SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
อาจารย์มีขั้นตอน
วิธีการจัดการเรียนการสอนอย่างไร
บันทึกวิธีจัดการเรียนการสอน
กิจกรรมที่ 2
ลำดับกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 3
กำรใช้
สื่อ/ICT
บทบำท
นักเรียน
บทบำท
อำจำรย์
สอนคำศัพท์
และให้ปฏิบัติ
ปฏิบัติตำม วีดิโอเพลง
ยกตัวอย่ำง
สถำนกำรณ์
ให้นักเรียนมีส่วน
ร่วมในชั้นเรียนโดย
กำรเล่นเกม
แสดงบทบำทสมมติ
ตำมสถำนกำรณ์ที่
ครูกำหนด
Power
point
เล่นเกมทบทวนควำมรู้
หลังเรียน
Power
point
ขั้นที่ 1 ทบทวนความรู้เดิม
ให้ความรู้ใหม่
ขั้นที่
2
ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ
ขั้นที่
3
จัดการเรียนรู้โดยใช้เกม
ขั้นที่
4
ผู้สอน สอนแบบสาธิตโดยอธิบาย
พร้อมกับทาตัวอย่างไปพร้อม
กัน
ขั้นที่
5
ผู้เรียนแสดงบทบาทหรือ
สถานการณ์สมมติ
ขั้นที่
6
นาไปใช้อย่างมีความสุข
ขั้นที่
7
ทดสอบหลังเรียน
ขั้นที่
8
การใช้สื่อ ICT
ในการเรียนการสอน
เปิดคลิปเพลงให้ผู้เรียน
ร้องและเต้นตาม
เพื่อสื่อให้เห็นภาพและคา
สัมภาษณ์อาจารย์
ออกแบบการเรียนการสอน
อย่างไร
1) มีการนาสื่อ มาเป็นเทคนิคในการสอน โดยผ่านสื่อต่างๆ เช่นPower
point หรือวิดีโอ มาช่วยในการดึงดูดความสนใจให้นักเรียนสนใจที่จะ
เรียนรู้มากยิ่งขึ้น และ โดยการใช้เกม หรือ รูปภาพ ผ่านสื่อต่างๆ
2) สอนให้นักเรียนเข้าใจง่าย และพยายามที่จะสื่อสารหรือพูด
กับนักเรียนเยอะๆ เขาจะได้ฝึกการฟัง เนื่องจากเด็กยังเล็ก
อยู่ ถ้าป้ อนข้อมูลบ่อยๆ เขาก็จะจดจาได้เร็วขึ้น
3) ฝึกให้นักเรียนทากิจกรรมเยอะๆ เพื่อเด็กจะได้ไม่
เคร่งเครียดและชอบที่จะเรียนรู้มากยิ่งขึ้น
3.วิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด/
ทฤษฎีใด/สภาพที่เกิดหลักฐานเชิงประจักษ์ชี้ชัด
จากการจัดการเรียนรู้ของคุณครู Zhang Xuemei ซึ่งสอน
รายวิชาภาษาจีนระดับประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ ายมัธยมศึกษา (มอดินแดง)
พบว่า ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ดังนี้
1.ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด
1) การจัดให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
เป็นสิ่งจาเป็นอย่างมากต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
1. ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด
(Apperception หรือ Herbartianism)
นักคิดคนสาคัญในกลุ่มนี้คือ จอห์น ล็อค (John Locke) วิลเฮล์ม วุนด์
(Wilhelm Wundt) ทิชเชเนอร์ (Titchener) และแฮร์บาร์ต (Herbart) ซึ่งมี
หลักการจัดการศึกษา/การสอน ดังนี้
2) การช่วยให้ผู้เรียนสร้างสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้อย่างดี
3.3 ขั้นการสัมพันธ์ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่
(comparison and abstraction) ได้แก่การขยายความรู้เดิมให้กว้าง
ออกไป โดยสัมพันธ์ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ด้วยวิธีการต่าง ๆ
เช่น การเปรียบเทียบ การผสมผสาน ฯลฯ ทาให้ได้ข้อเท็จจริงใหม่
ที่สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม
3) การสอนโดยดาเนินการตาม 5 ขั้นตอนของแฮร์บาร์ต
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีและรวดเร็ว ขั้นตอนดังกล่าว คือ
3.1 ขั้นเตรียมการหรือขั้นนา (preparation) ได้แก่
การเร้าความสนใจของผู้เรียนและการทบทวนความรู้เดิม
3.2 ขั้นเสนอ (presentation) ได้แก่ การเสนอความรู้ใหม่
3.5 ขั้นประยุกต์ใช้ (application) ได้แก่ การให้ผู้เรียนนาข้อสรุป
หรือการเรียนรู้ที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ๆ
ที่ไม่เหมือนเดิม” ( Dr.Surin , 2553)
3.4 ขั้นสรุป (generalization) ได้แก่ การสรุปการเรียนรู้เป็น
หลักการหรือกฎต่าง ๆ ที่จะสามารถจะนาไปประยุกต์ใช้กับปัญหาหรือ
สถานการณ์อื่นๆต่อไป
สภาพที่เกิดหลักฐานเชิงประจักษ์ชี้ชัด
อธิบายคาสั่งแบบฝึกหัดและให้ลงมือทาเอง
ครูได้ให้นักเรียนออกเสียง ทาท่าทางประกอบ ฟัง ให้ตอบคาถาม
ดูภาพและวิดีโอประกอบการเรียนรู้
ก่อนเรียนรู้เนื้อหาใหม่ ครูจะทบทวนความรู้เดิมที่เรียนแล้วให้
นักเรียน เมื่อทบทวนแล้ว ก็นาเข้าสู่คาศัพท์ใหม่
เชื่อมโยงความรู้ โดยนาคาศัพท์เดิมที่เรียนไปแล้วกับคาศัพท์ใหม่มา
ใช้ด้วยกัน และให้เล่นเกม โดยจะพูดคาศัพท์แล้วให้นักเรียนทาตาม
ใครทาผิดจะให้ออกมาหน้าชั้นเรียน
สรุปความรู้ที่เรียนไปทั้งคาบให้นักเรียนอีกครั้ง
“ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
(Social Cognitive Learning Theory) เป็นทฤษฎีของศาสตราจารย์บันดูรา
แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford) ประเทศสหรัฐอเมริกา บันดูรามีความ
เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการ
เลียนแบบ และเนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ (interact) กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ
ๆ ตัวอยู่เสมอบันดูราอธิบายว่าการเรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและ
สิ่งแวดล้อมในสังคม ซึ่งทั้งผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อกันและกัน
2. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
บันดูรา ได้ให้ความสาคัญของการปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนและ
สิ่งแวดล้อม และถือว่าการเรียนรู้ก็เป็นผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
และสิ่งแวดล้อม โดยผู้เรียนและสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อกัน
และกัน บันดูราได้ถือว่าทั้งบุคคลที่ต้องการจะ เรียนรู้และสิ่งแวดล้อม
เป็นสาเหตุของพฤติกรรมและได้อธิบายการปฏิสัมพันธ์ ดังนี้
ความคิดพื้นฐานของทฤษฎีการเรียนรู้
ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
ทฤษฎีของบันดูรา
บันดูรา ได้ให้ความแตกต่างของการเรียนรู้ (Learning)
และการกระทา (Performance) ว่าความแตกต่างนี้สาคัญมาก
เพราะคนอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่างแต่ไม่กระทา
บันดูราได้สรุปว่า พฤติกรรมของมนุษย์อาจจะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
1. พฤติกรรมสนองตอบที่เกิดจากการเรียนรู้ ผู้ซึ่งแสดงออก
หรือ กระทาสม่าเสมอ
2. พฤติกรรมที่เรียนรู้แต่ไม่เคยแสดงออกหรือกระทา
3. พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออกทางการกระทา เพราะไม่เคยเรียนรู้จริงๆ
“บันดูรา ไม่เชื่อว่าพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะคงตัวอยู่เสมอ”
(http://www.kroobannok.com/35946 ,2553)
สภาพที่เกิดหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ชี้ชัด
1. ผู้สอนได้แสดงตัวอย่ำงของกำรกระทำหลำยๆ ตัวอย่ำง เพื่อ
สอนคำศัพท์ใหม่ สอนกำรออกเสียง และให้ทรำบควำมหมำยของ
คำศัพท์นั้นโดยใช้รูปภำพกำร์ตูน และวิดีโอ
2. ผู้สอนให้คาอธิบายควบคู่ไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละครั้ง
3. จัดให้นักเรียนมีโอกาสที่จะแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ โดยการสาธิตของ
ครู และการใช้สื่อวิดีโอเพลงที่มีคาศัพท์และมีท่าทาง,ประกอบให้นักเรียนได้ร้องเพลง
พร้อมแสดงท่าทาง เช่น ร้องว่า zoubian พร้อมยื่นมือซ้ายออกมา เพื่อจะได้ดูว่า
นักเรียนสามารถที่จะกระทาโดยการเลียนแบบหรือไม่ ถ้านักเรียนทาได้ไม่ถูกต้อง
อาจจะต้องแก้ไขวิธีการสอนหรืออาจจะแก้ไขที่ตัวผู้เรียนเอง
4. ให้แรงเสริมแก่นักเรียนที่สามารถเลียนแบบได้ถูกต้อง เพื่อจะให้นักเรียน
มีแรงจูงใจที่จะเรียนรู้และเป็นตัวอย่างแก่นักเรียน โดยการให้นักเรียนที่สมัครใจ
มาแสดงตัวอย่างสถานการณ์การใช้คาศัพท์ที่ถูกต้องที่หน้าชั้นเรียน เสร็จแล้วให้
เพื่อนปรบมือ ครูกล่าวคาชื่นชม และเล่นเกมทาท่าทางตามคาสั่ง หากใครทาผิด
ก็จะให้มาเต้นหน้าชั้นเรียน
บรรณานุกรม
________. (2553). ทฤษฎีการเรียนรู้. ค้นข้อมูล 29 สิงหาคม 2558, จาก http://www.kroobannok.com/35946
ระพินทร์ โพธิศรี. (2552). หลัก และทฤษฎีกาวัดและประเมินผลการเรียนรู้. อุตรดิต ์ : ค ะคุรุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิต ์.
ศิริทัย ธโนปจัย. (2557). เทคนิคการสอนเด็กประ มศึกษา. ค้นข้อมูล 29 สิงหาคม 2558, จาก
http://www.kroobannok.com/35946
สุมาลี ชัยเจริญ. (2551). เทคโนโลยีการศึกษา หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.
Dr.Surin. (2553). ทฤษฎีและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้. ค้นข้อมูล 29 สิงหาคม 2558, จาก http:// surinx.
blogspot.com/2010/08/2550-40-107-3-1-2-3-20-3-20-4-2550-45.html
นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นำงสำวชฎำภรณ์ พรมคำ รหัสนักศึกษำ
573050472-2
นำงสำวชนกำนต์ จันทิชัย รหัสนักศึกษำ
573050473-0
นำงสำวนันทิยำ พลเยี่ยม รหัสนักศึกษำ
573050489-5
สมาชิก

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนDuangraethai Suanya
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1Knes Kantaporn
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...Kroo Keng
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtthitinanmim115
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์sutham lrp
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์MSWORD2010 COMPUTER
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือTeeraporn Pingkaew
 
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์Duangnapa Inyayot
 
แผนคณิตศาสตร์
แผนคณิตศาสตร์แผนคณิตศาสตร์
แผนคณิตศาสตร์kungkunk
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ StadSandee Toearsa
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3sripayom
 

What's hot (14)

4tablet jamrat
4tablet jamrat4tablet jamrat
4tablet jamrat
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
2tablet jamrat
2tablet jamrat2tablet jamrat
2tablet jamrat
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 1 การแทรกสัญลักษณ์
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
001 อิฐบล็อกจากเถ้าลอย ชช2-วิเคราะห์
 
แผนคณิตศาสตร์
แผนคณิตศาสตร์แผนคณิตศาสตร์
แผนคณิตศาสตร์
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3
 

Similar to การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่

แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนTanchanok Niktoei
 
B slim ครั้งที่ 3
B slim ครั้งที่ 3B slim ครั้งที่ 3
B slim ครั้งที่ 3Pianolittlegirl
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5jittraphorn
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนTanchanok Niktoei
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะkrupornpana55
 

Similar to การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่ (20)

B slim
B slim B slim
B slim
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
ชุดกิจกรรมที่ 1
ชุดกิจกรรมที่  1ชุดกิจกรรมที่  1
ชุดกิจกรรมที่ 1
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้มของ ICT ในการเรียนการสอน
 
Speaking Lesson Plan by ETM
Speaking Lesson Plan by ETMSpeaking Lesson Plan by ETM
Speaking Lesson Plan by ETM
 
B slim ครั้งที่ 3
B slim ครั้งที่ 3B slim ครั้งที่ 3
B slim ครั้งที่ 3
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 

การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนใหม่