SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
เทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
(การออกแบบและเทคโนโลยี)
เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นและ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
วัฏจักรของเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม กับเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหา ของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวชี้วัด
• วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน (ว 4.1 ม.3/1)
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความรู้เกี่ยวกับ
วิชาคณิตศาสตร์
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่างๆ และการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความรู้เกี่ยวกับ
วิชาวิทยาศาสตร์
ความรู้
อื่น ๆ
เทคโนโลยี
ความรู้เกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับ
เศรษฐศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับ
เกษตรศาสตร์
ช่วยในการแก้ปัญหา
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
เพิ่มประสิทธิภาพในงาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวอย่างการแก้ปัญหาและการประยุกต์เทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ มาบูรณาการร่วมกัน
เตาชีวมวล
แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย กะลามะพร้าว กิ่งไม้
ใช้ทดแทน
เตาอั่งโล่
วัสดุเหลือใช้เหล่านี้เรียกว่า ชีวมวล (Biomass)
ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเกษตรมาเป็นเชื้อเพลิง
เตาชีวมวล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล สามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้
ปัจจัย เหตุ - ผล
1. ความต้องการ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย
ก่อให้เกิดปัญหาขยะ การแก้ปัญหาขยะเหล่านี้ด้วยวิธีการเผา ก่อให้เกิด
มลพิษทางอากาศ และปัญหาฝุ่นและควัน
การเผาวัสดุเหลือใช้
ทางการเกษตร
ทาให้เกิดปัญหาฝุ่นและควัน
วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอัดเม็ด
เป็นเชื้อเพลิงชีวมวล ใช้หุงต้มในครัวเรือน
เตาชีวมวลจึงเป็นเทคโนโลยีที่ถูกคิดขึ้นมาเพื่อนาวัสดุเหลือใช้
ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์และช่วยลดปัญหาการเกิดมลพิษ
ทางอากาศ และปัญหาฝุ่น ควันที่เกิดขึ้น
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ความก้าวหน้า
ของศาสตร์ต่าง ๆ
เตาชีวมวลได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัยความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ
เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น
• วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่อง
การเผาไหม้เชื้อเพลิง โดยจากัดอากาศ
ให้เหมาะสมต่อการเผาไหม้ (Gasification)
เป็นการเปลี่ยนเชื้อเพลิงในชีวมวล
ให้กลายเป็นแก๊สที่สามารถเผาไหม้ได้
การเผาไหม้แบบ
Gasification
• คณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
ช่วยในการออกแบบ ขนาด รูปร่าง
และปริมาตรของเตา ตาแหน่ง และจานวนรู
ที่เจาะ การออกแบบรูปร่างของเตาชีวมวล
ที่ดีจะช่วยในการจากัดอากาศ ให้เหมาะสม
ต่อการเผาไหม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การออกแบบ
รูปร่างของ
เตาชีวมวล
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. เศรษฐกิจ ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบของเตาชีวมวล
อย่างหลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
เตาชีวมวลหลากหลายรูปแบบ
4. มนุษย์สังคม
และสิ่งแวดล้อม
มนุษย์เริ่มตระหนักถึงปัญหาพลังงานที่ลดน้อยลง ชีวมวล จึงเป็นพลังงาน
ทดแทนทางเลือกหนึ่งที่ถูกนามาใช้เพื่อทดแทนปัญหาพลังงาน แก้ไขปัญหาขยะ
เหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่งผล
ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและปัญหา
ฝุ่นและควันจากการเผาไหม้ที่เป็นปัญหา
ทั้งต่อมนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม
ปัญหาขยะเหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สรุปการเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล
การกาจัดขยะทางภาคเกษตรกรรม
ด้วยวิธีการเผา
ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ
ปัญหาฝุ่นและควัน
เทคโนโลยีเตาชีวมวล
ใช้เชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
• แก้ไขปัญหาขยะทางการเกษตร
• ลดมลภาวะทางอากาศ
• เป็นพลังงานทดแทนทางเลือก
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
กังหันน้าบาบัดน้าเสีย
กังหันน้าบาบัดน้าเสีย
เป็นเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้า สามารถปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้นได้เหมาะสาหรับนาไปติดตั้ง
เพื่อบาบัดน้าเสียในสถานที่ต่าง ๆ เช่น แม่น้าลาคลอง โรงงานอุตสาหกรรม บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
มอเตอร์หมุนใบพัด ใบพัดตีน้า/ ใบพัดวิดน้าขึ้นไปด้านบน ช่วยเติมอากาศให้กับน้า
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การเกิดเทคโนโลยีกังหันน้า บาบัดน้าเสียสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้
ปัจจัย เหตุ - ผล
1. ความต้องการ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
การขาดจิตสานึกของประชาชน ในการทิ้งขยะลงแม่น้าลาคลอง
การปล่อยน้าเสียจากภาคครัวเรือน ภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม
ลงสู่แม่น้าลาคลอง เป็นสาเหตุให้เกิดน้าเน่าเสีย เกิดปัญหามลพิษทางน้า
ปัญหาน้าเน่าเสีย บาบัดน้าเสีย
ในบ่อปลา
บาบัดน้าเสีย
ตามคูคลอง
บาบัดน้าเสีย
แหล่งน้าสาธารณะ
เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ จึงเกิดแนวคิดการบาบัดน้า โดย
กังหันน้าบาบัดน้าเสีย เป็นแนวคิดหนึ่งที่ทาได้ง่าย สะดวก ช่วยบาบัดน้าเสีย
ตามคูคลอง แหล่งน้าสาธารณะ บ่อบาบัดน้าของโรงงานอุตสาหกรรม
บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ความก้าวหน้า
ของศาสตร์ต่าง ๆ
กังหันน้าบาบัดน้าเสียได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัย ความรู้
จากศาสตร์ต่าง ๆ เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น
• วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่องการเพิ่มออกซิเจนให้กับน้า เพื่อช่วยลด
ความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า
• คณิตศาสตร์ ใช้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง ความยาว และ
ความลึกของกังหัน เพื่อคานวณหาพื้นที่สัมผัสระหว่างน้ากับอากาศที่เหมาะสม
• วิศวกรรมศาสตร์ ใช้ในการออกแบบโครงสร้าง ระบบกลไก ระบบไฟฟ้า
และการเลือกใช้วัสดุต่าง ๆ
การออกแบบโครงสร้างกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบ
ของกังหันน้าบาบัดน้าเสียที่หลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
กังหันน้าบาบัดน้าเสียหลากหลายรูปแบบ
3. เศรษฐกิจ
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มลพิษทางน้าที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์เองเช่น หากสัมผัสน้า
เน่าเสียอาจทาให้เกิดอาการคัน มีผื่นขึ้นตามร่างกาย น้าส่งกลิ่นเหม็น และภาพ
ขยะในน้าส่งผลต่อสุขภาพจิตใจของตนเอง ชุมชน และสังคม หากมีน้าเน่าเสีย
ตามแหล่งน้าขนาดใหญ่จะส่งผลถึงการท่องเที่ยว และภาพลักษณ์ของประเทศ
อีกทั้งยังทาให้สัตว์น้าต่าง ๆ ลดน้อยลงด้วย
ผลกระทบของน้าเน่าเสีย
4. มนุษย์สังคม
และสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สรุปการเกิดเทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
การทิ้งขยะ
ลงแหล่งน้า
น้าเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น
เกิดมลภาวะทางน้า
เทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
• เพิ่มออกซิเจนให้กับน้า
• ลดความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า
• ปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น
การปล่อยน้าเสียจากครัวเรือน/
โรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้า
วัฏจักรของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
กราฟแสดงวัฏจักรของเทคโนโลยี
R&D (Researchand Development)
คิดค้น วิจัย พัฒนา สร้างเทคโนโลยี
ใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองการแก้ปัญหา
หรือความต้องการกลุ่มตลาด สังคม
A (Ascending) เป็นช่วงขาขึ้นของ
ผลตอบแทนหรือกาไร คือ มีการจาหน่าย
ผลิตออกสู่ตลาด
M (Maturity) คือ การเจริญเติบโต
เต็มที่ของการผลิตและจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยี
D (Decline) ซึ่งเป็นช่วงขาลงเสื่อมถอย
ผลิตภัณฑ์ไม่เป็นที่นิยมอีกต่อไป
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บริษัทโกดัก ผู้เริ่มต้นด้วยการผลิตกล้องถ่ายภาพชนิดฟิล์ม และเปลี่ยนทิศทางมาผลิตฟิล์ม ภาพนิ่ง
ฟิล์มสไลด์ ฟิล์ม X-Ray ฟิล์มถ่ายภาพยนตร์ บริษัทนี้มีความเป็นมาที่น่าสนใจ และเป็นการศึกษาวงจรชีวิต
ของเทคโนโลยีที่ไม่มีใครคาดคิดว่าจะเสื่อมถอยและหมดความนิยมอย่างรวดเร็ว โดยเริ่มจาก
ตัวอย่างที่ 1 วัฏจักรของเทคโนโลยี
ค.ศ.
1878 คิดค้นวิธีล้างฟิล์มแบบรวดเร็ว
1888
ผลิตกล้องขนาดกล่อง กดชัตเตอร์
เพียงปุ่มเดียว ใช้งานง่ายเป็นเครื่อง
แรกของโลก
1902 ผลิตเครื่องล้างฟิล์มเครื่องแรกของโลก
1921เปิดตัวฟิล์ม X-Ray
เปิดตัวฟิล์มถ่ายภาพยนตร์
ที่สามารถบันทึกเสียงในฟิล์มได้
1935
ยอดขายมากกว่า 4 พันล้านเหรียญ
สหรัฐ และมีพนักงานมากกว่า
100,000 คน
1963
เปิดตัวกล้องที่ใส่ฟิล์มกลัก และมีแฟลช
ที่ไม่ต้องเปลี่ยนหลอด (Instant Camera)
1966
เปิดตัวฟิล์มสาหรับมือสมัครเล่น
1973
1981
เปิดสาขาทั่วโลก พนักงานมากกว่า
120,000 คน
ยอดขายมากกว่า
10 พันล้านเหรียญสหรัฐ
1929
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
พนักงานมากที่สุด 145,300 คน
(ภายหลังจากนี้ 20 ปี ลดพนักงานกว่า
125,000 คน) ยุคดิจิทัลเริ่มเข้ามามี
บทบาทในโลก
1997
ระดมทุน ขาดสิทธิบัตรที่คิดค้น
เนื่องจากภาวะขาดทุน ปรับตัว
ตามกระแสวงการสื่อดิจิทัลไม่ทัน
2008
ระดมทุนเนื่องจากภาวะขาดทุน
ปรับตัวตามกระแสวงการสื่อดิจิทัลไม่ทัน
2008
เปิดตัวกล้องดิจิทัลตัวแรก
ของโกดัก (Kodak DC20)
2012
บริษัทปรับโครงสร้างองค์กรใหม่
และมกราคม ปี 2012 ถูกฟ้องล้มละลาย
1988
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปัจจัยที่มีผลต่อการวิจัยและพัฒนา ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม ดังนี้
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ข้อ 3 ความรู้และทักษะทางเทคนิค (Technical) มี 13 เหตุปัจจัยของความไม่แน่นอน
ที่มาเกี่ยวข้องกับการคิดค้น การพัฒนาต้นแบบ และการผลิต ซึ่งจะทาให้อนาคตของ
เทคโนโลยีมีโอกาส ทางพาณิชย์มากหรือน้อย ได้แก่
1) เทคโนโลยีถูกสร้างขึ้นมาหรือไม่ (not invented yet)
2) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่เพียงพอ (science insufficient)
3) ความพยายามไม่มากพอ (effort insufficient)
4) สมรรถนะหลักของความสามารถของบุคลากรไม่ตรง ไม่เหมาะสม
(core competency mismatch)
5) ทักษะและความสามารถของบุคลากรไม่ตรง ไม่เหมาะสม (skill mismatch)
6) ความสัมพันธ์กับลูกค้าไม่เพียงพอ (customer interface insufficient)
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7) ความสามารถของสินค้าที่ผลิตไม่ตรงตามความต้องการ
(product feature mismatch)
8) การวางแผนด้านเทคนิคไม่ดีพอ (technical planning insufficient)
9) การบริการหลังการขายไม่ดีพอ (technical support insufficient)
10) กาลังการผลิตไม่ดีพอ (manufacturing capability insufficient)
11) สภาพทางการเงินไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง (financially unfeasible)
12) สภาพทางเศรษฐกิจไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง (economically unfeasible)
13) ไม่ถูกจังหวะและเวลา (timing inappropriate)
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ทฤษฎีความต้องการตามลาดับขั้นของมาสโลว์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการทางกายภาพ
เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
เพื่อความอยู่รอด
การดารงอยู่
และการสืบพันธุ์
อาหารและน้า
การพักผ่อนและ
การนอนหลับ
เครื่องนุ่งห่ม
สิ่งป้องกันจาก
สภาพอากาศ
ที่อยู่อาศัย
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ความปลอดภัย
ส่วนบุคคล
ความมั่นคงปลอดภัย
ทางทรัพย์สินหรือ
สิ่งของส่วนบุคคล
ความมั่นคงปลอดภัย
ทางสุขภาพและ
ความเป็นอยู่
ความมั่นคงปลอดภัย
ด้านการช่วยเหลือ
กรณีอุบัติเหตุ เจ็บป่วย
เมื่อความต้องการพื้นฐานอยู่ในระดับเพียงพอแล้ว ความต้องการด้านความมั่นคงและปลอดภัยจะมี
อิทธิพลต่อมนุษย์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
ความเป็นเพื่อนฝูง
หรือมิตรภาพ
ความใกล้ชิด สนิทสนม
และความรัก
ความเป็นครอบครัว
เมื่อความต้องการพื้นฐานและความมั่นคงปลอดภัย อยู่ในระดับเพียงพอแล้ว ต่อมาคือความ
ต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการความเคารพนับถือ
การทาประโยชน์เพื่อให้
รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
การแสวงหาสถานะ
การยอมรับ ความมีชื่อเสียง
ต้องการความแข็งแกร่ง
ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ
ความมั่นใจในตนเอง
และความมีอิสระ
มนุษย์ทุกคนต้องการเป็นที่ยอมรับ เคารพนับถือ ได้รับเกียรติ แสดงถึงการยอมรับและ
เห็นคุณค่าโดยคนอื่น โดยจะเป็นการกระทาในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการความ
สมบูรณ์ของชีวิต
การเลือกคู่ครอง
การเป็นผู้ปกครอง การเป็นหัวหน้า หรือเป็นผู้นา
การปรับใช้ความรู้และความสามารถที่มี
เมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการจากระดับต่าง ๆ ในข้างต้นอย่างดีแล้ว“อะไรที่บุคคล
เป็นได้เขาต้องเป็น” คือศักยภาพสูงสุดที่ตระหนักได้
การทาให้บรรลุเป้าหมาย
การแสวงหาความสุข
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการของมนุษย์ในทุกระดับ
เกิดประเด็นคาถามต่าง ๆ
เกิดการแสวงหาคาตอบ/
แนวทางแก้ไข
การทดลอง
การบันทึก
การหาเหตุผล
การต่อยอดความคิด
การปรับปรุงให้ดีขึ้น
เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ผลลัพธ์ที่สนอง
ความต้องการได้
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลง : ภาชนะใส่อาหารและน้า
เครื่องจักสาน การปั้นดินขึ้นรูปเป็นภาชนะ เครื่องปั้นดินเผา
เครื่องปั้นดินเผา
และเคลือบ
กะลามะพร้าว
ชามโลหะ
(สแตนเลส)
ชามพลาสติก
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลของการเปลี่ยนแปลง : ภาชนะใส่อาหารและน้า
• มีการแบ่งปันหรือแลกเปลี่ยนสินค้ากัน จากครัวเรือนสู่ชุมชน สังคม
และสู่การข้ามดินแดน
• เกิดการแลกเปลี่ยนจนกลายเป็นการค้า
• ทาให้สังคมมีภาชนะที่ใช้ในการใส่อาหารดีขึ้น สะอาดขึ้น สามารถชาระล้าง
เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้
• ทาให้เกิดการประยุกต์ศาสตร์ต่าง ๆ มาพัฒนาผลผลิตด้านการผลิตภาชนะ
ในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น เช่น ปิ่นโต หม้อหุงข้าว
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลง : เครื่องนุ่งห่ม
นาผลผลิตของพืชพันธุ์
มาแปรรูปโดยทอเป็นผ้า
ใช้หนังสัตว์มาห่อหุ้มร่างกาย
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผลของการเปลี่ยนแปลง : เครื่องนุ่งห่ม
• มีเครื่องนุ่งห่มที่หลากหลาย ทาให้สังคมมีทางเลือกมากขึ้น
• เกิดการจัดประเภทของเครื่องแต่งกาย เช่น เครื่องแบบทางาน เครื่องแบบทหาร
หรือตารวจ เครื่องแบบนักเรียน เพื่อเกิดการแยกแยะกลุ่มคนที่ต่างภาระหน้าที่
ให้ชัดเจนในสังคม
• เครื่องแต่งกายประจาท้องถิ่นแสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยีสิ่งทอหรือภูมิปัญญา
ของคนในท้องถิ่น และชุมชนนั้น ๆ ถือเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติที่ควร
บารุงรักษาและถ่ายทอดสืบต่อไป
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมกับเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สภาวะของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
ที่เปลี่ยนแปลงไป
ส่งผลต่อปัจจัยความต้องการ ความนิยม ความจาเป็นที่จะใช้
เทคโนโลยีที่มีอยู่หรือเทคโนโลยีใหม่
ข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรมจึงจาเป็นที่จะต้องนามาเป็น
พื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีให้เหมาะสม
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ค่านิยมในสังคม หมายถึง สิ่งที่คนในสังคมเดียวกันมองเห็นว่ามีคุณค่า เป็นที่ยอมรับ
หรือเป็นที่ปรารถนาของคนทั่วไป โดยมีลักษณะ ดังนี้
ค่านิยม
ในสังคม
มีทั้งค่านิยมที่ดี
และค่านิยมที่ไม่ดี
สามารถปลูกฝัง
หรือถ่ายทอดได้
สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้หากบุคคล
ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์เพิ่มขึ้น
เป็นมาตรฐานอย่างหนึ่งในการประเมิน
พฤติกรรมของบุคคล
• ค่านิยมจะช่วยให้คนในสังคมมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน ทาให้มีความเชื่อ
ในเรื่องเดียวกัน ดังนั้น ค่านิยมของสังคมจึงจัดว่าเป็นกระบวนการ
ที่เกิดขึ้นเพื่อสร้างความสงบเรียบร้อยให้แก่สังคม
• ค่านิยมมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ และอุปนิสัยของคนส่วนมาก
เพราะบุคคลในสังคมย่อมได้รับอิทธิพลจากค่านิยมของสังคม
• ค่านิยมเป็นสิ่งที่ควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม
• ค่านิยมเป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความสาคัญของค่านิยมในสังคม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การพัฒนา
เทคโนโลยี
ศึกษาค่านิยม วัฒนธรรมและศาสนา
ระบอบการเมือง
การปกครอง
เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีให้
สอดคล้องกับพฤติกรรม
ของคนในสังคมหรือชุมชน
ควรตระหนักถึงผลกระทบ
ว่าจะทาให้วัฒนธรรมที่เคย
ดารงอยู่เปลี่ยนแปลงไปใน
ทิศทางใด
ใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศเป็นเครื่องมือใน
การรายงานการตรวจสอบ การเฝ้าระวัง และ
การคาดการณ์ รวมทั้งการสั่งการอย่างทั่วถึง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วมีผลกระทบต่อ
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในประเด็น ดังนี้
• ประชาชนมีสวัสดิภาพที่ดี มีความสะดวกสบายมากขึ้น จึงมีผลต่อการดาเนินนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ
• เทคโนโลยีใหม่ยังมีส่วนช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพิ่มความปลอดภัย และลดความสิ้นเปลือง
• เทคโนโลยีที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคในหลายด้าน และมีทางเลือกในการบริโภคมากขึ้น
• สาหรับหน่วยงานธุรกิจนอกจากสามารถผลิตสินค้าและบริการใหม่ออกมาจานวนมากยังได้ประโยชน์
จากเทคโนโลยีหลายด้าน เช่น มีวัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ที่มีคุณภาพดี
• ธุรกิจที่มีขนาดเล็กสามารถแข่งขันกับธุรกิจขนาดใหญ่ได้มากขึ้น การเกิดขึ้นของธุรกิจออนไลน์ทาให้
ธุรกิจขนาดเล็กมีข้อเสียเปรียบทางด้านต้นทุนน้อยลงไปมาก
• การดาเนินงานของภาคเศรษฐกิจ การพัฒนาสิ่งสาธารณูปโภค การศึกษา การสาธารณสุข การได้มาซึ่ง
ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินนโยบาย การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานราชการ
ในภาครัฐ และระหว่างรัฐบาลกับประชาชน ล้วนสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่มีการพัฒนา
ขึ้นมาใหม่ได้
แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน  หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เฉลย  เพราะความต้องการของมนุษย์ไม่มีที่สิ้นสุด จึงทาให้
เกิดความต้องการในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้ดียิ่งขึ้น
นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีรอบ ๆ ตัว เช่น
การทาการเกษตรแบบดั้งเดิมเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรช่วยในการทางาน
1. การที่มีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเนื่องมาจากสาเหตุใด
ความเจริญของสังคมโดยรอบ1
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์2
ความรู้และความสามารถของมนุษย์เพิ่มขึ้น3
ขาดแคลนอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก4
2
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. เทคโนโลยีที่ดีควรมีคุณลักษณะอย่างไร
ทันสมัย1
ราคาถูก2
นามาใช้งานได้ทุกสถานการณ์3
แก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการได้44
เฉลย  เพราะเทคโนโลยีที่ดีควรที่จะสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ
ที่มีอยู่ได้จริงทาให้เกิดความสะดวกสบายและตอบสนอง
ความต้องการของมนุษย์ได้
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. เหตุใดการพัฒนาเทคโนโลยีต้องใช้ความรู้จากศาสตร์อื่น ๆ
ช่วยในการพัฒนา
เพื่อให้เทคโนโลยีสามารถใช้ได้จริง1
เพื่อให้เทคโนโลยีสามารถใช้งานได้ง่าย2
เพื่อเป็นเหตุผลในการแก้ปัญหาให้ถูกวิธี3
เพื่อให้ออกแบบได้เหมาะสมกับการใช้งาน4
3
เฉลย  เพราะเป็นเหตุผลในการแก้ปัญหาให้ถูกวิธี
เช่น ใช้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในการอธิบาย
ความสัมพันธ์ของสื่อต่างๆ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. นักเรียนพบว่าช่วงฤดูฝนนั้นทาให้ผ้าที่ตากไว้แห้งช้าและอับชื้น
นักเรียนสามารถนาเทคโนโลยีมาแก้ปัญหาในสถานการณ์นี้ได้อย่างไร
จึงจะเหมาะสมที่สุด
ซื้อเครื่องอบผ้า1
ใช้น้ายาซักผ้าที่ป้องกันกลิ่นอับชื้น2
พัฒนาระบบหลังคากันฝนอัตโนมัติเมื่อมีฝนตก3
ศึกษาข้อมูลพยากรณ์อากาศก่อนการซักและตากผ้า44
เฉลย  เพราะเป็นการแก้ปัญหาที่เหมาะสมที่สุด
โดยนักเรียนสามารถทาได้จริงอีกทั้งการพยากรณ์อากาศในปัจจุบัน
มีความแม่นยาและสามารถตรวจสอบได้จากสมาร์ตโฟน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
5. ข้อใดเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ปัจจัยสี่1
ความเป็นครอบครัว2
การมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ3
การเป็นผู้ปกครอง หัวหน้าหรือผู้นา4
1
เฉลย  เพราะปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโรค เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง
สังคม1
วัฒนธรรม2
ความเรียบง่าย3
ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์4
3
เฉลย  เพราะความเรียบง่ายไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีไม่ถูกต้อง
ควาย : รถไถนา1
รถม้า : รถยนต์2
เรือพาย : เรือยนต์3
เกวียน : รถบรรทุกของ4
3
เฉลย  เพราะเป็นเทคโนโลยีที่ใช้แรงงานมนุษย์เปลี่ยนมาเป็น
ใช้แรงเครื่องจักรกลส่วนข้อ   และ  เป็นการใช้แรงงานสัตว์
เปลี่ยนมาเป็นใช้แรงงานเครื่องกล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
8. หลอดไฟฟ้าชนิดใดใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยที่สุด
หลอดไส้1
หลอดแอลอีดี2
หลอดฮาโลเจน3
หลอดฟลูออเรสเซนต์4
2
เฉลย  เพราะหลอดไฟฟ้าแอลอีดีใช้พลังงานต่า
ให้แสงสว่างได้มากมีอายุการใช้งานยาวนาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
9. เทคโนโลยีใดส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจมากที่สุด
รถยนต์1
เรือขนส่งสินค้า2
โทรศัพท์เคลื่อนที่3
เครื่องจักรอุตสาหกรรม44
เฉลย  เพราะเครื่องจักรอุตสาหกรรม
ส่งผลต่อการผลิตสินค้าจึงทาให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้น
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
10. โรงงานผลิตจักรยานแห่งหนึ่งเปลี่ยนจากการใช้แรงงานคน
เป็นการนาระบบอัตโนมัติมาใช้งาน ทาให้ผลิตสินค้าได้เร็ว
นักเรียนคิดว่าในอนาคตมีโอกาสจะเกิดเหตุการณ์ใด
เปลี่ยนเป็นการนาระบบ AI มาใช้ในการผลิต1
ราคารถจักรยานสูงขึ้นเนื่องจากต้นทุนสูง2
สินค้าล้นตลาดเพราะผลิตมากเกินไป3
ผลิตสินค้าใหม่ ๆ ได้หลายชนิด4
3
เฉลย  เพราะเมื่อผลิตสินค้าได้เร็วขึ้น จะทาให้สินค้ามากเกินไป
จนล้นตลาดได้ควรกาหนดข้อจากัดในการผลิต

More Related Content

What's hot

การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษาการประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษาPrachyanun Nilsook
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน TBnakglan
 
Computing science unit 3
Computing science unit 3Computing science unit 3
Computing science unit 3Chompooh Cyp
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
Design and technology 3 unit 5
Design and technology 3 unit 5Design and technology 3 unit 5
Design and technology 3 unit 5Chompooh Cyp
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมNATTAWANKONGBURAN
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจNATTAWANKONGBURAN
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Janchai Pokmoonphon
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัลกฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 

What's hot (20)

การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษาการประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
การประเมินนวัตกรรมสื่อออนไลน์อาชีวศึกษา
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
 
Computing science unit 3
Computing science unit 3Computing science unit 3
Computing science unit 3
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
Design and technology 3 unit 5
Design and technology 3 unit 5Design and technology 3 unit 5
Design and technology 3 unit 5
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัลกฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 

Similar to Design and technology 3 unit 1

ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี TBnakglan
 
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง TBnakglan
 
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯTBnakglan
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม0866589628
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5WitthayaMihommi
 

Similar to Design and technology 3 unit 1 (20)

ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
 
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
 
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
 
Qualify exam2
Qualify exam2Qualify exam2
Qualify exam2
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
Com
ComCom
Com
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Kn technology
Kn technologyKn technology
Kn technology
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
Work1 608_29
Work1 608_29Work1 608_29
Work1 608_29
 
Thitiporn
ThitipornThitiporn
Thitiporn
 
GREEN RESEARCH Issue March 26
GREEN RESEARCH Issue March 26GREEN RESEARCH Issue March 26
GREEN RESEARCH Issue March 26
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Thitiporn
ThitipornThitiporn
Thitiporn
 

More from Chompooh Cyp

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizeChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapeChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolChompooh Cyp
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionChompooh Cyp
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementChompooh Cyp
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaChompooh Cyp
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectChompooh Cyp
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementChompooh Cyp
 

More from Chompooh Cyp (20)

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filter
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouch
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customize
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basic
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effect
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
 
Ps cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-textPs cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-text
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transform
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cut
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & tool
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introduction
 
Ch10 cp8 publish
Ch10 cp8 publishCh10 cp8 publish
Ch10 cp8 publish
 
Ch09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizsCh09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizs
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object management
 
Ch07 cp8 sound
Ch07 cp8 soundCh07 cp8 sound
Ch07 cp8 sound
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimedia
 
Ch05 cp8 button
Ch05 cp8 buttonCh05 cp8 button
Ch05 cp8 button
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape object
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide management
 

Design and technology 3 unit 1

  • 3. แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง วัฏจักรของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม กับเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหา ของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 4. ตัวชี้วัด • วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน (ว 4.1 ม.3/1) เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 5. ความรู้เกี่ยวกับ วิชาคณิตศาสตร์ ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่างๆ และการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับ วิชาวิทยาศาสตร์ ความรู้ อื่น ๆ เทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับ วิศวกรรมศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับ เกษตรศาสตร์ ช่วยในการแก้ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เพิ่มประสิทธิภาพในงาน
  • 6. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่างการแก้ปัญหาและการประยุกต์เทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ มาบูรณาการร่วมกัน เตาชีวมวล แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย กะลามะพร้าว กิ่งไม้ ใช้ทดแทน เตาอั่งโล่ วัสดุเหลือใช้เหล่านี้เรียกว่า ชีวมวล (Biomass) ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเกษตรมาเป็นเชื้อเพลิง เตาชีวมวล
  • 7. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล สามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้ ปัจจัย เหตุ - ผล 1. ความต้องการ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย ก่อให้เกิดปัญหาขยะ การแก้ปัญหาขยะเหล่านี้ด้วยวิธีการเผา ก่อให้เกิด มลพิษทางอากาศ และปัญหาฝุ่นและควัน การเผาวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร ทาให้เกิดปัญหาฝุ่นและควัน วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอัดเม็ด เป็นเชื้อเพลิงชีวมวล ใช้หุงต้มในครัวเรือน เตาชีวมวลจึงเป็นเทคโนโลยีที่ถูกคิดขึ้นมาเพื่อนาวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์และช่วยลดปัญหาการเกิดมลพิษ ทางอากาศ และปัญหาฝุ่น ควันที่เกิดขึ้น
  • 8. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ความก้าวหน้า ของศาสตร์ต่าง ๆ เตาชีวมวลได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัยความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น • วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่อง การเผาไหม้เชื้อเพลิง โดยจากัดอากาศ ให้เหมาะสมต่อการเผาไหม้ (Gasification) เป็นการเปลี่ยนเชื้อเพลิงในชีวมวล ให้กลายเป็นแก๊สที่สามารถเผาไหม้ได้ การเผาไหม้แบบ Gasification • คณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ช่วยในการออกแบบ ขนาด รูปร่าง และปริมาตรของเตา ตาแหน่ง และจานวนรู ที่เจาะ การออกแบบรูปร่างของเตาชีวมวล ที่ดีจะช่วยในการจากัดอากาศ ให้เหมาะสม ต่อการเผาไหม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การออกแบบ รูปร่างของ เตาชีวมวล
  • 9. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. เศรษฐกิจ ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบของเตาชีวมวล อย่างหลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น เตาชีวมวลหลากหลายรูปแบบ 4. มนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม มนุษย์เริ่มตระหนักถึงปัญหาพลังงานที่ลดน้อยลง ชีวมวล จึงเป็นพลังงาน ทดแทนทางเลือกหนึ่งที่ถูกนามาใช้เพื่อทดแทนปัญหาพลังงาน แก้ไขปัญหาขยะ เหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่งผล ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและปัญหา ฝุ่นและควันจากการเผาไหม้ที่เป็นปัญหา ทั้งต่อมนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม ปัญหาขยะเหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม
  • 10. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สรุปการเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล การกาจัดขยะทางภาคเกษตรกรรม ด้วยวิธีการเผา ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ ปัญหาฝุ่นและควัน เทคโนโลยีเตาชีวมวล ใช้เชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร • แก้ไขปัญหาขยะทางการเกษตร • ลดมลภาวะทางอากาศ • เป็นพลังงานทดแทนทางเลือก
  • 11. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กังหันน้าบาบัดน้าเสีย กังหันน้าบาบัดน้าเสีย เป็นเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้า สามารถปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้นได้เหมาะสาหรับนาไปติดตั้ง เพื่อบาบัดน้าเสียในสถานที่ต่าง ๆ เช่น แม่น้าลาคลอง โรงงานอุตสาหกรรม บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า มอเตอร์หมุนใบพัด ใบพัดตีน้า/ ใบพัดวิดน้าขึ้นไปด้านบน ช่วยเติมอากาศให้กับน้า
  • 12. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การเกิดเทคโนโลยีกังหันน้า บาบัดน้าเสียสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้ ปัจจัย เหตุ - ผล 1. ความต้องการ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น การขาดจิตสานึกของประชาชน ในการทิ้งขยะลงแม่น้าลาคลอง การปล่อยน้าเสียจากภาคครัวเรือน ภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม ลงสู่แม่น้าลาคลอง เป็นสาเหตุให้เกิดน้าเน่าเสีย เกิดปัญหามลพิษทางน้า ปัญหาน้าเน่าเสีย บาบัดน้าเสีย ในบ่อปลา บาบัดน้าเสีย ตามคูคลอง บาบัดน้าเสีย แหล่งน้าสาธารณะ เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ จึงเกิดแนวคิดการบาบัดน้า โดย กังหันน้าบาบัดน้าเสีย เป็นแนวคิดหนึ่งที่ทาได้ง่าย สะดวก ช่วยบาบัดน้าเสีย ตามคูคลอง แหล่งน้าสาธารณะ บ่อบาบัดน้าของโรงงานอุตสาหกรรม บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น
  • 13. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ความก้าวหน้า ของศาสตร์ต่าง ๆ กังหันน้าบาบัดน้าเสียได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัย ความรู้ จากศาสตร์ต่าง ๆ เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น • วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่องการเพิ่มออกซิเจนให้กับน้า เพื่อช่วยลด ความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า • คณิตศาสตร์ ใช้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง ความยาว และ ความลึกของกังหัน เพื่อคานวณหาพื้นที่สัมผัสระหว่างน้ากับอากาศที่เหมาะสม • วิศวกรรมศาสตร์ ใช้ในการออกแบบโครงสร้าง ระบบกลไก ระบบไฟฟ้า และการเลือกใช้วัสดุต่าง ๆ การออกแบบโครงสร้างกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
  • 14. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบ ของกังหันน้าบาบัดน้าเสียที่หลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น กังหันน้าบาบัดน้าเสียหลากหลายรูปแบบ 3. เศรษฐกิจ
  • 15. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มลพิษทางน้าที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์เองเช่น หากสัมผัสน้า เน่าเสียอาจทาให้เกิดอาการคัน มีผื่นขึ้นตามร่างกาย น้าส่งกลิ่นเหม็น และภาพ ขยะในน้าส่งผลต่อสุขภาพจิตใจของตนเอง ชุมชน และสังคม หากมีน้าเน่าเสีย ตามแหล่งน้าขนาดใหญ่จะส่งผลถึงการท่องเที่ยว และภาพลักษณ์ของประเทศ อีกทั้งยังทาให้สัตว์น้าต่าง ๆ ลดน้อยลงด้วย ผลกระทบของน้าเน่าเสีย 4. มนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม
  • 16. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สรุปการเกิดเทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย การทิ้งขยะ ลงแหล่งน้า น้าเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น เกิดมลภาวะทางน้า เทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย • เพิ่มออกซิเจนให้กับน้า • ลดความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า • ปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น การปล่อยน้าเสียจากครัวเรือน/ โรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้า
  • 17. วัฏจักรของเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กราฟแสดงวัฏจักรของเทคโนโลยี R&D (Researchand Development) คิดค้น วิจัย พัฒนา สร้างเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองการแก้ปัญหา หรือความต้องการกลุ่มตลาด สังคม A (Ascending) เป็นช่วงขาขึ้นของ ผลตอบแทนหรือกาไร คือ มีการจาหน่าย ผลิตออกสู่ตลาด M (Maturity) คือ การเจริญเติบโต เต็มที่ของการผลิตและจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยี D (Decline) ซึ่งเป็นช่วงขาลงเสื่อมถอย ผลิตภัณฑ์ไม่เป็นที่นิยมอีกต่อไป
  • 18. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัทโกดัก ผู้เริ่มต้นด้วยการผลิตกล้องถ่ายภาพชนิดฟิล์ม และเปลี่ยนทิศทางมาผลิตฟิล์ม ภาพนิ่ง ฟิล์มสไลด์ ฟิล์ม X-Ray ฟิล์มถ่ายภาพยนตร์ บริษัทนี้มีความเป็นมาที่น่าสนใจ และเป็นการศึกษาวงจรชีวิต ของเทคโนโลยีที่ไม่มีใครคาดคิดว่าจะเสื่อมถอยและหมดความนิยมอย่างรวดเร็ว โดยเริ่มจาก ตัวอย่างที่ 1 วัฏจักรของเทคโนโลยี ค.ศ. 1878 คิดค้นวิธีล้างฟิล์มแบบรวดเร็ว 1888 ผลิตกล้องขนาดกล่อง กดชัตเตอร์ เพียงปุ่มเดียว ใช้งานง่ายเป็นเครื่อง แรกของโลก 1902 ผลิตเครื่องล้างฟิล์มเครื่องแรกของโลก 1921เปิดตัวฟิล์ม X-Ray
  • 19. เปิดตัวฟิล์มถ่ายภาพยนตร์ ที่สามารถบันทึกเสียงในฟิล์มได้ 1935 ยอดขายมากกว่า 4 พันล้านเหรียญ สหรัฐ และมีพนักงานมากกว่า 100,000 คน 1963 เปิดตัวกล้องที่ใส่ฟิล์มกลัก และมีแฟลช ที่ไม่ต้องเปลี่ยนหลอด (Instant Camera) 1966 เปิดตัวฟิล์มสาหรับมือสมัครเล่น 1973 1981 เปิดสาขาทั่วโลก พนักงานมากกว่า 120,000 คน ยอดขายมากกว่า 10 พันล้านเหรียญสหรัฐ 1929 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 20. พนักงานมากที่สุด 145,300 คน (ภายหลังจากนี้ 20 ปี ลดพนักงานกว่า 125,000 คน) ยุคดิจิทัลเริ่มเข้ามามี บทบาทในโลก 1997 ระดมทุน ขาดสิทธิบัตรที่คิดค้น เนื่องจากภาวะขาดทุน ปรับตัว ตามกระแสวงการสื่อดิจิทัลไม่ทัน 2008 ระดมทุนเนื่องจากภาวะขาดทุน ปรับตัวตามกระแสวงการสื่อดิจิทัลไม่ทัน 2008 เปิดตัวกล้องดิจิทัลตัวแรก ของโกดัก (Kodak DC20) 2012 บริษัทปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ และมกราคม ปี 2012 ถูกฟ้องล้มละลาย 1988 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 21. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการวิจัยและพัฒนา ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม ดังนี้
  • 22. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ข้อ 3 ความรู้และทักษะทางเทคนิค (Technical) มี 13 เหตุปัจจัยของความไม่แน่นอน ที่มาเกี่ยวข้องกับการคิดค้น การพัฒนาต้นแบบ และการผลิต ซึ่งจะทาให้อนาคตของ เทคโนโลยีมีโอกาส ทางพาณิชย์มากหรือน้อย ได้แก่ 1) เทคโนโลยีถูกสร้างขึ้นมาหรือไม่ (not invented yet) 2) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่เพียงพอ (science insufficient) 3) ความพยายามไม่มากพอ (effort insufficient) 4) สมรรถนะหลักของความสามารถของบุคลากรไม่ตรง ไม่เหมาะสม (core competency mismatch) 5) ทักษะและความสามารถของบุคลากรไม่ตรง ไม่เหมาะสม (skill mismatch) 6) ความสัมพันธ์กับลูกค้าไม่เพียงพอ (customer interface insufficient)
  • 23. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 7) ความสามารถของสินค้าที่ผลิตไม่ตรงตามความต้องการ (product feature mismatch) 8) การวางแผนด้านเทคนิคไม่ดีพอ (technical planning insufficient) 9) การบริการหลังการขายไม่ดีพอ (technical support insufficient) 10) กาลังการผลิตไม่ดีพอ (manufacturing capability insufficient) 11) สภาพทางการเงินไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง (financially unfeasible) 12) สภาพทางเศรษฐกิจไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง (economically unfeasible) 13) ไม่ถูกจังหวะและเวลา (timing inappropriate)
  • 25. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการทางกายภาพ เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ เพื่อความอยู่รอด การดารงอยู่ และการสืบพันธุ์ อาหารและน้า การพักผ่อนและ การนอนหลับ เครื่องนุ่งห่ม สิ่งป้องกันจาก สภาพอากาศ ที่อยู่อาศัย
  • 26. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย ความปลอดภัย ส่วนบุคคล ความมั่นคงปลอดภัย ทางทรัพย์สินหรือ สิ่งของส่วนบุคคล ความมั่นคงปลอดภัย ทางสุขภาพและ ความเป็นอยู่ ความมั่นคงปลอดภัย ด้านการช่วยเหลือ กรณีอุบัติเหตุ เจ็บป่วย เมื่อความต้องการพื้นฐานอยู่ในระดับเพียงพอแล้ว ความต้องการด้านความมั่นคงและปลอดภัยจะมี อิทธิพลต่อมนุษย์
  • 27. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ ความเป็นเพื่อนฝูง หรือมิตรภาพ ความใกล้ชิด สนิทสนม และความรัก ความเป็นครอบครัว เมื่อความต้องการพื้นฐานและความมั่นคงปลอดภัย อยู่ในระดับเพียงพอแล้ว ต่อมาคือความ ต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
  • 28. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการความเคารพนับถือ การทาประโยชน์เพื่อให้ รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า การแสวงหาสถานะ การยอมรับ ความมีชื่อเสียง ต้องการความแข็งแกร่ง ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความมั่นใจในตนเอง และความมีอิสระ มนุษย์ทุกคนต้องการเป็นที่ยอมรับ เคารพนับถือ ได้รับเกียรติ แสดงถึงการยอมรับและ เห็นคุณค่าโดยคนอื่น โดยจะเป็นการกระทาในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
  • 29. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการความ สมบูรณ์ของชีวิต การเลือกคู่ครอง การเป็นผู้ปกครอง การเป็นหัวหน้า หรือเป็นผู้นา การปรับใช้ความรู้และความสามารถที่มี เมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการจากระดับต่าง ๆ ในข้างต้นอย่างดีแล้ว“อะไรที่บุคคล เป็นได้เขาต้องเป็น” คือศักยภาพสูงสุดที่ตระหนักได้ การทาให้บรรลุเป้าหมาย การแสวงหาความสุข
  • 30. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการของมนุษย์ในทุกระดับ เกิดประเด็นคาถามต่าง ๆ เกิดการแสวงหาคาตอบ/ แนวทางแก้ไข การทดลอง การบันทึก การหาเหตุผล การต่อยอดความคิด การปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อให้ได้มาซึ่ง ผลลัพธ์ที่สนอง ความต้องการได้
  • 31. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลง : ภาชนะใส่อาหารและน้า เครื่องจักสาน การปั้นดินขึ้นรูปเป็นภาชนะ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องปั้นดินเผา และเคลือบ กะลามะพร้าว ชามโลหะ (สแตนเลส) ชามพลาสติก
  • 32. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลของการเปลี่ยนแปลง : ภาชนะใส่อาหารและน้า • มีการแบ่งปันหรือแลกเปลี่ยนสินค้ากัน จากครัวเรือนสู่ชุมชน สังคม และสู่การข้ามดินแดน • เกิดการแลกเปลี่ยนจนกลายเป็นการค้า • ทาให้สังคมมีภาชนะที่ใช้ในการใส่อาหารดีขึ้น สะอาดขึ้น สามารถชาระล้าง เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้ • ทาให้เกิดการประยุกต์ศาสตร์ต่าง ๆ มาพัฒนาผลผลิตด้านการผลิตภาชนะ ในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น เช่น ปิ่นโต หม้อหุงข้าว
  • 33. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลง : เครื่องนุ่งห่ม นาผลผลิตของพืชพันธุ์ มาแปรรูปโดยทอเป็นผ้า ใช้หนังสัตว์มาห่อหุ้มร่างกาย
  • 34. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลของการเปลี่ยนแปลง : เครื่องนุ่งห่ม • มีเครื่องนุ่งห่มที่หลากหลาย ทาให้สังคมมีทางเลือกมากขึ้น • เกิดการจัดประเภทของเครื่องแต่งกาย เช่น เครื่องแบบทางาน เครื่องแบบทหาร หรือตารวจ เครื่องแบบนักเรียน เพื่อเกิดการแยกแยะกลุ่มคนที่ต่างภาระหน้าที่ ให้ชัดเจนในสังคม • เครื่องแต่งกายประจาท้องถิ่นแสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยีสิ่งทอหรือภูมิปัญญา ของคนในท้องถิ่น และชุมชนนั้น ๆ ถือเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติที่ควร บารุงรักษาและถ่ายทอดสืบต่อไป
  • 35. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมกับเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สภาวะของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลต่อปัจจัยความต้องการ ความนิยม ความจาเป็นที่จะใช้ เทคโนโลยีที่มีอยู่หรือเทคโนโลยีใหม่ ข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรมจึงจาเป็นที่จะต้องนามาเป็น พื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีให้เหมาะสม เพื่อให้เกิดความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น
  • 36. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค่านิยมในสังคม หมายถึง สิ่งที่คนในสังคมเดียวกันมองเห็นว่ามีคุณค่า เป็นที่ยอมรับ หรือเป็นที่ปรารถนาของคนทั่วไป โดยมีลักษณะ ดังนี้ ค่านิยม ในสังคม มีทั้งค่านิยมที่ดี และค่านิยมที่ไม่ดี สามารถปลูกฝัง หรือถ่ายทอดได้ สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้หากบุคคล ได้เรียนรู้และมีประสบการณ์เพิ่มขึ้น เป็นมาตรฐานอย่างหนึ่งในการประเมิน พฤติกรรมของบุคคล
  • 37. • ค่านิยมจะช่วยให้คนในสังคมมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน ทาให้มีความเชื่อ ในเรื่องเดียวกัน ดังนั้น ค่านิยมของสังคมจึงจัดว่าเป็นกระบวนการ ที่เกิดขึ้นเพื่อสร้างความสงบเรียบร้อยให้แก่สังคม • ค่านิยมมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ และอุปนิสัยของคนส่วนมาก เพราะบุคคลในสังคมย่อมได้รับอิทธิพลจากค่านิยมของสังคม • ค่านิยมเป็นสิ่งที่ควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม • ค่านิยมเป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความสาคัญของค่านิยมในสังคม
  • 38. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การพัฒนา เทคโนโลยี ศึกษาค่านิยม วัฒนธรรมและศาสนา ระบอบการเมือง การปกครอง เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีให้ สอดคล้องกับพฤติกรรม ของคนในสังคมหรือชุมชน ควรตระหนักถึงผลกระทบ ว่าจะทาให้วัฒนธรรมที่เคย ดารงอยู่เปลี่ยนแปลงไปใน ทิศทางใด ใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศเป็นเครื่องมือใน การรายงานการตรวจสอบ การเฝ้าระวัง และ การคาดการณ์ รวมทั้งการสั่งการอย่างทั่วถึง
  • 39. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วมีผลกระทบต่อ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในประเด็น ดังนี้ • ประชาชนมีสวัสดิภาพที่ดี มีความสะดวกสบายมากขึ้น จึงมีผลต่อการดาเนินนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ • เทคโนโลยีใหม่ยังมีส่วนช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพิ่มความปลอดภัย และลดความสิ้นเปลือง • เทคโนโลยีที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคในหลายด้าน และมีทางเลือกในการบริโภคมากขึ้น • สาหรับหน่วยงานธุรกิจนอกจากสามารถผลิตสินค้าและบริการใหม่ออกมาจานวนมากยังได้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีหลายด้าน เช่น มีวัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ที่มีคุณภาพดี • ธุรกิจที่มีขนาดเล็กสามารถแข่งขันกับธุรกิจขนาดใหญ่ได้มากขึ้น การเกิดขึ้นของธุรกิจออนไลน์ทาให้ ธุรกิจขนาดเล็กมีข้อเสียเปรียบทางด้านต้นทุนน้อยลงไปมาก • การดาเนินงานของภาคเศรษฐกิจ การพัฒนาสิ่งสาธารณูปโภค การศึกษา การสาธารณสุข การได้มาซึ่ง ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินนโยบาย การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานราชการ ในภาครัฐ และระหว่างรัฐบาลกับประชาชน ล้วนสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่มีการพัฒนา ขึ้นมาใหม่ได้
  • 41. นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน  หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เฉลย  เพราะความต้องการของมนุษย์ไม่มีที่สิ้นสุด จึงทาให้ เกิดความต้องการในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้ดียิ่งขึ้น นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีรอบ ๆ ตัว เช่น การทาการเกษตรแบบดั้งเดิมเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรช่วยในการทางาน 1. การที่มีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเนื่องมาจากสาเหตุใด ความเจริญของสังคมโดยรอบ1 ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์2 ความรู้และความสามารถของมนุษย์เพิ่มขึ้น3 ขาดแคลนอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก4 2
  • 42. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. เทคโนโลยีที่ดีควรมีคุณลักษณะอย่างไร ทันสมัย1 ราคาถูก2 นามาใช้งานได้ทุกสถานการณ์3 แก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการได้44 เฉลย  เพราะเทคโนโลยีที่ดีควรที่จะสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีอยู่ได้จริงทาให้เกิดความสะดวกสบายและตอบสนอง ความต้องการของมนุษย์ได้
  • 43. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. เหตุใดการพัฒนาเทคโนโลยีต้องใช้ความรู้จากศาสตร์อื่น ๆ ช่วยในการพัฒนา เพื่อให้เทคโนโลยีสามารถใช้ได้จริง1 เพื่อให้เทคโนโลยีสามารถใช้งานได้ง่าย2 เพื่อเป็นเหตุผลในการแก้ปัญหาให้ถูกวิธี3 เพื่อให้ออกแบบได้เหมาะสมกับการใช้งาน4 3 เฉลย  เพราะเป็นเหตุผลในการแก้ปัญหาให้ถูกวิธี เช่น ใช้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในการอธิบาย ความสัมพันธ์ของสื่อต่างๆ
  • 44. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. นักเรียนพบว่าช่วงฤดูฝนนั้นทาให้ผ้าที่ตากไว้แห้งช้าและอับชื้น นักเรียนสามารถนาเทคโนโลยีมาแก้ปัญหาในสถานการณ์นี้ได้อย่างไร จึงจะเหมาะสมที่สุด ซื้อเครื่องอบผ้า1 ใช้น้ายาซักผ้าที่ป้องกันกลิ่นอับชื้น2 พัฒนาระบบหลังคากันฝนอัตโนมัติเมื่อมีฝนตก3 ศึกษาข้อมูลพยากรณ์อากาศก่อนการซักและตากผ้า44 เฉลย  เพราะเป็นการแก้ปัญหาที่เหมาะสมที่สุด โดยนักเรียนสามารถทาได้จริงอีกทั้งการพยากรณ์อากาศในปัจจุบัน มีความแม่นยาและสามารถตรวจสอบได้จากสมาร์ตโฟน
  • 45. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 5. ข้อใดเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ปัจจัยสี่1 ความเป็นครอบครัว2 การมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ3 การเป็นผู้ปกครอง หัวหน้าหรือผู้นา4 1 เฉลย  เพราะปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
  • 46. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 6. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง สังคม1 วัฒนธรรม2 ความเรียบง่าย3 ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์4 3 เฉลย  เพราะความเรียบง่ายไม่ใช่ปัจจัยที่ทาให้เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง
  • 47. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 7. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีไม่ถูกต้อง ควาย : รถไถนา1 รถม้า : รถยนต์2 เรือพาย : เรือยนต์3 เกวียน : รถบรรทุกของ4 3 เฉลย  เพราะเป็นเทคโนโลยีที่ใช้แรงงานมนุษย์เปลี่ยนมาเป็น ใช้แรงเครื่องจักรกลส่วนข้อ   และ  เป็นการใช้แรงงานสัตว์ เปลี่ยนมาเป็นใช้แรงงานเครื่องกล
  • 48. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 8. หลอดไฟฟ้าชนิดใดใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยที่สุด หลอดไส้1 หลอดแอลอีดี2 หลอดฮาโลเจน3 หลอดฟลูออเรสเซนต์4 2 เฉลย  เพราะหลอดไฟฟ้าแอลอีดีใช้พลังงานต่า ให้แสงสว่างได้มากมีอายุการใช้งานยาวนาน
  • 49. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 9. เทคโนโลยีใดส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจมากที่สุด รถยนต์1 เรือขนส่งสินค้า2 โทรศัพท์เคลื่อนที่3 เครื่องจักรอุตสาหกรรม44 เฉลย  เพราะเครื่องจักรอุตสาหกรรม ส่งผลต่อการผลิตสินค้าจึงทาให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้น
  • 50. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 10. โรงงานผลิตจักรยานแห่งหนึ่งเปลี่ยนจากการใช้แรงงานคน เป็นการนาระบบอัตโนมัติมาใช้งาน ทาให้ผลิตสินค้าได้เร็ว นักเรียนคิดว่าในอนาคตมีโอกาสจะเกิดเหตุการณ์ใด เปลี่ยนเป็นการนาระบบ AI มาใช้ในการผลิต1 ราคารถจักรยานสูงขึ้นเนื่องจากต้นทุนสูง2 สินค้าล้นตลาดเพราะผลิตมากเกินไป3 ผลิตสินค้าใหม่ ๆ ได้หลายชนิด4 3 เฉลย  เพราะเมื่อผลิตสินค้าได้เร็วขึ้น จะทาให้สินค้ามากเกินไป จนล้นตลาดได้ควรกาหนดข้อจากัดในการผลิต