SlideShare a Scribd company logo
1 of 109
Download to read offline
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
ใน ๑ มื้อ ท่าน
รับประทาน
อะไรบ้าง?
อาหารหลัก ๕ หมู่
คืออะไร?
อาหารหลัก ๕ หมู่ คือ อาหารที่
ร่างกายต้องการในแต่ละวัน โดยจัด
ประเภทอาหารที่มีสารอาหาร
เหมือนกันเข้าไว้เป็นหมวดหมู่เดียวกัน
อาหารหลัก ๕ หมู่
สาคัญไฉน
การจัดอาหาร ๕ หมู่ จะ
ช่วยให้ได้รับสารอาหาร
ครบทุกชนิดตามที่
ร่างกายต้องการ ซึ่งจะทํา
ให้ร่างกายแข็งแรง ไม่
เกิดภาวะทุพโภชนาการ
ภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการ หมายถึง ภาวะ
หรือสุขภาพของร่างกายที่เป็นผล
จากอาหารที่ได้รับ แบ่งออกเป็น
ภาวะโภชนาการดี และ
ทุพโภชนาการ
ภาวะโภชนาการดี
“การที่ร่างกายได้รับสารอาหาร
ครบถ้วนในสัดส่วนและปริมาณที่
เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย
ทําให้ร่างกายมีสุขภาพดี”
ภาวะทุพโภชนาการ
“ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
หรือมากกว่าความต้องการของร่างกาย
แบ่งออกเป็น ภาวะโภชนการตํ่ากว่าปกติ
และภาวะโภชนาการเกิน”
ภาวะโภชนาการตํ่ากว่าปกติ
หมายถึงภาวะที่ร่างกายได้รับ
สารอาหารไม่เพียงพอกับ
ความต้องการของร่างกาย ทํา
ให้ร่างกายขาดสารอาหารและ
หรือขาดพลังงาน จะมีรูปร่าง
ผอมและแคระแกรน
ภาวะโภชนาการเกิน
หมายถึงภาวะที่ร่างกายได้รับ
สารอาหารมากเกินความ
ต้องการของร่างกายและเก็บ
สะสมไว้จนเกิดอาการปรากฎ
เช่น โรคอ้วน
การประเมินนํ้าหนักตัว
- นํ้าหนักตัวเป็นเครื่องบ่งชี้สําคัญที่บ่งบอกถึง
ภาวะสุขภาพ
- การรักษานํ้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติโดยกิน
อาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และออกกําลังกาย
อย่างเหมาะสม จะช่วยให้สุขภาพดีและชีวิตยืนยาว
วิธีการประเมินนํ้าหนักตัวในเด็ก
- ใช้ค่านํ้าหนักตัวตามเกณฑ์อายุ หรือค่านํ้าหนัก
ตามเกณฑ์ส่วนสูงเปรียบเทียบกับเกณฑ์อ้างอิง
วิธีการประเมินนํ้าหนักตัวในผู้ใหญ่
-ใช้ค่าดัชนีมวลกายเป็นเกณฑ์ตัดสิน
-คํานวณโดยใช้สูตรดังนี้
ดัชนีมวลกาย = นํ้าหนัก (กิโลกรัม)
ส่วนสูง (เมตร)2
ตัวอย่างการคํานวณ
- นํ้าหนัก ๖๐ กก. ส่วนสูง ๑.๖ เมตร
จากสูตร
ดัชนีมวลกาย = นํ้าหนัก (กก.)÷ ส่วนสูง (เมตร)
= ๖๐ ÷ (๑.๖)
= ๖๐ ÷ (2.56)
= ๒๓.๔๓
เกณฑ์ปกติมีค่าระหว่าง 18.5 -24.9 กก./ตารางเมตร
2
2
เกณฑ์ประเมินนํ้าหนัก
- เกณฑ์ปกติมีค่าระหว่าง 18.5 -24.9 กก./ตารางเมตร
- ถ้าน้อยกว่า 18.5 กก./ตารางเมตร
แสดงว่าผอมหรือนํ้าหนักตํ่ากว่าเกณฑ์
- ถ้ามีค่าระหว่าง 25-29.9 กก./ตารางเมตร
แสดงว่านํ้าหนักเกิน
- ถ้ามีค่ามากกว่า 30 กก./ตารางเมตร
แสดงว่าเป็นโรคอ้วน
ค่ามาตรฐานของรอบเอว
รอบเอว
- เพศชาย ไม่เกิน ๓๖ นิ้ว หรือ ๙๐ เซนติเมตร
- เพศหญิง ไม่เกิน ๓๒ นิ้ว หรือ ๘๐ เซนติเมตร
ค่ามาตรฐานของสัดส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก
- เพศชาย ไม่เกิน ๐.๙ เพศหญิง ไม่เกิน ๐.๗
อาหารหลัก ๕
หมู่ มี
อะไรบ้าง?
อาหารหลัก ๕ หมู่และสารอาหาร
หมู่อาหาร สารอาหาร
อาหารหลักหมู่ที่ ๑ โปรตีน
อาหารหลักหมู่ที่ ๒ คาร์โบไฮเดรต
อาหารหลักหมู่ที่ ๓,๔ วิตามิน, เกลือแร่
อาหารหลักหมู่ที่ ๕ ไขมัน
อาหารหมู่ที่ ๑
อาหารประเภทเนื้อสัตว์ นม ไข่ และถั่วเมล็ดแห้ง
- สารอาหารที่ได้จากอาหารหมู่ที่ ๑ ได้แก่
โปรตีน เกลือแร่ วิตามิน และไขมัน
- อาหารประเภทนม ได้แก่ นํ้านมจากสัตว์ทุกชนิด
- อาหารประเภทไข่ เช่น ไข่เป็ด ไข่ไก่ ไข่นกกระทา
- อาหารประเภทถั่วต่างๆ และผลิตผลจากถั่ว
- อาหารประเภทเนื้อสัตว์ทุกชนิดทั้งสัตว์บกและสัตว์นํ้า
- กุ้งฝอย กุ้งแห้ง กะปิ ปลาเล็กปลาน้อย
มีแคลเซียมสูง
- ตับมีเหล็ก วิตามินเอ บีสอง
- เครื่องในสัตว์ ให้เหล็กและวิตามินบีรวมสูง
- เนื้อหมูมีวิตามินบีหนึ่งสูง
- เนื้อสัตว์ที่นํามาใช้เป็นอาหาร มีโปรตีนร้อยละ
๑๕-๒๕เนื้อสัตว์ ที่มีไขมันมากจะมีปริมาณ
โปรตีนน้อยลง
- ไข่มีโปรตีนร้อยละ ๑๓-๑๔ เท่ากับเนื้อสัตว์
- เนื้อแดงมีโปรตีนร้อยละ ๑๔.๑ หมูสามชั้น
มีโปรตีนร้อยละ ๑๑.๙
- ไข่เป็นโปรตีนที่มีคุณค่าสูงสุด ไข่ ๑ ฟอง
ให้โปรตีน ๗ กรัม
- เครื่องในสัตว์มีโปรตีนประมาณร้อยละ
๑๒.๒๐
- ถั่วเหลืองมีโปรตีนประมาณ ร้อยละ ๓๕
ถั่วเมล็ดแห้งอื่นๆ ให้โปรตีนประมาณ
ร้อยละ ๑๕-๒๐
อาการเมื่อร่างกายขาดโปรตีน
๒. ในเด็กอายุต่่ากว่า 6 ปี ร่างกายจะเจริญเติบโตช้า
เพราะเป็นวัยที่ร่างกายเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
๓. วัยผู้ใหญ่ เหนื่อยง่ายและเจ็บป่ วยบ่อยๆ
๑. ทารกแรกเกิด เด็กจะมีอาการพุงโร ซีด บวม
ผิวหนังหยาบ
ประโยชน์ของอาหารหลักหมู่ที่ ๑
๑. ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต เช่น ช่วยสร้างเซล
และเนื้อเยื่อต่างๆ รวมทั้งซ่อมแซมส่วนที่
สึกหรอของอวัยวะต่างๆ
๒. ประโยชน์ต่อเซลล์ผิว มีหน้าที่สร้างใยคลอลาเจน
ใต้ชั้นผิวหนังในร่างกาย ช่วยให้ผิวมีความยืดหยุ่น
ปกป้ องริ้วรอยก่อนวัยได้ รวมทั้งเพิ่มความ
แข็งแรงของเซลล์ ผม และเล็บ
๔. ประโยชน์ต่อระบบกล้ามเนื้อ โปรตีนที่มีคุณภาพ
จะมีความสําคัญต่อการสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรง
๕. โปรตีนที่มีคุณภาพมีส่วนในการช่วยทดแทนเซลล์
ที่สูญเสียไปในแต่ละวัน ช่วยลดการแข็งตัว
ของเลือด
๓. เป็นส่วนประกอบของสารเคมีที่ให้อํานาจใน
การป้ องกันต้านทานโรค ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
๗. เป็นส่วนประกอบของสารเอ็นไซม์และฮอร์โมน
เพื่อควบคุมการทํางานของอวัยวะต่างๆ เช่น
การย่อย การหายใจ การดูดซึม
๖. หากร่างกายได้รับโปรตีนคุณภาพซึ่งเป็น
ส่วนประกอบของเอนไซม์ในปริมาณที่เพียงพอ
ก็จะช่วยให้อาหาร ต่างๆถูกย่อยและดูดซึมเข้าสู่
ร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปริมาณที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน
๑. ผู้ใหญ่ปกติควรรับประทานอาหารพวกเนื้อสัตว์
วันละประมาณ ๑๘๐ กรัม อาหารทะเลและ
เครื่องในสัตว์ ควรรับประทาน สัปดาห์ละ ๒-๓ ครั้ง
๒. เด็กตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งเป็นผู้ใหญ่ ต้องการ
โปรตีนมาก จึงควรได้รับโปรตีนประมาณวันละ
๓-๕ กรัม ต่อร่างกาย ๑ กิโลกรัม
๔. หญิงมีครรภ์ ควรบริโภคอาหารโปรตีน
วันละ ๒๔๐-๓๖๐ กรัมต่อวัน
๕. หญิงระยะให้นมบุตร ควรบริโภคอาหารโปรตีน
วันละ ๓๐๐-๔๐๐ กรัมต่อวัน
๖. ผู้ที่มีภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ควรระวัง
การบริโภคไข่เป็นพิเศษ รับประทานไข่ได้
สัปดาห์ละ๑-๒ ฟอง
๓. โปรตีน ๑ กรัม ให้พลังงาน ๔ แคลอรี่
ปริมาณที่แนะนําให้บริโภคต่อวัน
อาหาร เด็ก ผู้ใหญ่ หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร
เนื้อสัตว์และ
เครื่องในสัตว์
¾-1 ถ้วย ¾-1 ถ้วย 1½-2 ถ้วย 2- 2½ ถ้วย
ไข่ 1 ฟอง ½-1 ฟอง 1 ฟอง 1 ฟอง
นม 3-5 ถ้วย 1-2 ถ้วย 3 ถ้วย 3-4 ถ้วย
คุณค่าทางโภชนาการและประโยชน์ของนมวัว
- นํ้านมสดหนึ่งถ้วยตวงมีโปรตีน 8 กรัม เป็นโปรตีน
ที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยกรดอะมิโนชนิดที่จําเป็นต่อ
ร่างกาย ได้แก่ ไลซีน (lysine) และลูซีน (leucine) ฯลฯ
- สําหรับเด็ก การดื่มนมวันละ 500 ซีซี (ประมาณ 2 แก้ว)
จะได้รับกรดอะมิโนที่จําเป็นแก่ร่างกายในปริมาณที่
เพียงพอ
- นมถั่วเหลือง มีคุณค่าทางสารอาหารใกล้เคียงนมวัว
หลายอย่าง แต่มีไขมันและแคลเซียมตํ่ากว่า แต่
สามารถทดแทนได้ด้วยงาและผักใบเขียว
- นอกจากมีสารอาหารประเภทโปรตีนแล้วยังมี
ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แคลเซียม สังกะสี
ไอโอดีนวิตามินเอ วิตามินบี๒, บี๓, บี๖ และบี๑๒
เนื้อวัว
- เนื้อวัวแต่ละชนิดมีคุณภาพต่างกัน
- เนื้อวัวพันธุ์พื้นเมืองของไทยจะมีไขมันแทรกน้อยมาก
- วัวขุนโพนยางคํามีปริมาณไขมันมากกว่า
- เนื้อวัวยังเป็นแหล่งอุดมธาตุเหล็กและวิตามินบี 12
- ช่วยป้ องกันโรคหัวใจและสมองเสื่อม
เนื้อหมู
-ส่วนที่ดีที่สุดของหมูคือ สันใน
-ส่วนที่มีไขมันมากที่สุด ได้แก่สามชั้น เนื้อซี่โครง
และคอ
-หมูที่ไม่ผ่านการใช้สารเร่งเนื้อแดง จะมีสัดส่วนของ
ชั้นไขมัน 2 ส่วนต่อชั้น เนื้อ 1 ส่วน
-วิตามินบี 1 วิตามินเอ ไนอาซิน
และฟอสฟอรัส
เนื้อไก่
-เป็นแหล่งโปรตีนที่มีคุณภาพเพราะมีแคลอรี่ตํ่า
-เนื้ออก เพราะมีโปรตีนสูงกว่าส่วนอื่นแต่ให้ไขมันตํ่า
-ส่วนที่มีไขมันมากและควรหลีกเลี่ยง คือ สะโพก
และปีก
-ส่วนคอ เพราะมีสารตกค้างและ
ยาปฏิชีวนะตกค้างอยู่
อาหารทะเล
-ปลาเป็นโปรตีนคุณภาพดีที่ย่อยง่าย มีไขมันตํ่า
-เป็นแหล่งที่ดีของกรดไขมันโอเมก้า- 3
-ช่วยลดการจับตัวของเกล็ดเลือด ลดความเสี่ยง
โรคหัวใจหลอดเลือด และช่วยบํารุงสมอง
อาหารทะเล
- กุ้ง หอย ปูและหมึก ต่างมีกรดไขมันโอเมก้าสูง
แต่ก็มีคอเลสเตอรอลสูงมาก
-อุดมไปด้วยวิตามินเอ บี และดี รวมทั้งแคลเซียม
ไอโอดีนและธาตุเหล็กด้วย
ไข่
- วิตามินที่พบในไข่ ได้แก่ วิตามินเอ ฟอสฟอรัส
แคลเซียม โปแตสเซียม
- ไขมันที่พบในไข่ ได้แก่ ไตรกลีเซอไรด์
ฟอสโฟไลปิด และโคเลสเตอรอลพบในไข่แดง
- ประกอบด้วยโปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน
ยกเว้นวิตามินซี
ถั่วเมล็ดแห้ง
- เป็นแหล่งของกรดไขมันไม่อิ่มตัว วิตามิน B1
B2
ไนอะซิน แคลเซียม ฟอสฟอรัส
- ถั่วเหลืองมีโปรตีนมากที่สุด แต่มีคุณภาพด้อยกว่า
เนื้อสัตว์
- เป็นโปรตีนจากพืช ได้แก่ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว
และถั่วลิสง
อาหารหมู่ที่ ๒
ให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
- อาหารจําพวกข้าว เช่น ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพด
ข้าวสาลี ข้าวฟ่ าง
- อาหารจําพวกแป้ ง เช่น แป้ งข้าวเจ้า แป้ งข้าวเหนียว
แป้ งสาลี แป้ งข้าวโพด แป้ งมันสําปะหลัง รวมทั้งขนมปัง
เส้นก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน
- อาหารจําพวกนํ้าตาล เช่น นํ้าตาลทราย นํ้าตาล
มะพร้าว นํ้าตาลอ้อย และขนมหวานต่าง ๆ
ปริมาณที่ร่างกายควรได้รับใน ๑ วัน
- ความต้องการของอาหารหมู่นี้ขึ้นอยู่กับการประกอบ
กิจกรรมของบุคคล วัย เพศ และขนาดของร่างกาย เช่น
ผู้ที่ต้องออกแรงมาก ผู้ที่ออกแรงน้อยก็ต้องการน้อย
หรือเด็กผู้ชายต้องการอาหารมากกว่าเด็กผู้หญิง
- ผู้ใหญ่อย่างน้อยควรได้รับร้อยละ ๕๐- ๗๐ ของพลังงาน
ที่ร่างกายต้องการ
- คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงานประมาณ 4 แคลอรี
ประโยชน์ของอาหารหลักหมู่ที่ ๒
- ให้พลังงานแก่ร่างกาย
- ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
- ช่วยสงวนโปรตีนให้ร่างกายนําไปใช้ในทางที่เป็น
ประโยชน์มากที่สุด
- พลังงานที่ได้จากหมู่นี้ส่วนใหญ่จะใช้ให้หมดไปวันต่อวัน
เช่น ใช้ในการวิ่ง เล่น เดิน ทํางาน การออกกําลังกายต่างๆ
- หากร่างกายได้รับคาร์โบไฮเดรตจากอาหารไม่เพียงพอ
ร่างกายจะแปรสภาพของโปรตีนเพื่อนํามาใช้เป็นพลังงาน
ทดแทนทันที
- หากรับประทานอาหารหมู่นี้มากจนเกินความต้องการ
ของร่างกาย คาร์โบไฮเดรตจะถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน
สะสมไว้ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทําให้เกิดโรคอ้วน
- ช่วยป้ องกันและทําลายพิษต่างๆ ร่วมกับตับแล้ว
ขับออกนอกร่างกาย
- หากขาดกลูโคสหรือออกซิเจนเพียงชั่วขณะหนึ่งสามารถ
ทําให้เซลล์สมองเสื่อม และไม่สามารถแก้ไขให้กลับ
สู่สภาพเดิมได้
ปริมาณที่แนะนําให้บริโภคต่อวัน
อาหาร เด็ก ผู้ใหญ่ หญิงมี
ครรภ์
หญิงให้นม
บุตร
ข้าวสุก 1-2
ถ้วย
3-6
ถ้วย
5-6 ถ้วย 6 ถ้วย หรือ
มากกว่า
- เส้นหมี่ทํามาจากแป้ งข้าวเจ้า
- ข้าวเจ้าและข้าวเหนียวมีคาร์โบไฮเดรตมากถึง
ร้อยละ ๗๐-๘๐ ในเยื่อหุ้มเมล็ดและจมูกข้าว
จะมีวิตามินบี ๑ และเหล็ก แต่มักจะหลุดออกไป
เมื่อนําข้าวไปขัดสี
เกร็ดความรู้
- วุ้นเส้น ทํามาจากแป้ งถั่วเขียว ซึ่งเป็นพืชที่มี
โปรตีนสูง แต่มีกรรมวิธีการผลิตทําให้โปรตีนที่มี
อยู่ทั้งหมดถูกชะละลายไปกับนํ้าทิ้ง ทําให้วุ้นเส้น
จัดเป็นอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง
- บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป ทําจากแป้ งสาลี
อาหารหมู่ที่ ๓
ผักสดชนิดต่างๆที่บริโภคเป็นประจํา มีทั้ง ชนิดใบ
ดอก ผล ต้น และหัว เป็นต้น เช่น ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง
ตําลึง แตงกวา มะเขือ บวบ ฟักเขียว ผักกาด ฯลฯ
สารอาหารที่ได้จากอาหารหมู่นี้ก็คือ พวกเกลือแร่
และแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม เหล็ก และวิตามิน เช่น
วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบีหนึ่ง วิตามินบีสอง ฯลฯ
ประโยชน์ของอาหารหมู่ที่ ๓
๑. เพิ่มปริมาณกากอาหาร ช่วยในการทํางานของ
ระบบขับถ่ายได้ดีขึ้น
๒. ช่วยให้ผิวพรรณสวยงามและไม่เป็นสิว
๓. ควบคุมการทํางานของร่างกายให้ปกติ บํารุง
สุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง
๔. บํารุงนัยน์ตา เหงือก และฟัน
๕. สร้างและบํารุงโลหิตและช่วยให้ร่างกายใช้
ประโยชน์จากอาหารอื่นได้เต็มที่
๖. ช่วยไม่ให้อ้วน
๗.ผักบางประเภทสามารถช่วยป้ องกันโรคมะเร็งได้
ปริมาณที่ควรรับประทานในแต่ละวัน
- ผู้ใหญ่ ผักใบเขียวและผักอื่นๆ ชนิดฝักหรือหัว
ประมาณ ๑ ถ้วยตวง หรือชนิดใบปรุงแล้วขนาด
๑ ถ้วยตวง
ปริมาณที่แนะนําให้บริโภคต่อวัน
อาหาร เด็ก ผู้ใหญ่ หญิงมี
ครรภ์
หญิงให้นม
บุตร
ผักใบเขียว
และอื่น
1-2
ถ้วย
ไม่น้อย
กว่า 1
ถ้วย
2 ½ - 3
ถ้วย
2 ถ้วย หรือ
มากกว่า
ความรู้เพิ่มเติม
๑. เห็ด เป็นผักที่ปราศจากไขมัน มีปริมาณนํ้าตาลและ
เกลือแร่ค่อนข้างตํ่าประโยชน์ของเห็ด
- ควบคุมการทํางานของอวัยวะต่างๆ เช่น สมอง ปอด
หัวใจ
- ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันในร่างกาย ลดอัตราความเสี่ยง
จากโรคมะเร็ง เบาหวาน อัลไซเมอร์ หลอดเลือด
หัวใจอุดตัน ความดันโลหิตสูง
- ดับร้อน แก้ชํ้าใน บํารุงร่างกาย ลดระดับนํ้าตาล
และโคเลสเตอรอลในเลือด
๒. กะหลํ่าปลี เป็นอาหารที่อุดมด้วยวิตามินซี
วิตามินเค วิตามินอี และวิตามินบี๒
และยังมีแคลอรี่ตํ่า
ประโยชน์
- กะหลํ่าปลีดิบช่วยรักษาโรคกระเพาะ
มีสารต้านมะเร็งยับยั้งการเติบโตของเนื้องอก
แต่ถ้ารับประทานมากเกินไปจะทําให้ท้องอืด
รวมทั้งยังไปยับยั้งการสร้างฮอร์โมนไทรรอยด์
ทําให้เป็นโรคคอพอก
๓. กะหลํ่าดอก บรอกโคลี อุดมไปด้วยวิตามินซี และ
สารอาหารอื่นๆ
- ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับ
ร่างกาย
- ใช้เป็นอาหารควบคุมนํ้าหนัก เพราะมีพลังงานตํ่า
- กํามะถันในกะหลํ่าดอกทําให้เกิดกลิ่นรุนแรง เวลา
ปรุงอาหารจะเสียรสชาติ
- ยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้องอก
- บํารุงและรักษาสายตา ป้ องกันการเกิดต้อกระจก
๔. ผักตําลึง มีเบตาแคโรทีน และวิตามินเอสูงมากเป็น
อันดับที่ ๔ รองจาก ใบยอ ใบแมงลัก ใบโหระพา
- วิตามินบี 1 บี 2 วิตามินซี ไนอะซิน เหล็ก
ฟอสฟอรัส แคลเซียม เส้นใย
- ตําลึง 100 กรัม ให้พลังงานถึง 35 กิโลแคลอรี
ประโยชน์
- บํารุงสายตา ป้ องกันโรคสายตาฟาง
- ลดอาการท้องอืดท้องเฟ้ อ
- เป็นยาเย็นดับพิษ
- ป้ องกันความเสื่อมของเซลล์ บํารุงผิวพรรณ
๕. ผักบุ้ง มี ๓ ชนิด คือ ผักบุ้งแม่นํ้า ผักบุ้งจีน
และผักบุ้งไทย
- ผักบุ้งให้วิตามินเอ แคลเซียม
และธาตุเหล็ก
ประโยชน์
- แก้โรคตาฟาง และตาบอดกลางคืน
- มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยในการชะลอวัย
ความแก่ชรา และชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัย
- ช่วยบํารุงธาตุ บํารุงโลหิต แก้อาการปวดศีรษะ
อ่อนเพลีย
๕. แครอท มีเบต้าแคโรทีนช่วยต่อต้าน
อนุมูลอิสระยับยั้งเซลล์มะเร็ง
- ลดความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งในปอด
- ช่วยให้ตับขับสารพิษออกจากร่างกายได้ดี
- ลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกาย
- รักษาโรคความดันโลหิตสูง
- รักษาระดับนํ้าตาลในเลือด
- ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคหัวใจและภาวะ
หัวใจล้มเหลว
- ลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤษ์
อัมพาต
๖. กระชายเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง มีกลิ่นและ
รสเฉพาะ
- คาร์โบไฮเดรท เส้นใย โปรตีน ฟอสฟอรัส เหล็ก
วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2
สารฟลาโวนอยด์ และแคลเซียมสูง
- ปรับระดับฮอร์โมนในร่างกาย
- ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
ในลําไส้ช่วย ขับลม
- แก้ท้องอืดเฟ้ อ แก้ลมจุกเสียด แก้โรคกระเพาะ
รักษาแผลในปาก
การรับประทานผักให้ปลอดภัยและได้ประโยชน์
- เลือกผักที่ปลอดสารพิษ
- ล้างผักให้สะอาด ไม่ควรปอกหรือหั่นก่อนล้าง
การรับประทานผักให้ปลอดภัยและได้ประโยชน์
- ความร้อนที่ใช้ในการหุงต้มผัก คือ นํ้าน้อย
ไฟแรง ปิดฝา เวลาสั้น
- รับประทานผักตามฤดูกาล
- รับประทานผักให้ได้วันละ ๔-๕ ทัพพี
- รับประทานผักสด
อาหารหมู่ที่ ๔
- อาหารประเภทผลไม้ทุกชนิด เช่น ส้ม มะละกอ
มังคุด ลําไย สับปะรด กล้วย มะม่วง ฯลฯ
- สารอาหาร ได้แก่ ใยอาหาร เกลือแร่ วิตามินต่างๆ
และนํ้า แต่มีคาร์โบไฮเดรตสูงกว่าผัก
อาหารหมู่ที่ ๔
- วิตามินเอมีอยู่ในผลไม้สีเหลืองและสีแสด เช่น
มะละกอสุก มะม่วงสุก
- ผลไม้เกือบทุกชนิดจะให้วิตามินซี
ประโยชน์ต่อร่างกาย
- ควบคุมการทํางานของอวัยวะต่างๆ
ในร่างกายให้ปกติ
- บํารุงสุขภาพของผิวหนัง นัยน์ตา เหงือก และฟัน
- บํารุงสุขภาพ ป้ องกันโรคต่างๆ
- ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต
- ช่วยให้ระบบขับถ่ายดี
ความรู้เพิ่มเติม
๑. มะละกอ วิตามินเอ วิตามินซี แคลเซียม เหล็ก
และเส้นใยอาหาร
- ช่วยในการขับถ่าย และการย่อยอาหาร
มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ
- ชะลอวัย ลดเลือนและป้ องกันการเกิดริ้วรอย
- บํารุงประสาทและสมอง
- ร้อยละ 92 ของพลังงานจากมะละกอสุก
มาจากคาร์โบไฮเดรตผู้ที่ควบคุมอาหาร
แป้ งและนํ้าตาลจึงไม่ควรกินมะละกอ
มากเกินไป
๒. ฝรั่ง เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงที่สุด และ
มีวิตามินเอ
- ฟอสฟอรัสและทองแดง ที่ช่วยบํารุงระบบ
ประสาทและสมอง
- ฝรั่งหนัก 165 กรัม จะให้วิตามินซี
377 มิลลิกรัม
- มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระและช่วยในการชะลอวัย
- ลดไขมันในเส้นเลือด ความดันโลหิตสูง
และโรคเบาหวาน
- ช่วยเรื่องระบบขับถ่าย
- เสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับร่างกาย บํารุง
ผิวพรรณให้เปล่งปลั่ง
๒. กล้วย
- ใช้ป้ องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร
- ช่วยขับถ่ายระบายท้อง
- มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา
- บํารุงร่างกาย บํารุงกําลัง รักษาแผลใน
กระเพาะอาหาร
- กล้วยนํ้าว้ามีวิตามินซี แคลเซียมสูงมาก กิน
วันละ 4 ลูก จะได้แคลเซียมพอดี
- ควรซื้อกล้วยที่มีสีเขียว และควรเลือกหวีที่
อยู่กลางเครือ
๔. องุ่น
- องุ่นดําเป็นผลไม้ที่มีไฟเบอร์สูงช่วยใน
เรื่องการเผาผลาญไขมันได้ดี และมี
ใยอาหารสูง
- องุ่นเขียว มีวิตามิน A, C, B1, B2 และมี
สารแอนตี้ออกซิแดนท์ลดภาวะเสี่ยงจาก
โรคมะเร็ง
- องุ่นแดง อุดมไปด้วยวิตามิน A, B1, B2
เกลือแร่ เหล็ก นํ้าตาลฟรุกโตส กาแลกโตส
ซูโครส และสารอาหารป้ องกันโรคและช่วย
เสริมสร้างความงามให้กับผิวพรรณ
- เป็นตัวช่วยในการนําเอาคาร์โบไฮเดรตโปรตีน
และไขมันให้เป็นพลังงาน
ความสําคัญของวิตามิน
- ช่วยเพิ่มระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้เป็นปกติ
- เป็นสารสําคัญที่ร่างกายต้องการน้อยแต่ขาดไม่ได้
- ช่วยสนับสนุนการเจริญเติบโตและการพัฒนาการ
ความสําคัญของแร่ธาตุ
- มีบทบาทสําคัญในการทํางานของสมอง การผลัด
เซลล์ การสร้างเลือด ความชุ่มชื้น การเผาผลาญไขมัน
- มีบทบาทสําคัญในเรื่องของการเจริญเติบโต
- มีบทบาทสําคัญในเรื่องการพัฒนากระบวนการทาง
ชีวภาพของกระดูกฟันกล้ามเนื้อหัวใจ
การบริโภคผลไม้ให้ปลอดภัย
๑. ล้างผ่านนํ้าก๊อกหลายๆครั้งและแช่ต่อในนํ้าสะอาด
๑๕ นาที
๒. แช่นํ้ายาล้างผัก นาน ๑๐ นาที แล้วล้างต่อด้วย
นํ้าสะอาด
๓. แช่นํ้าซาวข้าวนาน ๑๐ นาที แล้วล้างต่อด้วย
นํ้าสะอาด
๔. แช่นํ้าเกลือ (เกลือป่ น ๑ ชต. : นํ้า ๔ ลิตร)
นาน ๑๕ นาที แล้วล้างต่อด้วยนํ้าสะอาด
๕. แช่โซเดียมไบคาร์บอเน็ต (ผงฟู ๑ ชต. :
นํ้า ๒๐ ลิตร) นาน ๑๕ นาที แล้วล้างต่อด้วย
นํ้าสะอาด
๖. แช่นํ้าส้มสายชู(นํ้าส้มสายชู ๑ ชต. : นํ้า ๔ ลิตร)
นาน ๑๕ นาที แล้วล้างต่อด้วยนํ้าสะอาด
อาหารหมู่ที่ ๕
- ไขมันจากสัตว์และไขมันจากพืช
: ไขมันจากสัตว์ ได้แก่ มันหมู มันวัว
มันปลา และเนย
: ไขมันจากพืช ได้แก่ นํ้ามันมะพร้าว กะทิ
นํ้ามันงา นํ้ามันถั่วเหลือง นํ้ามันรําข้าว
และนํ้ามันปาล์ม ฯลฯ
- ไขมันในปริมาณ 1 กรัม จะให้พลังงาน 9
กิโลแคลอรี
-ไขมันพบได้ทั้งในพืชและสัตว์ เช่น ถั่ว งา
มันหมู มันวัวฯลฯ
-ไขมันสัตว์จะมีโคเลสเตอรอลสูง
-นํ้ามันพืชที่ควรเลือกซื้อ เช่น นํ้ามันถั่วเหลือง
นํ้ามันรําข้าว
-ให้กรดไขมันที่จําเป็นแก่ร่างกาย
คือ กรดไลโนเลอิค
ประเภทของกรดไขมัน
๑. กรดไขมันไม่จําเป็น กรดไขมันที่ร่างกายได้รับ
จากการรับประทานอาหาร และร่างกายสามารถ
สังเคราะห์ได้เอง
๒. กรดไขมันจําเป็น ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์
เองได้ ได้แก่ กรดไลโนเลอิก กรดไลโนเลนิก
และกรดอะแรคิโดนิก
ประโยชน์ของไขมัน
- ช่วยให้ร่างกายดูดซึมวิตามิน A D E K
ได้ง่าย
- ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย
- ช่วยเพิ่มรสชาติอาหาร
- นํ้ามันหรือไขมัน 1 ช้อนโต๊ะให้พลังงานเท่ากับ
ข้าวครึ่งจาน
- ถั่วลิสงแห้งจะมีไขมันสูงมาก
- เนื้อสัตว์แทบทุกชนิดมีไขมันแทรกอยู่
ปริมาณที่แนะนําให้บริโภคต่อวัน
อาหาร เด็ก ผู้ใหญ่ หญิงมี
ครรภ์
หญิงให้นม
บุตร
ไขมันหรือ
นํ้ามัน
2 1/2-
3
ช้อนโต๊ะ
2 1/2-
3
ช้อนโต๊ะ
2 1/2-3
ช้อนโต๊ะ
2 1/2-3
ช้อนโต๊ะ
ทําไมต้องรับประทาน
อาหารให้ครบ ๕ หมู่
- ได้รับสารอาหารต่างๆ ครบ ในปริมาณที่
เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ประโยชน์ของการรับประทานอาหารครบ 5 หมู่
- การรับประทานอาหารเพียงประเภทใด
ประเภทหนึ่ง จะทําให้ร่างกายขาดสารอาหาร
บางประเภท หรือได้รับสารอาหารประเภทใด
ประเภทหนึ่งมากเกินไป
“กินข้าวเป็นหลักสลับอาหารประเภทแป้ ง
เป็นบางมื้อ”
“กินผักให้มาก”
“กินผลไม้เป็นประจํา”
“กินเนื้อปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่และถั่วเมล็ดแห้ง”
“ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย”
“กินอาหารที่มีแต่ไขมันพอสมควร”
“หลีกเลี่ยงอาหารหวานจัดและเค็มจัด”
“กินอาหารที่ปราศจากสิ่งปนเปื้ อน”
“งดเครื่องดื่มแอลกอฮอร์”
ตารางแสดงสารอาหารในอาหารหลัก ๕ หมู่
อาหารหลัก สารอาหารที่มีมาก
หมู่ที่๑ เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว - โปรตีน
หมู่ที่๒ แป้ ง นํ้าตาล เผือก มัน - คาร์โบไฮเดรต
หมู่ที่๓ ผัก - วิตามัน แร่ธาตุ
หมู่ที่๔ ผลไม้ - วิตามัน แร่ธาตุ
หมู่ที่๕ ไขมัน - ไขมัน
ตารางแสดงสารอาหารและประโยชน์ของสารอาหาร
ประโยชน์สารอาหาร โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุ วิตามิน นํ้า
ให้พลังงาน √ √ √
ทําให้ร่างกาย
เจริญเติบโตมีสุขภาพดี
√ √ √ √ √ √
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ √
ควบคุมการทํางานของ
ร่างกายให้เป็นปกติ
√ √ √ √ √ √
นํ้าเป็นสารอาหารที่มีความสําคัญมาก
ร่างกายต้องการนํ้าในกระบวนการต่างๆ
ที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิต เช่น การย่อย
อาหาร การขับถ่ายของเสีย
ร่างกายได้รับนํ้าจากทาง
ใดบ้าง
ข้าวผัดกุ้งมีสารอาหารครบทุกหมู่
หรือไม่
ส่วนประกอบข้าวผัดกุ้ง สารอาหาร
- ข้าว หมู่ที่๒ คาร์โบไฮเดรต
- กุ้ง ไข่ไก่ หมู่ที่๑ โปรตีน
- มะเขือเทศ ผักชี หมู่ที่๓ วิตามิน
-ต้นหอม มะนาว
- นํ้ามันพืช หมู่ที่๕ ไขมัน
- แตงกวา หมู่ที่๓ วิตามิน

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 

What's hot (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 

Similar to บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยยguest3494f08
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารWilailak Luck
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักIntaruechai Intaruechai
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน4LIFEYES
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 

Similar to บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่ (20)

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ลุยยยย
ลุยยยยลุยยยย
ลุยยยย
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 

บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่