SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
(การออกแบบและเทคโนโลยี)
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่างๆ และการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นและ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง
วัฏจักรของเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม กับเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหา ของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวชี้วัด
• วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน (ว 4.1 ม.3/1)
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความรู้เกี่ยวกับ
วิชาคณิตศาสตร์
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่างๆ และการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความรู้เกี่ยวกับ
วิชาวิทยาศาสตร์
ความรู้
อื่น ๆ
เทคโนโลยี
ความรู้เกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับ
เศรษฐศาสตร์
ความรู้เกี่ยวกับ
เกษตรศาสตร์
ช่วยในการแก้ปัญหา
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
เพิ่มประสิทธิภาพในงาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวอย่างการแก้ปัญหาและการประยุกต์เทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ มาบูรณาการร่วมกัน
เตาชีวมวล
แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย กะลามะพร้าว กิ่งไม้
ใช้ทดแทน
เตาอั่งโล่
วัสดุเหลือใช้เหล่านี้เรียกว่า ชีวมวล (Biomass)
ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเกษตรมาเป็นเชื้อเพลิง
เตาชีวมวล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล สามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้
ปัจจัย เหตุ - ผล
1. ความต้องการ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย
ก่อให้เกิดปัญหาขยะ การแก้ปัญหาขยะเหล่านี้ด้วยวิธีการเผา ก่อให้เกิด
มลพิษทางอากาศ และปัญหาฝุ่นและควัน
การเผาวัสดุเหลือใช้
ทางการเกษตร
ทาให้เกิดปัญหาฝุ่นและควัน
วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอัดเม็ด
เป็นเชื้อเพลิงชีวมวล ใช้หุงต้มในครัวเรือน
เตาชีวมวลจึงเป็นเทคโนโลยีที่ถูกคิดขึ้นมาเพื่อนาวัสดุเหลือใช้
ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์และช่วยลดปัญหาการเกิดมลพิษ
ทางอากาศ และปัญหาฝุ่น ควันที่เกิดขึ้น
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ความก้าวหน้า
ของศาสตร์ต่าง ๆ
เตาชีวมวลได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัยความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ
เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น
• วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่อง
การเผาไหม้เชื้อเพลิง โดยจากัดอากาศ
ให้เหมาะสมต่อการเผาไหม้ (Gasification)
เป็นการเปลี่ยนเชื้อเพลิงในชีวมวล
ให้กลายเป็นแก๊สที่สามารถเผาไหม้ได้
การเผาไหม้แบบ
Gasification
• คณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
ช่วยในการออกแบบ ขนาด รูปร่าง
และปริมาตรของเตา ตาแหน่ง และจานวนรู
ที่เจาะ การออกแบบรูปร่างของเตาชีวมวล
ที่ดีจะช่วยในการจากัดอากาศ ให้เหมาะสม
ต่อการเผาไหม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การออกแบบ
รูปร่างของ
เตาชีวมวล
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. เศรษฐกิจ ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบของเตาชีวมวล
อย่างหลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
เตาชีวมวลหลากหลายรูปแบบ
4. มนุษย์สังคม
และสิ่งแวดล้อม
มนุษย์เริ่มตระหนักถึงปัญหาพลังงานที่ลดน้อยลง ชีวมวล จึงเป็นพลังงาน
ทดแทนทางเลือกหนึ่งที่ถูกนามาใช้เพื่อทดแทนปัญหาพลังงาน แก้ไขปัญหาขยะ
เหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่งผล
ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและปัญหา
ฝุ่นและควันจากการเผาไหม้ที่เป็นปัญหา
ทั้งต่อมนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม
ปัญหาขยะเหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สรุปการเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล
การกาจัดขยะทางภาคเกษตรกรรม
ด้วยวิธีการเผา
ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ
ปัญหาฝุ่นและควัน
เทคโนโลยีเตาชีวมวล
ใช้เชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
• แก้ไขปัญหาขยะทางการเกษตร
• ลดมลภาวะทางอากาศ
• เป็นพลังงานทดแทนทางเลือก
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
กังหันน้าบาบัดน้าเสีย
กังหันน้าบาบัดน้าเสีย
เป็นเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้า สามารถปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้นได้เหมาะสาหรับนาไปติดตั้ง
เพื่อบาบัดน้าเสียในสถานที่ต่างๆ เช่น แม่น้าลาคลอง โรงงานอุตสาหกรรม บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
มอเตอร์หมุนใบพัด ใบพัดตีน้า/ ใบพัดวิดน้าขึ้นไปด้านบน ช่วยเติมอากาศให้กับน้า
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การเกิดเทคโนโลยีกังหันน้า บาบัดน้าเสียสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้
ปัจจัย เหตุ - ผล
1. ความต้องการ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
การขาดจิตสานึกของประชาชน ในการทิ้งขยะลงแม่น้าลาคลอง
การปล่อยน้าเสียจากภาคครัวเรือน ภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม
ลงสู่แม่น้าลาคลอง เป็นสาเหตุให้เกิดน้าเน่าเสีย เกิดปัญหามลพิษทางน้า
ปัญหาน้าเน่าเสีย บาบัดน้าเสีย
ในบ่อปลา
บาบัดน้าเสีย
ตามคูคลอง
บาบัดน้าเสีย
แหล่งน้าสาธารณะ
เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ จึงเกิดแนวคิดการบาบัดน้า โดย
กังหันน้าบาบัดน้าเสีย เป็นแนวคิดหนึ่งที่ทาได้ง่าย สะดวก ช่วยบาบัดน้าเสีย
ตามคูคลอง แหล่งน้าสาธารณะ บ่อบาบัดน้าของโรงงานอุตสาหกรรม
บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ความก้าวหน้า
ของศาสตร์ต่าง ๆ
กังหันน้าบาบัดน้าเสียได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัย ความรู้
จากศาสตร์ต่าง ๆ เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น
• วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่องการเพิ่มออกซิเจนให้กับน้า เพื่อช่วยลด
ความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า
• คณิตศาสตร์ ใช้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง ความยาว และ
ความลึกของกังหัน เพื่อคานวณหาพื้นที่สัมผัสระหว่างน้ากับอากาศที่เหมาะสม
• วิศวกรรมศาสตร์ ใช้ในการออกแบบโครงสร้าง ระบบกลไก ระบบไฟฟ้า
และการเลือกใช้วัสดุต่าง ๆ
การออกแบบโครงสร้างกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบ
ของกังหันน้าบาบัดน้าเสียที่หลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
กังหันน้าบาบัดน้าเสียหลากหลายรูปแบบ
3. เศรษฐกิจ
ปัจจัย เหตุ - ผล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มลพิษทางน้าที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์เองเช่น หากสัมผัสน้า
เน่าเสียอาจทาให้เกิดอาการคัน มีผื่นขึ้นตามร่างกาย น้าส่งกลิ่นเหม็น และภาพ
ขยะในน้าส่งผลต่อสุขภาพจิตใจของตนเองชุมชน และสังคม หากมีน้าเน่าเสีย
ตามแหล่งน้าขนาดใหญ่จะส่งผลถึงการท่องเที่ยว และภาพลักษณ์ของประเทศ
อีกทั้งยังทาให้สัตว์น้าต่าง ๆ ลดน้อยลงด้วย
ผลกระทบของน้าเน่าเสีย
4. มนุษย์สังคม
และสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สรุปการเกิดเทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
การทิ้งขยะ
ลงแหล่งน้า
น้าเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น
เกิดมลภาวะทางน้า
เทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
• เพิ่มออกซิเจนให้กับน้า
• ลดความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า
• ปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น
การปล่อยน้าเสียจากครัวเรือน/
โรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้า

More Related Content

Similar to ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง

เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรWinmixhaha TheJude
 
Design and technology 3 unit 3
Design and technology 3 unit 3Design and technology 3 unit 3
Design and technology 3 unit 3Chompooh Cyp
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5WitthayaMihommi
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์nam pedpuai
 
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์darkfoce
 
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา 3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา TBnakglan
 
Computing science unit 3
Computing science unit 3Computing science unit 3
Computing science unit 3Chompooh Cyp
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptKanpirom Trangern
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะOopip' Orranicha
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...Meenarat Bunkanha
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationTor Jt
 
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา 3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา TBnakglan
 

Similar to ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง (20)

เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
Design and technology 3 unit 3
Design and technology 3 unit 3Design and technology 3 unit 3
Design and technology 3 unit 3
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา 3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
3.3 การวางแผนและดําเนินการแก้ปัญหา
 
Computing science unit 3
Computing science unit 3Computing science unit 3
Computing science unit 3
 
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา pptWeek 2   ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
Week 2 ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ppt
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
 
241203 ed-math
241203 ed-math241203 ed-math
241203 ed-math
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 
Qualify exam2
Qualify exam2Qualify exam2
Qualify exam2
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
 
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา 3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
3.2 การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกรูปแบบวิธีการแก้ปัญหา
 

More from TBnakglan

4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง 4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง TBnakglan
 
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล 4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล TBnakglan
 
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...TBnakglan
 
4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ 4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ TBnakglan
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน TBnakglan
 
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน 5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน TBnakglan
 
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงานTBnakglan
 
Baikwam roootee6
Baikwam roootee6Baikwam roootee6
Baikwam roootee6TBnakglan
 

More from TBnakglan (8)

4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง 4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
4.4 การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการทั้งหมดและการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
 
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล 4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
4.3 กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบและการประเมินผลเชิงตัดสินหรือวัดผล
 
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
4.2 เครื่องมือและซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบันทึก การทดสอบ การวัดผล และการวิเคราะห...
 
4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ 4.1 รูปแบบของการทดสอบ
4.1 รูปแบบของการทดสอบ
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
 
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน 5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
 
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
4.5 นําเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
 
Baikwam roootee6
Baikwam roootee6Baikwam roootee6
Baikwam roootee6
 

ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง

  • 3. แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง วัฏจักรของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม กับเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหา ของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 4. ตัวชี้วัด • วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน (ว 4.1 ม.3/1) เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 5. ความรู้เกี่ยวกับ วิชาคณิตศาสตร์ ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่างๆ และการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับ วิชาวิทยาศาสตร์ ความรู้ อื่น ๆ เทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับ วิศวกรรมศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับ เกษตรศาสตร์ ช่วยในการแก้ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เพิ่มประสิทธิภาพในงาน
  • 6. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่างการแก้ปัญหาและการประยุกต์เทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ มาบูรณาการร่วมกัน เตาชีวมวล แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย กะลามะพร้าว กิ่งไม้ ใช้ทดแทน เตาอั่งโล่ วัสดุเหลือใช้เหล่านี้เรียกว่า ชีวมวล (Biomass) ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเกษตรมาเป็นเชื้อเพลิง เตาชีวมวล
  • 7. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล สามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้ ปัจจัย เหตุ - ผล 1. ความต้องการ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น แกลบ ซังข้าวโพด ชานอ้อย ก่อให้เกิดปัญหาขยะ การแก้ปัญหาขยะเหล่านี้ด้วยวิธีการเผา ก่อให้เกิด มลพิษทางอากาศ และปัญหาฝุ่นและควัน การเผาวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร ทาให้เกิดปัญหาฝุ่นและควัน วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอัดเม็ด เป็นเชื้อเพลิงชีวมวล ใช้หุงต้มในครัวเรือน เตาชีวมวลจึงเป็นเทคโนโลยีที่ถูกคิดขึ้นมาเพื่อนาวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์และช่วยลดปัญหาการเกิดมลพิษ ทางอากาศ และปัญหาฝุ่น ควันที่เกิดขึ้น
  • 8. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ความก้าวหน้า ของศาสตร์ต่าง ๆ เตาชีวมวลได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัยความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น • วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่อง การเผาไหม้เชื้อเพลิง โดยจากัดอากาศ ให้เหมาะสมต่อการเผาไหม้ (Gasification) เป็นการเปลี่ยนเชื้อเพลิงในชีวมวล ให้กลายเป็นแก๊สที่สามารถเผาไหม้ได้ การเผาไหม้แบบ Gasification • คณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ช่วยในการออกแบบ ขนาด รูปร่าง และปริมาตรของเตา ตาแหน่ง และจานวนรู ที่เจาะ การออกแบบรูปร่างของเตาชีวมวล ที่ดีจะช่วยในการจากัดอากาศ ให้เหมาะสม ต่อการเผาไหม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การออกแบบ รูปร่างของ เตาชีวมวล
  • 9. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. เศรษฐกิจ ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบของเตาชีวมวล อย่างหลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น เตาชีวมวลหลากหลายรูปแบบ 4. มนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม มนุษย์เริ่มตระหนักถึงปัญหาพลังงานที่ลดน้อยลง ชีวมวล จึงเป็นพลังงาน ทดแทนทางเลือกหนึ่งที่ถูกนามาใช้เพื่อทดแทนปัญหาพลังงาน แก้ไขปัญหาขยะ เหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่งผล ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและปัญหา ฝุ่นและควันจากการเผาไหม้ที่เป็นปัญหา ทั้งต่อมนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม ปัญหาขยะเหลือใช้จากภาคเกษตรกรรม
  • 10. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สรุปการเกิดเทคโนโลยีเตาชีวมวล การกาจัดขยะทางภาคเกษตรกรรม ด้วยวิธีการเผา ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ ปัญหาฝุ่นและควัน เทคโนโลยีเตาชีวมวล ใช้เชื้อเพลิงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร • แก้ไขปัญหาขยะทางการเกษตร • ลดมลภาวะทางอากาศ • เป็นพลังงานทดแทนทางเลือก
  • 11. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กังหันน้าบาบัดน้าเสีย กังหันน้าบาบัดน้าเสีย เป็นเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้า สามารถปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้นได้เหมาะสาหรับนาไปติดตั้ง เพื่อบาบัดน้าเสียในสถานที่ต่างๆ เช่น แม่น้าลาคลอง โรงงานอุตสาหกรรม บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า มอเตอร์หมุนใบพัด ใบพัดตีน้า/ ใบพัดวิดน้าขึ้นไปด้านบน ช่วยเติมอากาศให้กับน้า
  • 12. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การเกิดเทคโนโลยีกังหันน้า บาบัดน้าเสียสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้ดังนี้ ปัจจัย เหตุ - ผล 1. ความต้องการ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น การขาดจิตสานึกของประชาชน ในการทิ้งขยะลงแม่น้าลาคลอง การปล่อยน้าเสียจากภาคครัวเรือน ภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม ลงสู่แม่น้าลาคลอง เป็นสาเหตุให้เกิดน้าเน่าเสีย เกิดปัญหามลพิษทางน้า ปัญหาน้าเน่าเสีย บาบัดน้าเสีย ในบ่อปลา บาบัดน้าเสีย ตามคูคลอง บาบัดน้าเสีย แหล่งน้าสาธารณะ เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ จึงเกิดแนวคิดการบาบัดน้า โดย กังหันน้าบาบัดน้าเสีย เป็นแนวคิดหนึ่งที่ทาได้ง่าย สะดวก ช่วยบาบัดน้าเสีย ตามคูคลอง แหล่งน้าสาธารณะ บ่อบาบัดน้าของโรงงานอุตสาหกรรม บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น
  • 13. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ความก้าวหน้า ของศาสตร์ต่าง ๆ กังหันน้าบาบัดน้าเสียได้ถูกประดิษฐ์และออกแบบโดยอาศัย ความรู้ จากศาสตร์ต่าง ๆ เข้ามาบูรณาการร่วมกัน เช่น • วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาศัยแนวคิดเรื่องการเพิ่มออกซิเจนให้กับน้า เพื่อช่วยลด ความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า • คณิตศาสตร์ ใช้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง ความยาว และ ความลึกของกังหัน เพื่อคานวณหาพื้นที่สัมผัสระหว่างน้ากับอากาศที่เหมาะสม • วิศวกรรมศาสตร์ ใช้ในการออกแบบโครงสร้าง ระบบกลไก ระบบไฟฟ้า และการเลือกใช้วัสดุต่าง ๆ การออกแบบโครงสร้างกังหันน้าบาบัดน้าเสีย
  • 14. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความต้องการผลิตเพื่อการค้า ส่งผลให้เกิดการพัฒนารูปแบบ ของกังหันน้าบาบัดน้าเสียที่หลากหลาย และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น กังหันน้าบาบัดน้าเสียหลากหลายรูปแบบ 3. เศรษฐกิจ
  • 15. ปัจจัย เหตุ - ผล เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มลพิษทางน้าที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์เองเช่น หากสัมผัสน้า เน่าเสียอาจทาให้เกิดอาการคัน มีผื่นขึ้นตามร่างกาย น้าส่งกลิ่นเหม็น และภาพ ขยะในน้าส่งผลต่อสุขภาพจิตใจของตนเองชุมชน และสังคม หากมีน้าเน่าเสีย ตามแหล่งน้าขนาดใหญ่จะส่งผลถึงการท่องเที่ยว และภาพลักษณ์ของประเทศ อีกทั้งยังทาให้สัตว์น้าต่าง ๆ ลดน้อยลงด้วย ผลกระทบของน้าเน่าเสีย 4. มนุษย์สังคม และสิ่งแวดล้อม
  • 16. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สรุปการเกิดเทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย การทิ้งขยะ ลงแหล่งน้า น้าเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น เกิดมลภาวะทางน้า เทคโนโลยีกังหันน้าบาบัดน้าเสีย • เพิ่มออกซิเจนให้กับน้า • ลดความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ในน้า • ปรับปรุงคุณภาพน้าให้ดีขึ้น การปล่อยน้าเสียจากครัวเรือน/ โรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แหล่งน้า