SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
อาหารหลัก
5 หมู่
สื่อการเรียนการสอน CAI โดย นางสาววรรณวิภา บุญญทิม ตาแหน่ง ครู คศ. 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนประชานิเวศน์ สานักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
สิ่งต่าง ๆ ที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็น
พิษและมีประโยชน์ต่อร่างกาย
อาหาร
สารอาหาร
“สารอาหาร” สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหาร
สามารถแบ่งได้เป็น 5 หมู่ ดังนี้ คือ
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน และเกลือแร่
อาหารหมู่ที่ 1
เนื้อ นม ไข่ ถั่ว
- ซ่อมแซมร่างกายที่สึกหรอ ,สร้างกล้ามเนื้อ และให้พลังงาน
ประโยชน์
อาหารหมู่ที่ 2 ข้าว แป้ง น้าตาล เผือก มัน
ประโยชน์
เน้นให้พลังงานในการทากิจกรรมต่างๆ
อย่ากินน้าตาล
มากเกินไปนะ
อาหารหมู่ที่ 3 ผักใบเขียว และพืชต่างๆ
ให้ สารอาหารประเภท วิตามินและแร่ธาตุ
อาหารหมู่ที่ 4
ผลไม้ต่างๆ
อาหารประเภทผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ ส้ม สับปะรด มะละกอ
แตงโม กล้วย เงาะ อาหารเหล่านี้ทาให้มีสุขภาพดี สร้างความ
ต้านทานโรคให้แก่ร่างกาย
อาหารหมู่ที่ 5
ไขมันจากพืชและสัตว์
ให้พลังงาน และความอบอุ่น
อาหาร 1 อย่าง ให้สารอาหารที่ครบทุกหมู่ได้
โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
เกลือแร่,วิตามิน
โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน
เกลือแร่
,วิตามิน
ไขมัน
โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต
เกลือแร่,วิตามิน
อาหารกับ
สุขภาพ
ความสาคัญของอาหารต่อสุขภาพ
ผลของร่างกาย
- ขนาดร่างกาย
- ความสามารถในการต้านโรค
- การมีอายุยืน
ผลทางอารมณ์และ
สติปัญญา
- จิตใจ
- สมอง
-
สติปัญญา
แนวทางการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
- รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ กินอาหารที่มีกากใย
สุขภาพก็ดี หุ่นก็ดีด้วยนะ
- รับประทานอาหารที่สะอาดและปลอดภัย
กินอาหารที่ขึ้นรา หรือเน่า
อาจทาให้เราอุจระร่วง
หรืออาจจะอาหารเป็นพิษ
รับประทานอาหารประเภทไขมันในปริมาณที่เหมาะสม
อาหารที่มีไขมันสูง อาจทาให้เราเป็นโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
- ระมัดระวังการรับประทานอาหารที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
โภชนาการของเด็กวัยเรียน
การขาดสารอาหารประเภทโปรตีน
การเจริญบกพร่อง
น้าหนักลด
บางรายอาจบวมตามตัว
ผิวกร้าน
อ่อนแอ
การขาดแร่ธาตุ
ขาดแคลเซียมและ
ฟอสฟอรัส
ร่างกายแคระแกร็น
กระดูกไม่แข็งแรง
เลือดแข็งตัวช้า
ขาดธาตุเหล็ก
อาจเป็นโรคโลหิตจาง
เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็ก
ในหญิงมีครรภ์อาจ
คลอดก่อนกาหนด
ขาดไอโอดีน
โรคคอ
พอก
ผมแดง แตก
ปลายและหยาบ
ขาดวิตามิน
ขาดวิตามินเอ
ตาฟาง ตาอักเสบ
ขาดวิตามินบี 1
เหน็บชา ปวดเมื่อย
ขาดวิตามินบี 2
โรคปากนกกระจอก
ขาดวิตามินบี 5
ผิวหนังอักเสบ
ขาดวิตามินบี 6
ผิวหนังอักเสบ นอนไม่หลับ
ขาดวิตามินบี 12
เกิดโรคโลหิตจางอย่างรุนแรง
ประสาทเสื่อม
ขาดวิตามินซี
เลือดออกตามไรฟัน
เบื่ออาหาร
บาดแผลหายช้า
ขาดวิตามินดี
กระดูกอ่อน เปราะ หักง่าย และฟันผุ
ขาดวิตามินเค
เลือดแข็งตัวช้ากว่าปกติ
ดังนั้น เราควรจะรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
และเลือกทานอาหารที่มีสุขอนามัยที่ดีกันนะครับ

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPwaranyuati
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนphysical04
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์Nuttapol Time
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
กรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSPกรอบรูปสวยด้วย GSP
กรอบรูปสวยด้วย GSP
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
Bloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learningBloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learning
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 

Similar to อาหารหลัก 5 หมู่.pdf

โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าJenjira1996
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
20080901 Fried Rice
20080901 Fried Rice20080901 Fried Rice
20080901 Fried RiceAkradech M.
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)Jenjira1996
 
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...Janejira Meezong
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า Jenjira1996
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 

Similar to อาหารหลัก 5 หมู่.pdf (20)

โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
20080901 Fried Rice
20080901 Fried Rice20080901 Fried Rice
20080901 Fried Rice
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า(จริง)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 

อาหารหลัก 5 หมู่.pdf