SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
ใบความรู้ เรือง เทคโนโลยี
เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง เป็นการนําความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างสิงของเครืองใช้หรือวิธีการโดยผา
นกระบวนการ เพือแก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิมความสามารถในการทํางานของมนุษย์
ความสําคัญของเทคโนโลยี
1. เป็นพืนฐานปัจจัยจําเป็นในการดําเนินชีวิตของมนุษย์
2. เป็นปัจจัยหลักทีจะมีส่วนร่วมในการพัฒนา
3. เป็นเรืองราวของมนุษย์ และธรรมชาติ
ในช่วงสองทศวรรษทีผ่านมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีบทบาทสําคัญเพิมขึนจนสามารถสร้าง นวัตกรรม
(Innovation) ซึงก็คือ การเรียนรู้ การผลิตและ การใช้ประโยชน์จากความคิดใหม่ ให้เกิดผลทังทางเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง สิงแวดล้อม และวัฒนธรรม เทคโนโลยีทําให้สังคมโลกทีเรียบง่าย กลายเป็นสังคมทีมีการดํารงชีวิตที
สลับซับซ้อนมากขึน ก่อให้เกิดกระแสแห่งความไร้พรมแดน หรือกระแสโลกาภิวัฒน์ ทีเข้ามาสู่ทุกประเทศอย่าง
รวดเร็ว จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ อันเป็นการผสมผสาน 4 ศาสตร์ เข้าด้วยกันได้แก่ อิเล็อทรอ
นิกส์ โทรคมนาคม และข่าวสาร (Electronics , Computer ,Telecomunication and Information หรือเรียกย่อ ๆ ว่า
ECTI ) ทําให้สังคมโลกสามารถสือสารกันได้ทุกแห่งทัวโลกอย่างรวดเร็ว สามารถรับรู้ข่าวสาร ความเคลือนไหวต่าง ๆ
ได้พร้อมกัน สามารถบริหารจัดการและตัดสินใจได้ทุกขณะเวลา การลงทุนค้าขาย และธุรกรรมการเงินทได้อย่างรวดเร็ว
ดังนันเทคโนโลยีกําลังทําโลกใบนี “เล็กลง” ทุกขณะ
วิวัฒนาการเทคโนโลยี (Evolution of Technolgy ) เทคโนโลยีมีการเปลียนแปลงหรือพัฒนาเมือเวลาผ่านไป ขันตอน
การเปลียนแปลงขึนอยู่กับกระบวนการทางวิวัฒนาการ (Evolution) ของระบบหรือเครืองมือนัน ๆ ดังนันคําว่า
วิวัฒนาการของเทคโนโลยี (Evolution of Technology ) จึงหมายถึง ความเปลียนแปลงทีเกิดขึนในระบบหรือเครืองมือที
เกิดขึนอย่างซับซ้อนและมีการเปลียนแปลงตามลําดับอย่างต่อเนืองอันมีสาเหตุมาจากปัจจัยตาง ๆ
วิวัฒนาการสามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค
o ยุคหิน (Stone age)
o ยุคทองสัมฤทธิ ( Bronze age)
o ยุคเหล็ก (Iron age)
o ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)
o ยุคศตวรรษที 20 (The 20th Century)
ระดับและสาขาของเทคโนโลยี
• เทคโนโลยีระดับพืนบ้าน
2
• เทคโนโลยีระดับกลาง
• เทคโนโลยีระดับสูง
เทคโนโลยีระดับพืนบ้าน
ส่วนมากเป็นเทคโนโลยีทีมีอยู่แต่เดิมตังแต่ยุคโบราณเกิดขึนจากความจําเป็นในการยังชีพของชาวชนบทใน
ท้องถินมีการประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ทีได้จากธรรมชาติโดยตรงตลอดจนใช้แรงงานในท้องถิน มีการสืบทอดเทคโนโลยี
ต่อ ๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิน ดังนันอาจเรียกเทคโนโลยีระดับตําว่าเป็น
เทคโนโลยีท้องถิน (Traditional technology ) อันจัดเป็นเทคโนโลยีอย่างง่ายๆ ซึงผู้ทีมีความสามารถในระดับตํา
จําเป็นต้องมีความรู้ทัวไปเกียวกับเทคโนโลยีนัน ๆ อย่างถูกต้อง เนืองจากมีความจําเป็นต้องใช้เพือการดํารงชีวิต แต่ก็
ไม่จําเป็นต้องมีเข้าใจอย่างลึกซึงจนถึงระดับแก้ไข ดัดแปลง เพียงแต่รู้หลักและวิธีการใช้เทคโนโลยีเหล่านันก็เพียงพอ
แล้ว ตัวอย่างเช่น ยาสมุนไพรพืนบ้าน ครกตําข้าว ลอบดักปลา และกระต่ายขูดมะพร้าว เป็นต้น
3
เทคโนโลยีระดับกลาง
เกิดจากการปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีระดับตําหรือเทคโนโลยีพืนบ้านมาเพือให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยี
นันมากยิงขึน ผู้พัฒนาเทคโนโลยีเหล่านีจะเป็นผู้มีความรู้ลึกซืง เข้าใจระบบการทํางานและกลไลต่าง ๆ ตลอดจน
สามารถแก้ไขซ่อมแซมอุปกรณ์ เครืองมือให้กลับสภาพดีดังเดิมได้ นอกจากนีจะต้องมีประสบการณ์เข้าใจความเป็นไป
ของธรรมชาติและสิงแวดล้อมตามสมควร นักพัฒนามีบทบาทอย่างมากในการใช้เทคโนโลยีระดับกลางในการเสริม
ความรู้และประสบการณ์ให้กับผู้คนในท้องถิน ตัวอย่างเช่น การผลิตอาหารโดยใช้ผลิตผลเหลือใช้จากการเกษตร การ
ปลูกพืชหมุนเวียนเพือแก้ปัญหาดินเสือม การถนอมอาหาร การสร้างอ่างเก็บนํา และเครืองขูดมะพร้าวเป็นต้น
เทคโนโลยีระดับสูง
เป็นเทคโนโลยีทีได้จากประสบการณ์อันยาวนาน มีความสลับซับซ้อน เพราะเป็นความสามารถในการปรับปรุง
แก้ไข ซึงนับเป็นความสามารถในระดับสูงกว่าการแก้ปัญหาหรือแก้ข้อขัดข้องของเทคโนโลยีต้องรู้จักดัดแปลงเทคโนโลยี
เดิมให้มีคุณภาพดีขึนจนก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เทคโนโลยีระดับสูงนันอาจจําเป็นต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้ใน
สถาบันการศึกษาชันสูงมีการวิจัยทดลองอย่างสมําเสมอและมีการประดิษฐ์คิดค้นเครืองมือ เครืองจักรกลต่าง ๆ ทีมี
ประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างเช่น การผลิตอาหารกระป๋อง การคัดเลือกพันธุ์สัตว์โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ กะทิสําเร็จรูป ยู
เอช ที และกะทิผง เป็นต้น
4
สาขาของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการควบคุม (Control Technology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) มีการนําเข้าเทคโนโลยีชีวภาพจากต่างประเทศมากขึนทุกปี
โดยเฉพาะอย่างยิงทางด้านการแพทย์ เช่น การผลิตวัคซีน ป้องกันโรคต่าง ๆ การผลิตยาบางชนิด เป็นต้น
เทคโนโลยีอาหาร (Food Technology)
เทคโนโลยีวัสด◌ุ (Meterials Technology) นับเป็นกําลังสําคัญในการผลักดันความก้าวหน้าด้านอุตสาหกรรม
เป็นอย่างมาก เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์เน้นการพัฒนาวัสดุอุตสาหกรรมทีมีสมรรถนะสูง เช่น การพัฒนาเซรามิค
เพือใช้ในการอุตสาหกรม ซึงเป็นได้ทังตัวนํายิงยวดและฉนวน เป็นทังตัวระบายความร้อนและฉนวนความร้อน
และยังเป็นวัสดุทีทนต่อการสึกหรอได้เป็นอย่างดี
เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์และการผลิต (Production and Process Technology)
เทคโนโลยีโครงสร้าง (Structural Technology)
เทคโนโลยีขนส่ง (Transportation technology) ได้แก่ การเดินรถ เช่น รถยนต์ รถไฟฟ้า การเดินเรือ
เครืองบิน การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์ เป็นต้น
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส◌์ (Electronics Technology) ได้แก่ อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ การสือสา
รด้วยระบบเลเซอร์ หุ่นยนต์ ซูเปอร์คอนดักเตอร์ เป็นต้น
เทคโนโลยีสิงทอและเสือผ้า (Textile Garment technology)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (Information and Communication technology)
เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural technology) เช่นความรู้ในการเพาะปลูก การขยายพันธุ์พืช การใ ส่ปุ๋ย
การกําจัดศัตรูพืช รวมถึงการเลียงสัตว์และขยายพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยีการเกษตรจะเชือมโยงสัมพันธ์ กับ
เทคโนโลยีอืน ๆ เช่นเทคโนโลยีอาหาร ได้แก่การแปรรูปพืชและสัตว์ไปเป็นอาหาร ตังแต่อาหารสด อาหารแห้ง
และอาหารหมักดอง รวมทังเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ การผลิตอาหารกระป๋องหรืออาหารสําเร็จรูป
ต่าง ๆ
5
กระบวนการเทคโนโลยี
กระบวนการออกแบบและการใช้เทคโนโลยี เป็นขันตอนทีจะช่วยลดความผิดพลาดในการทํางาน มีความเหมาะสมกับ
การแก้ปัญหาในการออกแบบและการนําเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์มาใช้ กระบวนการออกแบบอย่างเป็นระบบมีลักษณะ
ดังนี
6
เทคโนโลยีเป็นการนําความรู้จากสาขาวิชาการต่าง ๆ มาสร้างเป็นสิงของเครืองใช้หรือปรับปรุงวิธีการทํางานของมนุษย์
ให้ง่ายขึน สะดวกสบายทําให้มนุษย์มีคุณภาพชีวิตทีดีขึนเทคโนโลยีจึงมีความสัมพันธกับทุกสาขาวิชาเช่น
ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ คือ วิชาทีศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทังในสภาพนิงหรือสภาพทีมีการเปลียนแปลง
เทคโนโลยี คือ กระบวนการหรือวิธีการและเครืองมือทีเกิดจากการประยุกต์ และผสมผสานความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และศาสตร์อืน ๆ เพือให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์เหมาะสมกับเวลาและสถานที
วิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายในการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ โดยตังข้อสมมติฐาน พิสูจน์สมมติ
ฐานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ หรือข้อเท็จจริงจากปรากฎการณ์นัน ๆ ถ้ามีการพิสูจน อีกก็ยังคงใช้
ข้อเท็จจริงเหมือนเดิม
เทคโนโลยีเป็นวิทยาการทีเกิดจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อืนๆ ในการแก้ปัญหา
โดยมุ่งแสวงหากระบวนการหรือวิธีการ (Know How) โดยอาศัยเครืองมือและความรู้ต่าง ๆ ผลของกระบวนการ
เทคโนโลยีมี 2 ลักษณะ คือ
1.เครืองมือ หรือฮาร์ดแวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของอุปกรณ์ เครืองมือต่าง ๆ เช่น เครืองบําบัดนํา
เสีย เครืองปรับอากาศ เครืองบิน เป็นต้น
2. วิธีการหรือ เรียนกว่า ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการ ความรู้ต่าง ๆ เช่น
วิธีจัดการระบบบริหารองค์กร วิธีประเมินผลต่าง ๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ผู้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เกียวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติ คือ นักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่รู้ หรืออยากรู้
อยากเห็น ทําให้คนเป็นนักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่ประดิษฐ์ทําให้คนเป็นช่างฝีมือ คนทีเรียนเทคโนโลยีจะต้องมีจิต
วิญญาณสองส่วน คือ ใฝ่รู้ หรือ ใฝ่ศึกษาธรรมชาติ และใฝ่ทําหรือใฝ่ประดิษฐ์ บุคคลทีมีคุณลักษณะทัง
2 ประการ ได้แก่ โธมัส อัลวา เอดิสัน เป็นนักประดิษฐ์ ทีรวมความเป็นนักวิทยาศาสตร์และช่างฝีมือในตัวเอง
เมือประมาณ 4,500 ปี มาแล้ว ชาวอียิปต์โบราณสร้างพีระมิดด้วยเทคโนโลยีบางอย่างสําหรับขนหิน
แกรนิตขนาดใหญ่ขึนไปเรียงกันถึงยอดสูงประมาณ 164 ฟุต เทคโนโลยีเกิดจากการนําความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ
การพัฒนาเครืองมือของช่างฝีมือ ทําให้ได้เครืองจักรกลทีซับซ้อน
ประเทศไทยผลิตช่างฝีมือในแต่ละปีจํานวนมาก แต่ขาดความรู้พืนฐานด้านวิทยาศาสตร์บริสุทธิ
สําหรับการพัฒนาเทคโนโลยี ประเทศทีเจริญทางเทคโนโลยีจะทุ่มเททุนมหาศาลเพือพัฒนาและประยุกต์วิทยาศาสตร์
เข้ากับเทคโนโลยี ขณะนีประเทศไทยต้องพึงพาหรือซือเทคโนโลยีชันกลางหรือชันสูงจากต่างประเทศ เพราะเรา
ประดิษฐ์เทคโนโลยีเหล่านันได้น้อยมาก
วิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กับเทคโนโลยี ในฐานะทีเป็นแหล่งความรู้ทีสําคัญสําหรับเทคโนโลยีแต่ไม่
ใช่เฉพาะวิทยาศาสตร์ วิชาอืน ๆ ก็มีความสําคัญเช่นเดียวกัน
วิทยาศาสตร์แตกต่างจากเทคโนโลยีในเรืองของเป้าหมาย (goal) และวิธีการ (methodlogies) แต่ทัง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกียวข้องกันอย่างใกล้ชิด
เทคโนโลยีสัมพันธ์กับความรู้พืนฐานทางวิทยาศาสตร์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพือแก้ปัญหา
แต่ขณะเดียวกันวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยความรู้ทางเทคโนโลยีแสวงหาความรู้หรือทฤษฎีใหม่ ๆ เทคโนโลยีจึงไม่ใช่
7
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ แต่เป็นศาสตร์อีกแขนงหนึง อาจสรุปความสัมพันธ์ของศาสตร์ทังสอง ได้ดังนี
1. เทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พืนฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่
2. การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในเทคโนโลยีนัน มีจุดประสงค์เพือแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี
วิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาทีเราให้ความสําคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมาก และต้องใช้วิชาเทคโนโลยีเพือ
เสริมการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ ทัง 2 วิชามีความสัมพันธ์กันและเป็นการนําความรู้วิทยาศาสตร์ไปสู่การ
ปฏิบัตินันเอง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด จึงมักถูกเรียกควบคู่กัน แต่วิธีการใช้ทังสองวิชาเพือให้ได้
คําตอบนันไม่เหมือนกันทีเดียว และจุดประสงค์หรือเป้าหมายต่างกัน
วิทยาศาสตร์เริมจากคําถามเกียวกับสิงทีสังเกตจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ จากนัน จึงใช้วิธีการสืบ
เสาะหาความรู้ ได้แก่ การสังเกต รวบรวมข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์ และสรุปผล ซึงเป็นกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการหาคําตอบเพืออธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาตินัน คําตอบจากการค้นหานัน จะเป็นกฎเกณฑ์ทาง
ทฤษฎี
เทคโนโลยีเริมจากปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ แล้วใช้กระบวนการต่าง ๆ เพือหาวิธีการ แก้ไข
ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ทรัพยากร ทักษะ และความรู้ด้านต่าง ๆ สําหรับปรับปรุงพัฒนา
ผลิตภัณฑ์นันตามกระบวนการเทคโนโลยี
ข้อแตกต่างของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวโดยสรุป คือ ทัง 2 วิชา มีธรรมชาติและกิจกรรมแตกต่าง
กัน กล่าวคือ วิทยาศาสตร์มุ่งเน้นความเข้าใจเกียวกับความจริงในธรรมชาติ (Facts and Phenomena of Nature )
ส่วนเทคโนโลยีศึกษาสิงทีเกียวข้องกับความต้องการ การแก้ปัญหา และคุณสมบัติของสิงของ (Artifacts) ทีมนุษย์
ประดิษฐ์หรือสร้างขึน วิทยาศาสตร์เกียวข้องกับการพยายามตอบคําถาม “What” ในขณะที เทคโนโลยีมุ่งแก้ปัญหาทีมา
จากความต้องการจะตอบคําถาม “How” เราจะมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร หรือสร้างสิงทีเกิดจากการความต้องการอย่างไร
8
9
กระบวนการทางเทคโนโลยี ประกอบด้วย 7 ขันตอน
ขันที 1. คือ กําหนดปัญหาและความต้องการ
ขันที 2. คือ รวบรวมข้อมูล แสวงหาวิธีการแก้ปัญหา
ขันที 3. คือ เลือกวิธีแก้ปัญหา
ขันที 4. คือ ออกแบบและปฏิบัติการ
ขันที 5. คือ ทดสอบ
ขันที 6. คือ ปรับปรุงแก้ไข
ขันที 7. คือ ประเมินผล

More Related Content

What's hot

1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkunlayaneepanichh
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42poptnw
 
Technology1
Technology1Technology1
Technology1vizaa
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเกวลิน แก้ววิจิตร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)Janchai Pokmoonphon
 
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNoeyy
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารKewalin Prasertdecho
 
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารbellbodin3
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์NATTAWANKONGBURAN
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศJintana Pandoung
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมNATTAWANKONGBURAN
 

What's hot (19)

Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
Technology1
Technology1Technology1
Technology1
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
 
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
60923 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 

Similar to Kn technology

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศRattana234
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้มเทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้มNoomim
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศwannuka24
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศSuphattra
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1warayut jongdee
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศเทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศPheeranan Thetkham
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาa35974185
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศwannuka24
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศwannuka24
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศwannuka24
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkrukea
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42poptnw
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 

Similar to Kn technology (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้มเทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
เทคโนโลยี สารสนเทศ มิ้ม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
เทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศเทคโนโลยี สารสนเทศ
เทคโนโลยี สารสนเทศ
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 

Kn technology

  • 1. 1 ใบความรู้ เรือง เทคโนโลยี เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง เป็นการนําความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างสิงของเครืองใช้หรือวิธีการโดยผา นกระบวนการ เพือแก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิมความสามารถในการทํางานของมนุษย์ ความสําคัญของเทคโนโลยี 1. เป็นพืนฐานปัจจัยจําเป็นในการดําเนินชีวิตของมนุษย์ 2. เป็นปัจจัยหลักทีจะมีส่วนร่วมในการพัฒนา 3. เป็นเรืองราวของมนุษย์ และธรรมชาติ ในช่วงสองทศวรรษทีผ่านมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีบทบาทสําคัญเพิมขึนจนสามารถสร้าง นวัตกรรม (Innovation) ซึงก็คือ การเรียนรู้ การผลิตและ การใช้ประโยชน์จากความคิดใหม่ ให้เกิดผลทังทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิงแวดล้อม และวัฒนธรรม เทคโนโลยีทําให้สังคมโลกทีเรียบง่าย กลายเป็นสังคมทีมีการดํารงชีวิตที สลับซับซ้อนมากขึน ก่อให้เกิดกระแสแห่งความไร้พรมแดน หรือกระแสโลกาภิวัฒน์ ทีเข้ามาสู่ทุกประเทศอย่าง รวดเร็ว จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ อันเป็นการผสมผสาน 4 ศาสตร์ เข้าด้วยกันได้แก่ อิเล็อทรอ นิกส์ โทรคมนาคม และข่าวสาร (Electronics , Computer ,Telecomunication and Information หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ECTI ) ทําให้สังคมโลกสามารถสือสารกันได้ทุกแห่งทัวโลกอย่างรวดเร็ว สามารถรับรู้ข่าวสาร ความเคลือนไหวต่าง ๆ ได้พร้อมกัน สามารถบริหารจัดการและตัดสินใจได้ทุกขณะเวลา การลงทุนค้าขาย และธุรกรรมการเงินทได้อย่างรวดเร็ว ดังนันเทคโนโลยีกําลังทําโลกใบนี “เล็กลง” ทุกขณะ วิวัฒนาการเทคโนโลยี (Evolution of Technolgy ) เทคโนโลยีมีการเปลียนแปลงหรือพัฒนาเมือเวลาผ่านไป ขันตอน การเปลียนแปลงขึนอยู่กับกระบวนการทางวิวัฒนาการ (Evolution) ของระบบหรือเครืองมือนัน ๆ ดังนันคําว่า วิวัฒนาการของเทคโนโลยี (Evolution of Technology ) จึงหมายถึง ความเปลียนแปลงทีเกิดขึนในระบบหรือเครืองมือที เกิดขึนอย่างซับซ้อนและมีการเปลียนแปลงตามลําดับอย่างต่อเนืองอันมีสาเหตุมาจากปัจจัยตาง ๆ วิวัฒนาการสามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค o ยุคหิน (Stone age) o ยุคทองสัมฤทธิ ( Bronze age) o ยุคเหล็ก (Iron age) o ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution) o ยุคศตวรรษที 20 (The 20th Century) ระดับและสาขาของเทคโนโลยี • เทคโนโลยีระดับพืนบ้าน
  • 2. 2 • เทคโนโลยีระดับกลาง • เทคโนโลยีระดับสูง เทคโนโลยีระดับพืนบ้าน ส่วนมากเป็นเทคโนโลยีทีมีอยู่แต่เดิมตังแต่ยุคโบราณเกิดขึนจากความจําเป็นในการยังชีพของชาวชนบทใน ท้องถินมีการประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์ทีได้จากธรรมชาติโดยตรงตลอดจนใช้แรงงานในท้องถิน มีการสืบทอดเทคโนโลยี ต่อ ๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิน ดังนันอาจเรียกเทคโนโลยีระดับตําว่าเป็น เทคโนโลยีท้องถิน (Traditional technology ) อันจัดเป็นเทคโนโลยีอย่างง่ายๆ ซึงผู้ทีมีความสามารถในระดับตํา จําเป็นต้องมีความรู้ทัวไปเกียวกับเทคโนโลยีนัน ๆ อย่างถูกต้อง เนืองจากมีความจําเป็นต้องใช้เพือการดํารงชีวิต แต่ก็ ไม่จําเป็นต้องมีเข้าใจอย่างลึกซึงจนถึงระดับแก้ไข ดัดแปลง เพียงแต่รู้หลักและวิธีการใช้เทคโนโลยีเหล่านันก็เพียงพอ แล้ว ตัวอย่างเช่น ยาสมุนไพรพืนบ้าน ครกตําข้าว ลอบดักปลา และกระต่ายขูดมะพร้าว เป็นต้น
  • 3. 3 เทคโนโลยีระดับกลาง เกิดจากการปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีระดับตําหรือเทคโนโลยีพืนบ้านมาเพือให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยี นันมากยิงขึน ผู้พัฒนาเทคโนโลยีเหล่านีจะเป็นผู้มีความรู้ลึกซืง เข้าใจระบบการทํางานและกลไลต่าง ๆ ตลอดจน สามารถแก้ไขซ่อมแซมอุปกรณ์ เครืองมือให้กลับสภาพดีดังเดิมได้ นอกจากนีจะต้องมีประสบการณ์เข้าใจความเป็นไป ของธรรมชาติและสิงแวดล้อมตามสมควร นักพัฒนามีบทบาทอย่างมากในการใช้เทคโนโลยีระดับกลางในการเสริม ความรู้และประสบการณ์ให้กับผู้คนในท้องถิน ตัวอย่างเช่น การผลิตอาหารโดยใช้ผลิตผลเหลือใช้จากการเกษตร การ ปลูกพืชหมุนเวียนเพือแก้ปัญหาดินเสือม การถนอมอาหาร การสร้างอ่างเก็บนํา และเครืองขูดมะพร้าวเป็นต้น เทคโนโลยีระดับสูง เป็นเทคโนโลยีทีได้จากประสบการณ์อันยาวนาน มีความสลับซับซ้อน เพราะเป็นความสามารถในการปรับปรุง แก้ไข ซึงนับเป็นความสามารถในระดับสูงกว่าการแก้ปัญหาหรือแก้ข้อขัดข้องของเทคโนโลยีต้องรู้จักดัดแปลงเทคโนโลยี เดิมให้มีคุณภาพดีขึนจนก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เทคโนโลยีระดับสูงนันอาจจําเป็นต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้ใน สถาบันการศึกษาชันสูงมีการวิจัยทดลองอย่างสมําเสมอและมีการประดิษฐ์คิดค้นเครืองมือ เครืองจักรกลต่าง ๆ ทีมี ประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างเช่น การผลิตอาหารกระป๋อง การคัดเลือกพันธุ์สัตว์โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ กะทิสําเร็จรูป ยู เอช ที และกะทิผง เป็นต้น
  • 4. 4 สาขาของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการควบคุม (Control Technology) เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) มีการนําเข้าเทคโนโลยีชีวภาพจากต่างประเทศมากขึนทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิงทางด้านการแพทย์ เช่น การผลิตวัคซีน ป้องกันโรคต่าง ๆ การผลิตยาบางชนิด เป็นต้น เทคโนโลยีอาหาร (Food Technology) เทคโนโลยีวัสด◌ุ (Meterials Technology) นับเป็นกําลังสําคัญในการผลักดันความก้าวหน้าด้านอุตสาหกรรม เป็นอย่างมาก เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์เน้นการพัฒนาวัสดุอุตสาหกรรมทีมีสมรรถนะสูง เช่น การพัฒนาเซรามิค เพือใช้ในการอุตสาหกรม ซึงเป็นได้ทังตัวนํายิงยวดและฉนวน เป็นทังตัวระบายความร้อนและฉนวนความร้อน และยังเป็นวัสดุทีทนต่อการสึกหรอได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์และการผลิต (Production and Process Technology) เทคโนโลยีโครงสร้าง (Structural Technology) เทคโนโลยีขนส่ง (Transportation technology) ได้แก่ การเดินรถ เช่น รถยนต์ รถไฟฟ้า การเดินเรือ เครืองบิน การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์ เป็นต้น เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส◌์ (Electronics Technology) ได้แก่ อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ การสือสา รด้วยระบบเลเซอร์ หุ่นยนต์ ซูเปอร์คอนดักเตอร์ เป็นต้น เทคโนโลยีสิงทอและเสือผ้า (Textile Garment technology) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (Information and Communication technology) เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural technology) เช่นความรู้ในการเพาะปลูก การขยายพันธุ์พืช การใ ส่ปุ๋ย การกําจัดศัตรูพืช รวมถึงการเลียงสัตว์และขยายพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยีการเกษตรจะเชือมโยงสัมพันธ์ กับ เทคโนโลยีอืน ๆ เช่นเทคโนโลยีอาหาร ได้แก่การแปรรูปพืชและสัตว์ไปเป็นอาหาร ตังแต่อาหารสด อาหารแห้ง และอาหารหมักดอง รวมทังเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ การผลิตอาหารกระป๋องหรืออาหารสําเร็จรูป ต่าง ๆ
  • 6. 6 เทคโนโลยีเป็นการนําความรู้จากสาขาวิชาการต่าง ๆ มาสร้างเป็นสิงของเครืองใช้หรือปรับปรุงวิธีการทํางานของมนุษย์ ให้ง่ายขึน สะดวกสบายทําให้มนุษย์มีคุณภาพชีวิตทีดีขึนเทคโนโลยีจึงมีความสัมพันธกับทุกสาขาวิชาเช่น ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ คือ วิชาทีศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทังในสภาพนิงหรือสภาพทีมีการเปลียนแปลง เทคโนโลยี คือ กระบวนการหรือวิธีการและเครืองมือทีเกิดจากการประยุกต์ และผสมผสานความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และศาสตร์อืน ๆ เพือให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์เหมาะสมกับเวลาและสถานที วิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายในการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ โดยตังข้อสมมติฐาน พิสูจน์สมมติ ฐานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ หรือข้อเท็จจริงจากปรากฎการณ์นัน ๆ ถ้ามีการพิสูจน อีกก็ยังคงใช้ ข้อเท็จจริงเหมือนเดิม เทคโนโลยีเป็นวิทยาการทีเกิดจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อืนๆ ในการแก้ปัญหา โดยมุ่งแสวงหากระบวนการหรือวิธีการ (Know How) โดยอาศัยเครืองมือและความรู้ต่าง ๆ ผลของกระบวนการ เทคโนโลยีมี 2 ลักษณะ คือ 1.เครืองมือ หรือฮาร์ดแวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของอุปกรณ์ เครืองมือต่าง ๆ เช่น เครืองบําบัดนํา เสีย เครืองปรับอากาศ เครืองบิน เป็นต้น 2. วิธีการหรือ เรียนกว่า ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการ ความรู้ต่าง ๆ เช่น วิธีจัดการระบบบริหารองค์กร วิธีประเมินผลต่าง ๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ผู้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เกียวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติ คือ นักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่รู้ หรืออยากรู้ อยากเห็น ทําให้คนเป็นนักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่ประดิษฐ์ทําให้คนเป็นช่างฝีมือ คนทีเรียนเทคโนโลยีจะต้องมีจิต วิญญาณสองส่วน คือ ใฝ่รู้ หรือ ใฝ่ศึกษาธรรมชาติ และใฝ่ทําหรือใฝ่ประดิษฐ์ บุคคลทีมีคุณลักษณะทัง 2 ประการ ได้แก่ โธมัส อัลวา เอดิสัน เป็นนักประดิษฐ์ ทีรวมความเป็นนักวิทยาศาสตร์และช่างฝีมือในตัวเอง เมือประมาณ 4,500 ปี มาแล้ว ชาวอียิปต์โบราณสร้างพีระมิดด้วยเทคโนโลยีบางอย่างสําหรับขนหิน แกรนิตขนาดใหญ่ขึนไปเรียงกันถึงยอดสูงประมาณ 164 ฟุต เทคโนโลยีเกิดจากการนําความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ การพัฒนาเครืองมือของช่างฝีมือ ทําให้ได้เครืองจักรกลทีซับซ้อน ประเทศไทยผลิตช่างฝีมือในแต่ละปีจํานวนมาก แต่ขาดความรู้พืนฐานด้านวิทยาศาสตร์บริสุทธิ สําหรับการพัฒนาเทคโนโลยี ประเทศทีเจริญทางเทคโนโลยีจะทุ่มเททุนมหาศาลเพือพัฒนาและประยุกต์วิทยาศาสตร์ เข้ากับเทคโนโลยี ขณะนีประเทศไทยต้องพึงพาหรือซือเทคโนโลยีชันกลางหรือชันสูงจากต่างประเทศ เพราะเรา ประดิษฐ์เทคโนโลยีเหล่านันได้น้อยมาก วิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กับเทคโนโลยี ในฐานะทีเป็นแหล่งความรู้ทีสําคัญสําหรับเทคโนโลยีแต่ไม่ ใช่เฉพาะวิทยาศาสตร์ วิชาอืน ๆ ก็มีความสําคัญเช่นเดียวกัน วิทยาศาสตร์แตกต่างจากเทคโนโลยีในเรืองของเป้าหมาย (goal) และวิธีการ (methodlogies) แต่ทัง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกียวข้องกันอย่างใกล้ชิด เทคโนโลยีสัมพันธ์กับความรู้พืนฐานทางวิทยาศาสตร์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพือแก้ปัญหา แต่ขณะเดียวกันวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยความรู้ทางเทคโนโลยีแสวงหาความรู้หรือทฤษฎีใหม่ ๆ เทคโนโลยีจึงไม่ใช่
  • 7. 7 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ แต่เป็นศาสตร์อีกแขนงหนึง อาจสรุปความสัมพันธ์ของศาสตร์ทังสอง ได้ดังนี 1. เทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พืนฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่ 2. การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในเทคโนโลยีนัน มีจุดประสงค์เพือแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี วิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาทีเราให้ความสําคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมาก และต้องใช้วิชาเทคโนโลยีเพือ เสริมการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ ทัง 2 วิชามีความสัมพันธ์กันและเป็นการนําความรู้วิทยาศาสตร์ไปสู่การ ปฏิบัตินันเอง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด จึงมักถูกเรียกควบคู่กัน แต่วิธีการใช้ทังสองวิชาเพือให้ได้ คําตอบนันไม่เหมือนกันทีเดียว และจุดประสงค์หรือเป้าหมายต่างกัน วิทยาศาสตร์เริมจากคําถามเกียวกับสิงทีสังเกตจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ จากนัน จึงใช้วิธีการสืบ เสาะหาความรู้ ได้แก่ การสังเกต รวบรวมข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์ และสรุปผล ซึงเป็นกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในการหาคําตอบเพืออธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาตินัน คําตอบจากการค้นหานัน จะเป็นกฎเกณฑ์ทาง ทฤษฎี เทคโนโลยีเริมจากปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ แล้วใช้กระบวนการต่าง ๆ เพือหาวิธีการ แก้ไข ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ทรัพยากร ทักษะ และความรู้ด้านต่าง ๆ สําหรับปรับปรุงพัฒนา ผลิตภัณฑ์นันตามกระบวนการเทคโนโลยี ข้อแตกต่างของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวโดยสรุป คือ ทัง 2 วิชา มีธรรมชาติและกิจกรรมแตกต่าง กัน กล่าวคือ วิทยาศาสตร์มุ่งเน้นความเข้าใจเกียวกับความจริงในธรรมชาติ (Facts and Phenomena of Nature ) ส่วนเทคโนโลยีศึกษาสิงทีเกียวข้องกับความต้องการ การแก้ปัญหา และคุณสมบัติของสิงของ (Artifacts) ทีมนุษย์ ประดิษฐ์หรือสร้างขึน วิทยาศาสตร์เกียวข้องกับการพยายามตอบคําถาม “What” ในขณะที เทคโนโลยีมุ่งแก้ปัญหาทีมา จากความต้องการจะตอบคําถาม “How” เราจะมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร หรือสร้างสิงทีเกิดจากการความต้องการอย่างไร
  • 8. 8
  • 9. 9 กระบวนการทางเทคโนโลยี ประกอบด้วย 7 ขันตอน ขันที 1. คือ กําหนดปัญหาและความต้องการ ขันที 2. คือ รวบรวมข้อมูล แสวงหาวิธีการแก้ปัญหา ขันที 3. คือ เลือกวิธีแก้ปัญหา ขันที 4. คือ ออกแบบและปฏิบัติการ ขันที 5. คือ ทดสอบ ขันที 6. คือ ปรับปรุงแก้ไข ขันที 7. คือ ประเมินผล