ใน 10 แห่ง รองลงมาคือ สิงคโปร์ National University of Singapore (NUS) ของสิงค์โปร์ ติดอันดับมหาวิทยาลัย โลก จำ�แนกคณะสาขาทางศิลปะและ มนุษยศาสตร์ ได้อันดับ 1 และญี่ปุน อันดับ 2 อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย โดย QS 2014/15 คณะสาขาสังคมศาสตร์และการจัดการ - 10 อันดับแรก อันดับโลก (คะแนน) ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ 9 (89.0) Nationa7rsity of Singapore (NUS) Singapore 15 (87.2) University of Hong Kong (HKU) Hong Kong 21 (85.3) The University of Tokyo Japan 21 (85.3) The Chinese University of Hong Kong (CUHK) Hong Kong 26 (84.3) The Hong Kong University of Science and Technology (HKUST) Hong Kong 28 (83.6) Seoul National University (SNU) South Korea 29 (83.1) Peking University China 33 (82.4) Nanyang Technological University (NTU) Singapore 45 (79.8) Korea University South Korea 48 (79.2) Yonsei University South Korea อันดับมหาวิทยาลัยในเอเชีย โดย QS 2014/15 สาขาศิลปะและมนุษยศาสตร์ - 10 อันดับแรก อันดับโลก (คะแนน) ชื่อมหาวิทยาลัย ประเทศ 13 (87.0) National University of Singapore (NUS) Singapore 14 (85.6) The University of Tokyo Japan 19 (84.3) University of Hong Kong (HKU) Hong Kong 21 (83.8) Peking University China 38 (78.8) The Chinese University of Hong Kong (CUHK) Hong Kong 38. (78.8) Seoul National University (SNU) South Korea 41 (78.6) Kyoto University Japan 45 (77.7) Tsinghua University China 54 (76.0) National Taiwan University (NTU) Taiwan 60 (75.2) Fudan University China 5มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
  • 6. ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ที่เป็นจุดแข็งในสาขาวิชา Medicine มากที่สุดถึง 5 แห่ง ซึ่ง มหาวิทยาลัยมหิดล อยู่อันดับช่วง 51-100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยู่ในอันดับช่วง 151-200 เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ในอันดับช่วง 301-400 ทั้งคู่ Medicine อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ 21 (84.1) National University of Singapore (NUS) 51-100 Mahidol University 151-200 Chiang Mai University 151-200 Chulalongkorn University 151-200 Universiti Malaya (UM) 251-300 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM) 251-300 Universiti Sains Malaysia (USM) 251-300 University of the Philippines 301-400 Khon Kaen University 301-400 Prince of Songkla University 301-400 Universiti Putra Malaysia (UPM) หากพิจารณามหาวิทยาลัยไทยที่ติดอันดับในช่วง 200 อันดับแรก อย่างน้อย 1 สาขาวิชา มีจำ�นวน 7 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหากขยายอันดับมหาวิทยาลัยเป็น 400 อันดับ พบว่า มีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังเพิ่มอีก 1 แห่ง ประเทศในกลุ่มอาเซียนที่มีมหาวิทยาลัยติดอันดับโลกของ QS ปี 2015 สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย หากพิจารณามหาวิทยาลัยไทยที่ติดอันดับในช่วง 200 อันดับแรก อย่างน้อย1 สาขาวิชา มีจํานวน 7 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหากขยายอันดับมหาวิทยาลัยเป็น 400 อันดับ พบว่า มีสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังเพิ่มอีก 1 แห่ง อันดับมหาวิทยาลัยไทยในปี 2015 จุดประกายให้มหาวิทยาลัยอื่นๆ เร่งพัฒนาและสร้างความเป็นเลิศ ตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และเสริมสร้างนวัตกรรม สนองสังคม ผลักดันการพัฒนาประเทศอย่างตรง เป้าหมายและมีทิศทางสู่ความสําเร็จได้ ประเทศไทยมีมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ที่เป็นจุดแข็งในสาขาวิชา Medicine มาก ที่สุดถึง 5 แห่ง ซึ่ง มหาวิทยาลัยมหิดล อยู่อันดับช่วง 51-100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อยู่ในอันดับช่วง 151-200 เช่นกัน ส่วนมหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ในอันดับช่วง 301-400 ทั้งคู่ Medicine 21 84.1 National University of Singapore (NUS) 51-100 Mahidol University 151-200 Chiang Mai University 151-200 Chulalongkorn University 151-200 Universiti Malaya (UM) 251-300 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM) 251-300 Universiti Sains Malaysia (USM) 251-300 University of the Philippines 301-400 Khon Kaen University 301-400 Prince of Songkla University 301-400 Universiti Putra Malaysia (UPM) 5 4 4 4 3 4 8 6 4 1 มาเลเซีย ไทย จุดแข็งสาขาวิชาที่มีจํานวน มหาวิทยาลัยไทย ติดอันดับมาก QS อันดับมหาวิทยาลัยไทยในปี 2015 มีสาขาวิชาที่ เป็นจุดแข็ง ซึ่งจุดประกายให้มหาวิทยาลัยอื่นๆ เร่งพัฒนาและสร้างความเป็นเลิศตามอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัย และเสริมสร้างนวัตกรรม สนองสังคม ผลักดันการพัฒนาประเทศอย่างตรงเป้าหมาย และมีทิศทางสู่ความสำ�เร็จได้ สาขาวิชาที่ประเทศไทยมี มหาวิทยาลัยติดอันดับมาก 6 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th
  • 7. Biological Sciences อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ 8 (87.9) National University of Singapore (NUS) 51-100 Nanyang Technological University, Singapore (NTU) 151-200 Chulalongkorn University 151-200 Mahidol University 251-300 Universiti Malaya (UM) 251-300 Universiti Sains Malaysia (USM) 301-400 Chiang Mai University 301-400 Kasetsart University 301-400 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM) 301-400 Universiti Putra Malaysia (UPM) Engineering - Electrical & Electronic อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ 6 (91.0) National University of Singapore (NUS) 7 (90.7) Nanyang Technological University, Singapore (NTU) 51-100 Universiti Malaya (UM) 51-100 Universiti Sains Malaysia (USM) 101-150 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM) 101-150 Universiti Putra Malaysia (UPM) 101-150 Universiti Teknologi Malaysia 151-200 Chulalongkorn University 151-200 Multimedia University (MMU) 201-250 Universiti Teknologi Petronas (Petronas) 251-300 Asian Institute of Technology, Thailand 251-300 Bandung Institute of Technology (ITB) 251-300 King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang 251-300 King Mongkut’s University of Technology Thonburi 251-300 Universiti Teknologi MARA - UiTM Modern Languages อันดับ (คะแนน) สถาบัน ประเทศ 11 (86.6) National University of Singapore (NUS) 51-100 Chulalongkorn University 51-100 Nanyang Technological University, Singapore (NTU) 101-150 Universiti Malaya (UM) 151-200 University of the Philippines 201-250 Mahidol University 201-250 Universiti Putra Malaysia (UPM) 251-300 Chiang Mai University 251-300 Thammasat University 251-300 Universiti Kebangsaan Malaysia (UKM) และสาขาวิชาอื่น ๆ ที่มีมหาวิทยาลัยไทยติดอันดับมากถึง ๔ แห่ง ได้แก่ สาขาวิชา Engineering-Electrical สาขา Modern Language และสาขา Biological Sciecnces ดังตารางข้างล่างนี้ 7มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษาwww.onec.go.th
  • 8. กลุ่มสาขาวิชา จุดอ่อนสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยไทย ไม่ติดอันดับ ศิลปะและมนุษยศาสตร์ (Arts & Humanities) History, English Language & Literature สังคมศาสตร์และการจัดการ (Social Sciences & Management) Politics & International StudiesLaw, Statistics & Operational Research, Communication & Media Studies, Sociology, Education, Economics & Econometrics วิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์ (Life Sciences & Medicine) Psychology, Dentistry, Veterinary Science วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) Mathematics Materials Science Geography & Area Studies สาขาวิชาที่มหาวิทยาลัย ของไทยต้องพัฒนา จุดอ่อนให้เป็นจุดที่น่าจะ ส่งเสริมการสร้างความเข้าใจ และให้ความสำ�คัญกับ ตัวชี้วัด การสร้างมาตรฐาน ความน่าเชื่อถือทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตมีคุณสมบัติ ที่นายจ้างพึงพอใจ การ อ้างอิงนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ เพื่อส่งผลระยะ ยาวในการสร้างทรัพยากร มนุษย์ที่สอดคล้องกับการ ผลักดันและสร้างโอกาส ในการเพิ่มขีดความสามารถ ทางการแข่งขัน QS World University Ranking ได้รายงานผล การจัดอันดับมหาวิทยาลัยออกมา ซึ่งแน่นอนย่อมมีหลาย ความคิดเห็นทั้งที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยต่อผลการจัดอันดับ ของแต่ละสถาบัน/มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หากพิจารณา ตัวชี้วัดของ QS ที่วัดปัจจัยนำ�เข้า คือ สัดส่วนอาจารย์ ต่อนักศึกษา สัดส่วนอาจารย์ต่างประเทศ และสัดส่วนนักศึกษา ต่างประเทศ ที่คิดเป็นน้ำ�หนักรวม ร้อยละ 30 เมื่อมีตัวป้อน ที่เหมาะสมแล้ว กลุ่มตัวชี้วัดผลผลิต ซึ่งได้แก่ ความมี ชื่อเสียงด้านวิชาการ ความคิดเห็นของนายจ้างต่อผู้ที่จบการ ศึกษา สัดส่วนผลงานทางวิชาการที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำ�นวน อาจารย์ โดยทั้งสามตัวชี้วัดนี้มีค่าน้ำ�หนักรวมกันถึง ร้อยละ 70 ซึ่งตัวชี้วัดผลผลิตนี้สามารถบอกได้เป็นอย่างดีว่า สถาบัน/ มหาวิทยาลัยที่เป็นเบ้าหลอมความเป็นบัณฑิตที่อุดมด้วย สรรพวิชานั้นจะมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด หากโจทก์ที่ว่าการจัดการศึกษาที่ดี ย่อมได้ผลผลิต ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นบัณฑิตที่คิดเป็น มองทะลุ วางแผน และทำ�งานอย่างเป็นกระบวนการขั้นตอน เป็นที่พอใจของ ภาคผู้ใช้บัณฑิตแล้วละก็ ผลการจัดอันดับของ QS 2014/2015 ในเอเชีย และเปรียบเทียบไทยกับอาเซียน จะเป็นข้อมูล ที่มีประโยชน์เป็นไม้บรรทัดอันหนึ่งที่มหาวิทยาลัยเราจะตั้งเป้าหมาย ให้ก้าวขยับเพิ่มจำ�นวนมหาวิทยาลัยไทยให้มีคุณภาพในเวทีการ จัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกเพิ่มขึ้น รวมทั้งเป็นการสร้าง ช่องทางการรับรู้ข่าวสาร ผลการประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลัยไทย ให้กับหลายภาคส่วน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ที่อาจมีผลทางอ้อมต่อทัศนคติของผู้บริหารเชิงบวก ที่มีต่อระบบการศึกษาไทยที่ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศได้ 8 มองสถิติเเละตัวชี้วัดทางการศึกษา www.onec.go.th สนใจสามารถดาวน์โหลดเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ได้ที่ www.onec.go.th มองสถิติ เเละตัวชี้วัด ทางการศึกษา โทร. 0 2668 7123 ต่อ 1319, 1343, 1323 โทรสาร. 0 2243 0085 website : www.onec.go.th กลุ่มสถิติและวิเคราะห์สภาวะทางการศึกษา สำ�นักวิจัยเเละพัฒนาการศึกษา สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 99/20 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300