SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
คานา
ในปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกันมากทั้งในระดับนานาชาติ
ระดับชาติ และระดับท้องถิ่น เพราะว่ามีปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นทั่วโลกและปรากฎให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง เช่น
การเกิดฝนตกหนักในฤดูแล้ง ทาให้เกิดน้าท่วม ดินพังทลาย การเกิดฝนตกหนักและน้าท่วมในประเทศต่างๆ
หิมะตกหนักในฤดูไม้ผลิหรือการสูงขึ้นของระดับน้าทะเล การเกิดภาวะแห้งแล้ง มีการขาดแคลนน้าที่ใช้
อุปโภคและบริโภค การเกิดไฟป่าที่รุนแรงจนไม่สามารถควบคุมได้ ตลอดจนการเกิดภัยพิบัติจากความ
รุนแรงของลมพายุ ทาให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สมบัติของมนุษย์และทาลายสิ่งแวดล้อมหรือ
ทรัพยากรธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลกระทบกับผลผลิตทางด้านการเกษตรและมี
ความรุนแรงโดยเฉพาะในประเทศแถบโซนร้อน มีการระบาดของศัตรูพืช เช่น แมลงศัตรูพืช โรคพืชและ
วัชพืช การที่บรรยากาศของโลกมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงขึ้น วัชพืชจึงสามารถเจริญเติบโตเร็วและ
แข่งขันกับพืชเศรษฐกิจที่ปลูกไว้ ส่งผลให้ผลผลิตการเกษตรที่ได้ลดน้อยลง ขณะเดียวกันวัชพืชสร้าง
ความทนทานต่อการกาจัดมากขึ้น ทาให้เกิดปัญหาการดื้อต่อสารกาจัดศัตรูพืชส่งผลให้เกิดปัญหาการระบาด
ของวัชพืชชนิดใหม่ตามมา
แมลงและโรคพืชหลายชนิดที่เป็นปัญหาต่อพืชเกษตรก็มีการระบาดเพิ่มขึ้นพร้อมกับทา
ความเสียหายแก่พืชเศรษฐกิจ การระบาดของศัตรูพืชชนิดใหม่ เช่น การระบาดของเพลี้ยแป้ งมันสาปะหลัง
การระบาดของแมลงดาหนาม และหนอนหัวดาในมะพร้าว เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลที่ทาความเสียหายให้แก่
นาข้าวหลายล้านไร่ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบกับการปศุสัตว์ การประมง สัตว์ป่าและพืชป่าบางชนิดอยู่ใน
สถานภาพที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือหาได้ยาก ตลอดจนการแพร่ระบาดของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น จากการระบาดของ
แมลงและโรคพืชที่รุนแรงต่างๆ ดังกล่าว มีนักอนุรักษ์และนักวิชาการทั้งหลายมีการศึกษาและมีการประชุม
ร่วมกันหลายๆครั้งได้ข้อสรุปว่าเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จากผลกระทบที่เกิดขึ้นทาให้นักอนุรักษ์ นักวิชาการ และบุคคลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มี
การประชุมร่วมกันทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับท้องถิ่นกันบ่อยครั้ง มีการกาหนดอนุสัญญา
นานาชาติเพื่อให้ประเทศภาคีสมาชิกได้ปฏิบัติ เรียกว่าอนุสัญญานานาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ (Convention on Climate Change) โดยการกาหนดข้อปฏิบัติ มาตรการต่างๆ ระเบียบ ข้อบังคับให้
ประเทศภาคีสมาชิกช่วยกันลดปัญหาการเกิดสภาวะโลกร้อน หรือการเกิดภาวะเรือนกระจกหรือการปล่อย
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้มีการกล่าวถึง คือ การปล่อย
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ แหล่งชุมชน การขนส่งและซากพืช เป็นต้น
- ก -
นักวิชาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติหรือการจัดการพื้นที่คุ้มครองทั้งในระดับ
นานาชาติและระดับชาติได้ประชุมร่วมกัน และพิจารณาว่าพื้นที่คุ้มครองที่เป็นพื้นที่ป่าไม้ทุ่งหญ้า ป่าพรุ ป่า
ชายเลน ทะเลและชายฝั่งเป็นแหล่งดูดซับคาร์บอนหรือเก็บกักคาร์บอนที่สาคัญของโลก ช่วยในการลดภาวะ
โลกร้อนหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ ปัญหาการทาลายป่ าไม้ การยึดถือครอบครองที่ดินป่าไม้
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรป่าไม้ความแห้งแล้ง การเกิดไฟป่า เหล่านี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและ
เป็นผลกระทบกับเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย์ เช่น ความแห้งแล้งก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้าที่
สะอาดสาหรับใช้ในการอุปโภคและบริโภค ปัญหาการลดลงของผลผลิตทางด้านการเกษตร การเกิดลมพายุ
ที่รุนแรงเป็นไต้ฝุ่น ไซโคลน เฮอริเคนหรือทอร์นาโด การเกิดโรคระบาดหรือการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์
ต่างถิ่น
ฉะนั้น นักวิชาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งหลายจึงได้เสนอให้องค์กร
นานาชาติ รัฐบาลของประเทศต่างๆ องค์กรภาคเอกชน รัฐบาลท้องถิ่น ให้เห็นถึงความสาคัญของพื้นที่
คุ้มครองที่เป็นประโยชน์ในการดูดซับและเก็บกักคาร์บอนไว้ในพื้นที่ จึงได้มีการดาเนินงานวางแผนการ
จัดการ การดูแล รักษา ป้ องกัน และการศึกษาถึงพื้นที่คุ้มครองที่มีส่วนในการเก็บกักคาร์บอนเพื่อลดภาวะ
โลกร้อนหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เอกสารฉบับนี้ได้รวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง การคงไว้
การปรับปรุงและการดาเนินงานภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะให้เป็นแหล่งดูดซับ เก็บ
กักคาร์บอนและเป็นประโยชน์ในด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครองต่อไป
ทวี หนูทอง
- ข -
สารบัญ
หน้า
คานา ก
บทที่ 1 วิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1
บทที่ 2 พื้นที่คุ้มครองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 14
บทที่ 3 บทบาทของพื้นที่คุ้มครองกับการควบคุมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 29
บทที่ 4 บทบาทและภาระหน้าที่ของพื้นที่คุ้มครอง 36
บทที่ 5 โอกาสในการใช้พื้นที่คุ้มครองเพื่อการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 48
บทที่ 6 แผนการจัดการและบทบาทหน้าที่ของพื้นที่คุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
54
บทที่ 7 ข้อคิดเห็นเชิงนโยบาย 64
เอกสารประกอบการเรียบเรียง 70
- 1 -
บทที่ 1
วิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ในขณะที่โลกเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 มลพิษสิ่งแวดล้อมในสังคมโลกก็กาลังก้าวสู่ภาวะวิกฤตด้วย
เช่นกัน สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศด้อยพัฒนาเลวร้ายลงเรื่อยๆ
สวนทางกับกระแสการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของโลกอย่างชัดเจน การต่อสู้ดิ้นรนเพื่อแสวงหา
ปัจจัยสี่ และการยังชีพทาได้ลาบากมากขึ้นทุกขณะ ธรรมชาติของโลกถูกกระทาโดยมนุษย์ด้วยกันเองทาลาย
จนเสี ยสมดุล อุณหภูมิภายในโลกร้อนขึ้ นจนสิ่ งมีชีวิตบางชนิดทนไม่ได้และตายไป
บางชนิดใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างกะทันหัน
สภาวะดังกล่าวส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่และชีวิตของมนุษย์ โดยเป็นปัญหาร่วมของประเทศต่างๆ
ทั่วโลก
ปัญหาสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ มนุษย์เป็นผู้บริโภคที่สาคัญ โดยใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือย บริโภคพลังงานและอื่นๆ อีกมากมาย การกระทาเหล่านี้ของมนุษย์เป็นการ
กระทาที่เกิดขึ้นมานานหลายศตวรรษ กว่ามนุษย์จะตระหนักถึงการกระทา ปัญหาต่างๆ ก็ยากที่จะแก้ไขไม่ว่า
จะเป็นปัญหามลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ ปัญหาระบบนิเวศที่ถูกทาลาย ปัญหาการขาดแคลนน้า ปัญหา
ป่าไม้ถูกทาลาย ปัญหาทรัพยากรขาดแคลน และปัญหาสภาวะโลกร้อน เป็นต้น
ประเทศต่างๆ ทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ ทาให้ประเด็นเรื่อง
สิ่งแวดล้อมเริ่มมีการกล่าวถึงอย่างจริงจังในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาและนามาสู่ความร่วมมือหลายด้านเพื่อ
แก้ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามความพยายามของมนุษย์ในการแก้ปัญหาเหล่านี้ยังไม่สามารถ
ทดแทนกับสิ่งที่มนุษย์ได้กระทา ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีการกล่าวถึงในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 และ
ได้รับความสาคัญมากขึ้น ประเด็นหนึ่ง คือ สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของโลกหรือที่เรียก
สั้นๆ ว่า สภาวะโลกร้อน เป็นสภาวะที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นและเป็นการสูงขึ้นในระดับที่ส่งผล
กระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศของโลก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
ยังนามาซึ่งปัญหาต่างๆ รวมทั้งภัยพิบัติทางธรรมชาติ คลื่นความร้อนที่ทาให้มนุษย์ล้มตายและภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติที่รุนแรงขึ้นไม่ใช่สิ่งที่เห็นแต่ในภาพยนตร์อีกต่อไป
สภาวะโลกร้อนได้มีการกล่าวถึงกันมาเป็นเวลากว่าร้อยปี ในปี ค.ศ.1898 นักวิทยาศาสตร์ชาว
สวีเดน ชื่อ Svante Ahrenius ได้เตือนว่า การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อาจจะทาให้เกิดสภาวะโลกร้อน
ได้ แต่ความคิดของเขากลับไม่ได้รับความสนใจจนกระทั่งอีก 80 ปีต่อมา นักวิทยาศาสตร์จึงเริ่มให้ความ
สนใจเรื่องสภาวะโลกร้อน เนื่องจากมีความเข้าใจเกี่ยวกับบรรยากาศโลกมากขึ้น ในปี ค.ศ.1978 ได้มีการ
ประชุมสภาพภูมิอากาศโลกเป็นครั้งแรก นักวิทยาศาสตร์ต่างตระหนักว่าการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศของโลกเป็นปัญหาใหญ่และมีผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ที่ประชุมได้มีปฏิญญาเรียกร้องให้
- 2 -
รัฐบาลของประเทศต่างๆ วิเคราะห์และป้ องกันการกระทาของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งจะ
ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษยชาติ นอกจากนี้ ปฏิญญาดังกล่าวยังได้กาหนดแผนในการจัดตั้ง “แผนงาน
สภาพภูมิอากาศโลก (World Climate Program)” ภายใต้ความรับผิดชอบร่วมกันขององค์การอุตุนิยมวิทยา
โลก (World Meteorological Organization) โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations
Environment Program) และ International Council of Scientific Unions
1.1 คานิยามของสภาวะโลกร้อนและปรากฏการณ์เรือนกระจก
สภาวะโลกร้อน (Global warming) เป็นปรากฏการณ์ที่นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่ามีสาเหตุ
มาจากปรากฏการณ์เรือนกระจกและการที่ชั้นโอโซนถูกทาลายจนทาให้เกิดการสะสมของอุณหภูมิ
พื้นผิวโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ จนมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศของโลก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) คือ สภาพที่ความร้อนรอบโลกถูกกั้นความร้อน
หรือก๊าซเรือนกระจกเก็บกักเอาไว้ไม่ให้สะท้อนหรือแผ่ออกสู่ภายนอกโลก ในความเป็นจริงโลกเรามีก๊าซที่
ทาหน้าที่เป็นกระจกตามธรรมชาติอยู่แล้ว คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้า ซึ่งจะคอยควบคุมให้
อุณหภูมิของโลกโดยเฉลี่ยมีค่าประมาณ 15 องศาเซลเซียส และถ้าหากไม่มีกระจกตามธรรมชาติอุณหภูมิโลก
จะเหลือเพียง -20 องศาเซลเซียส มนุษย์สัตว์และพืช ก็จะล้มตายและโลกก็จะเข้าสู่ยุคน้าแข็งอีกครั้ง แต่สิ่งที่
โลกกาลังเผชิญอยู่นี้ก็คือการที่มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศมากเกินไป
ทาให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากไม่สามารถถ่ายเทความร้อนออกไปนอกโลกได้ โดยปริมาณ
ก๊าซที่เพิ่มขึ้นนี้ส่วนใหญ่มาจากการกระทาของมนุษย์นอกจากนี้การที่ชั้นโอโซนซึ่งทาหน้าที่ช่วยกรองรังสี
อัลตร้าไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ถูกทาลายจากการใช้สารเคมีของโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะสารคลอ
โรฟลูโอโรคาร์บอน (CFCs) ก็ทาให้ความร้อนจากภายนอกเข้ามายังโลกมากขึ้นด้วย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) หมายถึง ผลโดยตรงหรือโดยอ้อมจาก
กิจกรรมของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของชั้นบรรยากาศโลก และเป็นการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่า
การเปลี่ยนแปลงจากความแปรปรวนทางสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในช่วงเวลาเดียวกัน
ดังนั้นความสาคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ การตระหนักและเข้าใจในปัญหาที่
เกิดขึ้น โดยมีการดาเนินการใน 2 ด้านหลัก คือ การรับมือและการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ และการลดหรือชะลอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยการลดการปล่อยก๊าซเรือน
กระจก
- 3 -
1.2 ก๊าซเรือนกระจกและแหล่งกาเนิด
ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีสัดส่วนในบรรยากาศ
ประมาณ 53 เปอร์เซ็นต์พบว่า ในปัจจุบันมีอยู่ในชั้นบรรยากาศ 380 โมเลกุลในทุกๆ 1 ล้านโมเลกุลของมวล
อากาศหรือ 380 ส่วนในล้านส่วน (ppm.) ได้มีการคาดการณ์ในอีก 100 ปี ข้างหน้าว่าจะมีปริมาณ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง 1,000 ส่วนในล้านส่วน จากการใช้พลังงานเชื้อเพลิงจากฟอสซิลที่มี
องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นคาร์บอน นอกจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ยังมีก๊าซมีเทน (CH4) ที่มีสัดส่วน
ประมาณ 17 เปอร์เซ็นต์ของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด ก๊าซมีเทนเป็นก๊าซที่เกิดจากการปลูกข้าวและการเผา
ไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิล ก๊าซมีเทนมีความสามารถในการดูดซับรังสีความร้อนในบรรยากาศได้มากกว่า
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 25 เท่า ซึ่งประเทศที่ทาการเกษตรถูกมองว่าเป็นผู้ผลิตก๊าซมีเทนมากที่สุดที่จาก
วิธีการปลูกข้าวแบบน้าท่วมขังจนเกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์แล้วได้ก๊าซมีเทนเป็นจานวนมาก
ก๊าซโอโซน (O3) เป็นก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญอีกชนิดหนึ่งมีสัดส่วน 13 เปอร์เซ็นต์ ของก๊าซเรือนกระจก
ทั้งหมด เกิดจากการสันดาปของเครื่องยนต์ ยานพาหนะ มีอยู่ในธรรมชาติน้อย ปกติจะเป็นก๊าซที่ช่วยในการ
ป้ องกันรังสีอัลตราไวโอเลตในชั้นบรรยากาศสูงๆ แต่ที่ระดับผิวโลกจะเป็นออกซิไดซ์ (oxidized)
ทาปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิต สามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้มากกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 2,000
เท่า ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) มีสัดส่วนประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดเกิดจาก
โรงงานอุตสาหกรรมเคมีและพลาสติก โดยการใช้กรดไนตริกในกระบวนการผลิตการใช้ปุ๋ ยไนโตรเจนมี
ความสามารถในการดูดซับความร้อนได้ดีกว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 200 เท่า ก๊าซกลุ่มซีเอฟซี (CFC)
เป็นส่วนที่เหลือของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด โดยเกิดจากการเป็นสารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน
(chlorofluorocarbon compounds) ที่ใช้ในการทาความเย็นของเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น สเปรย์น้ายาดับเพลิง
ฯลฯ สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเป็นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดรูโหว่ของโอโซนในชั้นบรรยากาศมี
ความสามารถดูดซับความร้อนได้ดีกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 10,000 เท่า
1.3 ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนและปรากฏการณ์เรือนกระจก
3.1 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก (Effect of climate change) ข้อมูลด้าน
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งครอบคลุมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 เป็นต้นมา ผลจาก
การศึกษาและการสังเกตแนวโน้มสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและชีวภาพ รวมทั้งความสัมพันธ์ต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในแต่ละเขต พบว่า มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษา
ปัจจุบัน ชี้ให้เห็นถึงการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในการสังเกตความอุ่นขึ้นกับผลกระทบที่เกิด
อย่างกว้างขวาง การประเมินสรุปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในเขตต่างๆ มีผลกระทบต่อด้านกายภาพ
และชีวภาพมากมายและเป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือสูง ข้อมูลการสังเกตจากทวีปและมหาสมุทรส่วนใหญ่
แสดงให้เห็นว่าระบบธรรมชาติกาลังได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
- 4 -
เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนก็จะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพของหิมะ น้าแข็ง และพื้นดินที่จับเป็ นน้าแข็ง
ซึ่งรวมถึงน้าแข็งที่แทรกตัวอยู่ในอนุภาคดิน (permafrost) จนเกิดปรากฎการณ์ที่สามารถสังเกตเห็นได้ดังนี้
- การเพิ่มจานวนและขนาดของทะเลสาบน้าแข็ง
- การเพิ่มชั้นใต้ดินที่ไม่เสถียรของส่วนน้าแข็งที่แทรกตัวอยู่ในอนุภาคดิน (permafrost) และการ
ขยายตัวของหินภูเขาในเขตภูเขา
- การเปลี่ยนแปลงในส่วนระบบนิเวศอาร์คติคและแอนตาร์คติค รวมทั้งในส่วนของชีวมณฑล
น้าแข็งในทะเล (sea-ice biome) และการเพิ่มขึ้นของผู้ล่าของสายใยอาหาร หลักฐานจากการเพิ่มขึ้นของ
เหตุการณ์ต่างๆ มีความน่าเชื่อถือสูงถึงผลกระทบต่อระบบอุทกวิทยาที่เกิดขึ้น คือ
1. การเพิ่มขึ้นของน้าไหลบ่าหน้าดินและการไหลของน้าที่เกิดขึ้นเร็วในฤดูใบไม้ผลิจากธาร
น้าแข็งและหิมะละลายลงสู่แม่น้า
2. บริเวณขั้วโลกและบริเวณส่วนที่เหนือขึ้นไปมีการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของพืชและสัตว์
จากข้อมูลภาพดาวเทียมตั้งแต่ พ.ศ. 2523 พบว่า มีแนวโน้มว่าทุกส่วนของหลายๆ เขตปรากฏให้เห็น
“สีเขียว” ของพืชพันธุ์ในฤดูใบไม้ผลิค่อนข้างเร็ว ซึ่งเชื่อมโยงถึงฤดูการเจริญเติบโตที่อบอุ่นขึ้นและค่อนข้าง
ยาวนานมีความชัดเจนมากขึ้น พื้นฐานปรากฏการณ์ที่มีระดับนัยสาคัญจากการสังเกตเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิตทั้งมหาสมุทรและน้าจืดเกี่ยวข้องกับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิน้า
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของชั้นน้าแข็งที่ปกคลุม ความเค็ม ระดับออกซิเจนที่ละลายน้าได้ดี และการ
หมุนเวียนต่างๆ ซึ่งรวมทั้งการขยับขยายขอบเขตของสาหร่าย แพลงก์ตอน และความอุดมสมบูรณ์ของปลา
ในบริเวณมหาสมุทรละติจูดจากการเพิ่มขึ้นของสาหร่ายและความมากมายของแพลงก์ตอนสัตว์
ในพื้นที่ที่มีระดับเส้นรุ้งสูง และทะเลสาบที่อยู่สูงจากระดับน้าทะเลมาก มีการเปลี่ยนแปลงและการอพยพ
ของปลาในแม่น้าจะรวดเร็วขึ้น
มีการศึกษาถึงการดูดซับของปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์จากกิจกรรมของมนุษย์มาตั้งแต่ปี
พ.ศ.2293 พบว่าน้าในมหาสมุทรมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้น มีค่าเฉลี่ยของความเป็นกรด-ด่างลดลงประมาณ 0.1
หน่วย ผลกระทบอื่นๆ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพอุณหภูมิอากาศตามเขตต่างๆ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมปรากฏขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีความยุ่งยากที่จะบ่งบอกถึงเรื่องการปรับตัวและไม่ใช่ปัจจัยด้านสภาพ
ภูมิอากาศจากการที่อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ความน่าเชื่อถือในระดับปานกลางมีดังนี้
- ผลกระทบด้านการเกษตรและการจัดการป่าไม้ในเขตเหนือเส้นศูนย์สูตรและระดับน้าทะเลที่
สูงขึ้น เช่น การเริ่มฤดูใบไม้ผลิที่มาเร็วขึ้น การเปลี่ยนแปลงขอบเขตของการถูกรบกวนของป่าไม้เนื่องจาก
ไฟป่าและการระบาดของแมลง
- บางประเด็นของสุขภาพของมนุษย์ เช่น คลื่นความร้อนทาให้มีประชากรเสียชีวิต ในยุโรปมี
การระบาดของโรคในบางพื้นที่ การเกิดภูมิแพ้ในพื้นที่สูง และทางเหนือเขตศูนย์สูตร
- 5 -
- กิจกรรมของมนุษย์ในบริเวณขั้วโลกอาร์คติด เช่น การล่าสัตว์และการเดินทางบนหิมะน้าแข็ง
และพื้นที่ตอนล่างของเทือกเขาแอลพ์ การเล่นกีฬาบนภูเขาไม่เป็นไปตามปกติ การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศในปัจจุบันและความผันแปรของสภาพภูมิอากาศเริ่มต้นมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ
และระบบนิเวศของมนุษย์อย่างไรก็ตาม เอกสารที่มีการเผยแพร่ผลกระทบเหล่านี้ยังแสดงแนวโน้มให้เห็นที่
ชัดเจน คือ การตั้งถิ่นฐานบนเขตภูเขาสูงเป็นการขยายความเสี่ยงให้ธารน้าแข็งมีการละลายและเกิดน้าท่วม
ฉับพลัน รัฐบาลบางแห่งเริ่มต้นที่จะมีโครงสร้างเขื่อนและระบบระบายน้า ในเขตซาฮาราของแอฟริกา สภาพ
อากาศที่อุ่นขึ้นและการขยายพื้นที่แห้งแล้ง ส่งผลให้ลดช่วงระยะเวลาเจริญเติบโตของพืช ซึ่งมีผลต่อพืช
เกษตรทางตอนใต้ของแอฟริกา มีช่วงฤดูร้อนที่ยาวนานและความไม่แน่นอนของฤดูฝนกาลังอยู่ในระหว่าง
การตรวจวัด นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเลและการพัฒนาของมนุษย์ก็ก่อให้เกิดการสูญเสีย
พื้นที่ชุ่มน้าชายฝั่งและป่าชายเลนและเพิ่มความเสียหายในพื้นที่ชายฝั่งบางส่วนที่ถูกน้าท่วม
1.3.2 ผลกระทบที่มีต่อระดับน้าทะเล (Effect of sea level) ความถี่ของการเกิดผลกระทบ
สะท้อนภาพในอนาคตของปริมาณน้าฝนและความผันแปรของสภาพอากาศโดยเฉพาะอุณหภูมิ ระดับความ
สูงของน้าทะเล และความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ขนาด และช่วงเวลาของผลกระทบ
มีความผันแปรไป โดยขึ้นอยู่กับจานวนและเวลาของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และในบางกรณี
ศักยภาพในการปรับตัวโดยมีรายละเอียดของข้อมูลในปัจจุบันที่ครอบคลุมระบบนิเวศและภาคส่วนต่างๆ
เกี่ยวข้องกับผลกระทบต่อธรรมชาติในอนาคต
ในช่วงกลางศตวรรษ ปริมาณน้าท่วมโดยเฉลี่ยและการอานวยน้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 10-40%
บริเวณพื้นที่อยู่ในระดับสูง ในบางพื้นที่ในเขตชุ่มชื้นของป่าเขตร้อนชื้น (wet tropical area) จะมีการลดลง
ประมาณ 10-30% ในเขตแห้งแล้งช่วงกลางละติจูดและในพื้นที่เขตร้อนชื้นที่แห้ง (dry tropics) บางพื้นที่บ่ง
บอกถึงมีความกดดันในเรื่องน้า ในบางพื้นที่และบางฤดูกาล มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปมากกว่านี้
ผลกระทบที่เกิดจากความแห้งแล้งมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นและขยายเป็นวงกว้าง มีปริมาณฝนตกหนัก และ
มีแนวโน้มที่จะมีความถี่เพิ่มมากขึ้น มีความเสี่ยงต่อการเกิดน้าท่วมฉับพลัน ในช่วงร้อยปีที่ผ่านมา แหล่ง
อานวยน้าจะถูกเก็บกักไว้ที่ธารน้าแข็งและการปกคลุมของหิมะและน้าที่สามารถนามาใช้ในเขตนั้น
คาดการณ์ว่าจะลดลง
ระบบนิเวศชายฝั่งและในพื้นที่ลุ่มต่ามีแนวโน้มที่จะเผชิญกับความเสี่ยงจากน้าท่วม รวมถึงการ
กัดเซาะของชายฝั่ง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเล ผลกระทบ
จะมีความร้ายแรงมากขึ้น เนื่องจากความกดดันในเรื่องจานวนประชากรบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ปะการังมีความ
เปราะบางต่อความกดดันของความร้อนและมีศักยภาพในการปรับตัวต่า การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิพื้นผิวน้า
ประมาณ 1-3 องคาเซลเซียส มีแนวโน้มที่จะทาให้เกิดปะการังฟอกขาวและมีการตายอย่างกว้างขวาง อย่าง
น้อยที่สุดปะการังอาจมีการปรับตัวหรือทาให้เกิดการปรับตัวเข้ากับพื้นที่ พื้นที่ชุ่มน้าชายฝั่งรวมทั้งพื้นที่ดิน
เลนเค็มและป่าชายเลนมีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากภัยน้าท่วมจากการเพิ่มขึ้นของน้าทะเล โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งมีความกดดันต่อความลึกที่เข้าไปสู่แผ่นดินหรือการตายจากตะกอนทับถม ประชากรจานวนหลาย
ล้านมีแนวโน้มว่าจะถูกน้าท่วมทุกปีเนื่องจากระดับน้าทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น ในปี พ.ศ. 2623 พื้นที่ที่มีประชากร
- 6 -
หนาแน่นและอยู่ในพื้นที่ลุ่มต่า ซึ่งมีศักยภาพในการปรับตัวต่า จะเผชิญกับพายุเขตร้อนและการจมลงของ
ชายฝั่ง จานวนของผลกระทบมีขนาดใหญ่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ของเอเชียและแอฟริกา
ขณะที่เกาะขนาดเล็กมีแนวโน้มเปราะบางสูง มีความเสี่ยงในการจมน้า ความสามารถในการปรับตัวเป็นสิ่งที่
ท้าทายในประเทศกาลังพัฒนามมากกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว เนื่องจากข้อจากัดต่อความสามารถในการ
ปรับตัว
1.3.3 ผลกระทบที่มีต่อระบบนิเวศ (Effect of ecosystem) ความสามารถในการอยู่รอดของ
ระบบนิเวศเนื่องจากการผสมผสานระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศร่วมกับการรบกวน (เช่น น้า
ท่วม ความแห้งแล้ง ไฟป่า แมลง ความเป็นกรดของน้าทะเล) และการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างอื่นๆ (เช่น
การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน มลพิษ การใช้ประโยชน์ของทรัพยากรที่เกินขอบเขต) ในช่วงร้อยปีที่
ผ่านมา คาร์บอนสุทธิที่ดูดซับโดยระบบนิเวศของป่าไม้ดูเหมือนว่าจะสูงสุดก่อนกลางศตวรรษและลดลงมา
เนื่องจากการขยายตัวของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ประมาณ 20-30% ของชนิดพืชและสัตว์ที่ได้รับการ
ประเมินเบื้องต้นมีความเสี่ยงสูงที่จะสูญพันธุ์เมื่ออุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น 1.2-2.5 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้นร่วมกับการสะสมคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศที่สูงขึ้นนี้อาจทาให้มีการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบนิเวศ หน้าที่และชนิดของระบบนิเวศที่มีความสัมพันธ์กัน รวมทั้งการ
กระจายชนิดของพืชตามสภาพภูมิศาสตร์ ความหลากหลาย ผลประโยชน์จากระบบนิเวศ ความเป็นกรดใน
มหาสมุทรจากการเพิ่มขึ้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศคาดว่าจะมีผลกระทบต่อโครงสร้างของ
สิ่งมีชีวิตในทะเล เช่น ปะการัง เป็นต้น
1.3.4 ผลกระทบที่มีต่อผลผลิตด้านป่าไม้และการเกษตรกรรม (Effect of forestry and
agriculture) ผลผลิตด้านการเกษตรจะเพิ่มขึ้นในบริเวณพื้นที่ช่วงเส้นรุ้งกลางและสูง โดยอุณหภูมิเฉลี่ยใน
ท้องถิ่นจะเพิ่มขึ้นถึง 1-3 องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับชนิดพืช จะลดลงในบางพื้นที่ พื้นที่ใกล้เส้นรุ้งต่า
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูแล้งและเขตร้อนชื้นผลผลิตการเกษตรมีแนวโน้มที่จะลดลง ถึงแม้ว่าจะเป็น
พื้นที่ขนาดเล็กๆเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น 1-2 องศาเซลเซียส ซึ่งจะมีความเสี่ยงในเรื่องความหิวโหย ศักยภาพใน
เรื่องการผลิตอาหารมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นพร้อมกับค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิในท้องถิ่นจะสูงขึ้นประมาณ 1-3 องศา
เซลเซียส แต่หากอุณหภูมิสูงกว่านี้มีแนวโน้มจะมี การเพิ่มขึ้นของความแห้งแล้งและน้าท่วมมีผลกระทบต่อ
ผลผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะในเขตเส้นรุ้งต่า การปรับตัว เช่น การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาการเตรียม
พื้นที่การปลูกในส่วนเส้นรุ้งต่า กลาง และสูง ผลผลิตเกษตรเชิงพาณิชย์เพิ่มขึ้นในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศในระยะสั้นและระยะกลางกลับมีแนวโน้มความผันแปรในขอบเขตที่กว้างขวางทั่วโลก ใน
ระดับภูมิภาค การกระจายของผลผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดพันธุ์ปลา เมื่อน้ามีความอุ่นเพิ่มขึ้นจะมีผลกับ
ผลผลิตด้านการประมง
1.3.5 ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ (Effect of natural disasters) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ( IPCC )รายงานจานวนภัย
พิบัติที่เกิดจากภูมิอากาศและมีความสูญเสียทางเศรษฐกิจของโลกระหว่าง ค.ศ. 1960-2000 (พ.ศ. 2503-2543)
ว่าจานวนภัยพิบัติที่รุนแรงในท้ายทศวรรษ (1990-2000) และ ทศวรรษแรก (1960-1970) เพิ่มขึ้น เป็น 72 ครั้ง
- 7 -
จาก 13 ครั้ง มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่า ความเป็นไปได้ของการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากความรุนแรงของภูมิอากาศในศตวรรษที่ 21 แสดงในตารางที่
1
ตารางที่ 1 ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากความรุนแรงของภูมิอากาศในศตวรรษที่ 21
การเปลี่ยนแปลงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ตัวอย่างของ
ผลกระทบในศตวรรษที่ 21
ตัวอย่างของผลกระทบ
อุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขึ้น วันอากาศร้อน และคลื่น
ความร้อนเพิ่มขึ้น
เพิ่มขึ้น :
 เจ็บป่วยและตายเพิ่มขึ้น
 Heat stress ในปศุสัตว์และสัตว์ป่า
 พืชได้รับความเสียหาย
 ความต้องการใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
ฝนตกแรงและหนักขึ้น เพิ่มขึ้น :
 ความเสียหายจากน้าท่วม ดินทรุด โคลน
ถล่ม
 สาธารณภัย
พายุโซนร้อน (tropical cyclone) เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น :
 ชีวิตมีความเสี่ยงต่อภัยอันตราย
 การระบาดของโรคติดต่อ
 ระบบนิเวศชายฝั่งเสียหาย
น้าท่วมและภัยแล้งรุนแรงขึ้นเนื่องจาก เอล นิโญ ลดลง :
 ผลผลิตการเกษตร
 ศักยภาพของการผลิตไฟฟ้าพลังงานน้า
มรสุมในเอเชียแปรปรวนยิ่งขึ้น ภัยแล้งและน้าท่วมรุนแรงขึ้นในเอเชียและเขตอบอุ่น
ที่มา : กัณฑรีย์ บุญประกอบ (2548)
1.3.6 ผลกระทบที่มีต่อภาคอุตสาหกรรม การตั้งถิ่นฐานและสังคม (Effect of Social and
Industrial) การลงทุนและผลประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่ออุตสาหกรรม การตั้งถิ่นฐาน
และสังคม จะมีความผันแปรตามสถานที่และขนาดในภาพรวม ผลกระทบสุทธิมีแนวโน้มทางลบเมื่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ความเปราะบางด้านอุตสาหกรรมทั้งหมด การตั้งถิ่นฐาน และ
สังคม พบในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งและที่ราบน้าท่วมถึง ซึ่งสภาพเศรษฐกิจมีความเชื่อมโยงต่อความอ่อนไหว
- 8 -
ของสภาพอากาศและพื้นที่เหล่านี้มีสภาพอากาศที่รุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยายตัวของเมือง ชุมชนที่
ยากไร้มีแนวโน้มที่จะมีความเปราะบางที่ชัดเจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง และมี
ความเป็นอยู่ที่ขึ้นกับความอ่อนไหวของสภาพอากาศ เช่น แหล่งน้าและอาหาร ในพื้นที่ที่มีความรุนแรงของ
สภาพอากาศ หรือมีความถี่ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ การลงทุนด้านเศรษฐกิจและสังคมจะได้รับภัยจากเหตุการณ์
เหล่านี้จะสูงขึ้น และการเพิ่มขึ้นของการลงทุนอย่างมีมีนัยสาคัญในพื้นที่เหล่านี้ส่วนมากได้รับผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและได้แผ่กระจายอย่างกว้างขวางจากพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงไปสู่
พื้นที่อื่นและภาคส่วนอื่นที่มีความเชื่อมโยงสลับซับซ้อน
1.3.7 ผลกระทบที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์(Effect of human health) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์เป็นจานวนล้าน ๆ คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ซึ่งมีความสามารถใน
การปรับตัวได้น้อยดังนี้
 การขาดแคลนอาหารมีเพิ่มขึ้นและส่งผลให้เกิดความเจ็บป่วยซึ่งมีผลต่อการพัฒนาการของ
เด็กๆ
 มีผู้เสียชีวิต จากโรคระบาด และมีผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเพิ่มมากขึ้น จากคลื่นความร้อน
น้าท่วม พายุ ไฟป่า และความแห้งแล้ง
 มีปัญหาเกี่ยวกับโรคท้องร่วงเพิ่มขึ้น
 เกิดโรคที่เกี่ยวกับระบบการหายใจเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของโอโซนในบริเวณ
พื้นผิวโลก
 การเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการกระจายของเชื้อโรคที่มีพาหะ การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศมีแนวโน้มที่จะเกิดผลกระทบแบบผสมผสาน เช่น การเพิ่มขึ้นหรือลดลงในขอบเขต และศักยภาพ
การส่ งผ่านของมาลาเรี ยในแอฟริ กา การศึกษาในพื้ นที่เขตอบอุ่นแสดงให้เห็นว่า
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีแนวโน้มที่เกิดประโยชน์บ้าง เช่น จานวนผู้เสียชีวิตลดน้อยลงจากความ
หนาวเย็น โดยรวมคาดว่าประโยชน์เหล่านี้ลดความสาคัญลง จากผลกระทบทางลบจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นทั่ว
โลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกาลังพัฒนา ความสมดุลระหว่างผลกระทบด้านบวกและด้านลบต่อสุขภาพที่
มีความผันแปรจากสถานที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง อาจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขณะที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้น
วิกฤตการณ์เหล่านี้เป็นปัจจัยโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชน เช่น การศึกษา การดูแลสุขภาพ การ
สาธารณสุข การคมนามคม และการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
1.4 การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2537 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมสุทธิ (Gross emission) ของประเทศไทยเมื่อ
เปรียบเทียบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ร้อยละ 23.30 มาจากก๊าซมีเทนและไนโตรเจนออกไซด์
จานวนร้อยละ 6.06 และเมื่อพิจารณาตามสาขาของการปล่อยก๊าซ สาขาการใช้พลังงานเป็นสาขาที่มีการ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง 129,867.65 Gg. หรือร้อยละ 45.42 ของการปล่อยก๊าซทั้งหมด สาขา
- 9 -
เกษตรมีการปล่อยสุทธิมากเป็นอันดับสองรองจากการใช้พลังงาน ก๊าซส่วนใหญ่ที่ปล่อยออกมาคือ ก๊าซ
มีเทนจากกิจกรรมการทานา การเลี้ยงสัตว์ และการจัดการมูลสัตว์โดยคิดเป็นค่าคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง
46,473.70 Gg. ส่วนที่เหลือเป็นไนตรัสออกไซด์ ที่ปล่อยออกมาจากดินและการจัดการมูลสัตว์ปริมาณรวม
สุทธิของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคการเกษตรมีเท่ากับ 77,405.90 Gg. หรือร้อยละ 27.08
ของการปล่อยรวม ดังแสดงในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 การปล่อยสุทธิของก๊าซเรือนกระจกจาแนกตามแหล่งกาเนิด
หน่วย : Gg
CO2
Equivalent
ก๊าซเรือน
กระจก
การใช้
พลังงาน
กระบวนการ
อุตสาหกรรม
การเกษตร การใช้ที่ดิน
และป่ าไม้
ของเสีย รวม
CO2 125,482.80 15,970.40 - 60,475.75 - 201,928.95
CH4 4,127.55 6.51 60,473.70 1,250.97 739.62 66,598.35
N2O 257.30 - 16,932.20 127.10 - 17,316.60
รวม 129,867.65 15,976.91 77,405.90 61,853.82 739.62 285,843.60
ร้อยละของ
การปล่อย
45.42 5.60 27.08 21.64 0.26 100
ที่มา : นาฎสุดา ภูมิจานงค์ (2553)
1.5 บทบาทของ IPCC, UNFCCC และ COP ต่อการดาเนินการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับสากล แบ่งเป็น 2 ฝ่ายคือ ฝ่าย
วิชาการ คือ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel
on Climate Change หรือ IPCC) และฝ่ายอนุสัญญา ได้แก่ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC) และภาคี
สมาชิก (Conference of the Parties หรือ COP) โดยแต่ละฝ่ายทาหน้าที่ ดังนี้
5.1 IPCC ทาหน้าที่เป็นฝ่ายวิชาการ ไม่มีส่วนในการกาหนดนโยบายหรือพันธะกรณีของ
อนุสัญญาฯ หลักเกณฑ์ในการทางานของ IPCC คือ “Policy relevant, but not policy descriptive” หมายถึง
ผลงานของ IPCC ชัดเจนที่ฝ่ายการเมืองหรือฝ่ายบริหารสามารถนาไปใช้ในการกาหนดนโยบายและ
มาตรการต่างๆ ที่เหมาะสมได้ IPCC มีคณะทางานที่รายงานประเด็นด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3
กลุ่ม เพื่อรายงานด้าน
- 10 -
 สภาพภูมิอากาศเชิงวิทยาศาสตร์ (Science of climate) โดยคณะทางานกลุ่มที่ 1 (working
group I) มีหน้าที่ในการแสวงหาข้อเท็จจริงของสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เช่น
climate change scenario เป็นต้น
 การลดสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Mitigation) โดยคณะทางานกลุ่มที่ 3
(working group III)
5.2 UNFCCC และ COP เป็นฝ่ายนโยบายและการเมืองหรือพันธกรณีด้านการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ มีหน้าที่ในการกาหนดนโยบาย มาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศให้ประเทศภาคีสมาชิกปฏิบัติ โดยใช้ข้อมูลจาก IPCC ในทางปฏิบัติการทางานของทั้งสองฝ่ายคือ
ฝ่ายวิชาการ (IPCC) และฝ่ายอนุสัญญาและการเมือง จึงควรแยกการดาเนินงานแต่มีการประสานความ
ร่วมมือกันได้
1.6 พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
ถือกาเนิดขึ้นจากการประชุม ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น (COP-3) เมื่อเดือนธันวาคม ปี ค.ศ.
1997 การประชุมครั้งนี้ได้กาหนดให้มีการลดปริมาณการปล่อยก๊าซที่ทาลายชั้นบรรยากาศลงในปริมาณอย่าง
น้อยร้อยละ 55 ของปริมาณที่ระดับปี ค.ศ. 1990 ในระหว่างปี ค.ศ. 2008-2012 เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย แต่ละ
ประเทศได้ถูกกาหนดให้ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในระดับที่แตกต่างกันและทุกประเทศมีข้อผูกพันตาม
กฎหมาย (legally binding) ในอันที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อตกลงแห่งพิธีสารนี้ ปัจจุบันมีประเทศ
ต่างๆ ร่วมลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารแล้ว 140 กว่าประเทศ ในจานวนนี้ประกอบไปด้วยกลุ่มประเทศ
สหภาพยุโรป แคนาดา ญี่ปุ่น และประเทศที่กาลังพัฒนา และล่าสุดประเทศที่ให้การสัตยาบันพิธีสารเกียวโต
ก็คือ รัสเซีย ซึ่งการเข้าร่วมของรัสเซียนี้สาคัญมากต่อพิธีสารเกียวโต เพราะทาให้พิธีสารดังกล่าวมีผลบังคับ
ใช้ พิธีสารเกียวโตเพิ่งจะมีผลบังคับใช้เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2548 ทั้งๆ ที่ได้มีการลงนามในพิธีสารมาตั้งแต่
วันที่ 11 ธันวาคม 2540 ทั้งนี้เนื่องจากพิธีสารเกียวโตจะมีผลบังคับใช้ก็ต่อเมื่อบรรลุเงื่อนไขสาคัญ 2 ประการ
คือ
ประการแรก จะต้องมีประเทศเข้าร่วม และให้สัตยาบัน หรือให้การยอมรับ เห็นชอบหรือ
ภาคยานุวัติไม่น้อยกว่า 55 ประเทศ
- 11 -
ประการที่สอง จะต้องมีตัวแทนของประเทศพัฒนาแล้วในภาคผนวกที่ 1 ของอนุสัญญาฯ ให้
สัตยาบัน โดยประเทศที่ลงนามในพิธีสารเกียวโตจะต้องมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์รวมกันแล้วได้
อย่างน้อยร้อยละ 55 ของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดที่ประเทศพัฒนาแล้วที่ปล่อยสู่ชั้น
บรรยากาศ เมื่อปี 2533 (ค.ศ. 1990)
เพื่อให้ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ในภาคผนวกที่ 1 สามารถลดภาระในการดาเนินการตาม
พันธกรณีของตนและให้ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ นอกภาคผนวกที่ 1 มีส่วนร่วมในการลดปริมาณการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจก พิธีสารเกียวโตจึงกาหนดกลไกในการดาเนินการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ขึ้นมา 3 กลไก ด้วยกัน คือ
 การซื้อขายก๊าซเรือนกระจก (Emission Trading) มาตราที่ 17 ของพิธีสารเกียวโต
ได้กาหนดกลไกนี้ขึ้น ประเทศที่ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากเกินกว่าที่กาหนด สามารถนา
ส่วนเกินไปซื้อขายในตลาดได้ เป็นการใช้ระบบตลาดที่มีการแข่งขันมาเป็นเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ใน
การทาให้เกิดการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้กลไกทางการตลาดนี้ทา
ให้ก๊าซเรือนกระจกกลายเป็นสินค้าชนิดหนึ่ง เพียงแต่สินค้าที่ซื้อขายคือปริมาณก๊าซที่ลดได้มากกว่าที่
พันธกรณีกาหนดไว้ ซึ่งการค้าขายปริมาณการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกนี้จะทาให้ประเทศที่มี
พันธกรณีสามารถลดต้นทุนในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของตนเองได้ในระดับหนึ่ง
 การดาเนินการร่วม (Joint Implementation : JI) กลไกนี้ได้กาหนดขึ้นภายใต้มาตราที่ 6
ของพิธีสารเกียวโต จากัดให้มีการดาเนินการได้เฉพาะในระหว่างประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ในกลุ่มภาคผนวก
ที่ 1 หรื อกลุ่มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภาคผนวกที่ 1 เท่านั้ น
การดาเนินการร่วมคือ การที่ประเทศที่เกี่ยวข้องตกลงดาเนินโครงการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ร่วมกันและแบ่งสรรปริมาณการลด โดยปริมาณการลดดังกล่าวสามารถนาไปคิดร่วมกับปริมาณการลดของ
ประเทศเหล่านั้นแม้ว่ากลไกร่วมจะกาหนดการลดดังกล่าวสามารถนาไปคิดร่วมกับปริมาณการลดของ
ประเทศนั้น แม้ว่ากลไกร่วมเพื่อการศึกษาและทดลองในขั้นตอนต่าง ๆ ในการดาเนินงานระหว่างประเทศใน
กลุ่มภาคผนวกที่ 1 กับประเทศนอก กลุ่มภาคผนวกที่ 1 ที่เรียกว่า AIJ ( Activity Implemented Jointly)
อย่างไรก็ตาม ปริมาณการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ได้จากการดาเนินงานนี้ไม่สามารถนามา
คานวณหักลบจากปริมาณที่กาหนดไว้ในพันธกรณี
 กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) มาตรา 12 ของพิธีสาร
เกียวโต ได้กาหนดหลักการสาคัญของ CDM ว่ามีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศที่
กาลังพัฒนา ให้ประเทศกาลังพัฒนามีส่วนร่วมในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพื่อให้
ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือประเทศในกลุ่มภาคผนวกที่ 1 สามารถดาเนินการตามพันธกรณีที่กาหนดไว้ใน
มาตราที่ 3 ของพิธีสารเกียวโตได้ กลไกนี้เป็นทางเลือกใหม่ที่สาคัญของประเทศในกลุ่มภาคผนวกที่ 1 ที่
รัฐบาลและเอกชนสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีที่สะอาดไปยังประเทศกาลังพัฒนา แล้วนาเอาผลประโยชน์ใน
รูปของเครดิตในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาร่วมกับการดาเนินการลดภายในประเทศ
- 12 -
อย่างไรก็ตามประเด็นของผลประโยชน์ที่เกิดขึ้ นจากการดาเนินการภายใต้กลไก CDM
ก็ต้องมีการตกลงกันให้ชัดเจนว่าจะมีการแบ่งสรรต้นทุนและผลประโยชน์อย่างไร
การบังคับให้มีการดาเนินตามพันธกรณี ที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยที่ 4
(COP–4) มีมติให้จัดตั้งคณะทางานร่วมระหว่างองค์กรย่อยเพื่อให้คาปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(Subsidiary Body For Scientific and Technological Advice) และองค์กรย่อยเพื่อการอนุวัติ (Subsidiary
Body for Implementation) เพื่อพัฒนาระบบการบังคับและควบคุมให้มีการดาเนินการตามพันธกรณีของพิธี
สารเกียวโต และรายงานผลการดาเนินงานต่อที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ จากทั้งหมดนี้จะเห็น
ว่า พิธีสารเกียวโตนั้นเป็นความพยายามที่จะแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยสาระของ
พิธีสารเกียวโตนั้นเป็นไปเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์หลักของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ อย่างไรก็ตาม พิธีสารเกียวโตก็ยังมีประเด็นที่ต้องมีการตกลงระหว่างประเทศภาคี
โดยเฉพาะมาตรการในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพราะพิธีสารกาหนดเพียงเป้ าหมายและ
กลไกในการปฏิบัติ แต่ไม่ได้ลงรายละเอียดในขั้นตอนการดาเนินการและวิธีการวัดและตรวจสอบ รวมถึง
สาขาที่ควบคุม ซึ่งประเด็นเหล่านี้กลายมาเป็นปัญหาในการเจรจาตกลงระหว่างประเทศภาคีในที่ประชุม
สมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยต่อๆ มา นอกจากประเด็นเหล่านี้ การที่พันธกรณีของพิธีสารเกียวโตมี
ข้อผูกพันทางกฎหมายก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ต้องพิจารณาอย่างละเอียดก่อนที่จะ
ตัดสินใจให้สัตยาบันเพราะการดาเนินการให้เป็นไปตามพันธกรณีจะต้องมีต้นทุนและอาจส่งผลต่อการ
พัฒนาทางเศรษฐกิจได้
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในกลุ่มประเทศที่ไม่มีพันธกรณีในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ภายใต้พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) แต่มีโอกาสที่จะเข้าร่วมโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้กลไก
การพัฒนาที่สะอาดหรือ CDM (Clean Development Mechanism) ซึ่งระบุในมาตรา 12 ของพิธีสารเกียวโต
อันจะนามาซึ่งโอกาสทางธุรกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนสาหรับประเทศไทย หากกาหนดนโยบายและกลยุทธ์
ได้อย่างเหมาะสมก่อนที่ประเทศไทยจะลงนามรับรองพิธีสารเกียวโตในปี พ.ศ. 2535 และให้สัตยาบันในปี
พ.ศ. 2545 นโยบายของประเทศไทยในขณะนั้นส่วนใหญ่สอดคล้องและตอบสนองต่อพิธีสารเกียวโต
โดยเฉพาะนโยบายด้านพลังงานซึ่งทันสมัยและสอดคล้องกับมาตรา 12 ของพิธีสารเกียวโตมาก ขณะที่
นโยบายด้านป่าไม้และที่ดิน (Land Use , Land Use Change and Forestry , LULUCF) ของประเทศที่
สอดคล้องกับพิธีสารเกียวโตก็มีอยู่บ้างแต่มีปัญหาบางประการ คือ ไม่สามารถบังคับใช้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพในทางปฏิบัติ จึงได้มีการศึกษาทบทวนแนวทางปฏิบัติในการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนเพื่อเป็น
แนวทางในการกาหนดมาตรการความยั่งยืนในการพัฒนาในอนาคต (Criteria for Sustainable Development)
ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายหนึ่งในเกณฑ์ความยั่งยืนที่นาเสนอเพื่อการดาเนินโครงการการพัฒนาสะอาดสาหรับ
ประเทศไทย โดยทาโครงการปลูกป่าคาร์บอนเครดิต อย่างไรก็ตาม หากจะดาเนินโครงการ CDM อย่าง
จริงจังและมีประสิทธิผล ประเทศไทยจะต้องเพิ่มเติมนโยบายหรือกฎหมายโดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับ
การคิดเก็บภาษี CDM หรือสร้างแรงจูงใจในการไม่เก็บภาษีเพื่อการพัฒนาแบบยั่งยืนอย่างเต็มที่ รวมทั้ง
จัดตั้งองค์กร NACDM (Nation Authority for CDM) เพื่อทาหน้าที่ประสานงานการดาเนินงานตามกลไก
- 13 -
การพัฒนาสะอาดโดยที่ NACDM ควรเป็นองค์กรอิสระที่มีความคล่องตัวในการดาเนินงานและจัดตั้งขึ้น
เป็นการเฉพาะกิจ เนื่องจากโครงการ CDM มีอายุการดาเนินงานระหว่างปี ค.ศ. 2008-2012 เท่านั้น
วิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (Climate change crisis) เป็นสาเหตุสาคัญ
ของการเกิดสภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลกระทบต่อระดับน้าทะเล ผลผลิตด้านป่ าไม้ การเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม การตั้งถิ่นฐาน และสังคม สุขภาพของมนุษย์ สัตว์ ระบบนิเวศ รวมทั้งการเกิดภัยธรรมชาติ
ต่างๆ ดังนั้นประเทศทั้งหลายในโลกและประเทศไทยควรร่วมมือกันในการจัดการปัญหาสภาวะการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยการวางแผนการจัดการ การดาเนินการในภาวะปัจจุบันเพื่อรองรับการปรับตัว
การคาดการณ์อนาคตให้เป็นระบบและจัดฐานข้อมูลการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพในด้านต่างๆ ที่มีความ
เชื่อมโยงกัน ทั้งนี้ฐานความรู้และเทคโนโลยีที่มีส่วนในการจัดการกับภาวะต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงต้องรองรับ
ได้ทันกับสถานการณ์ และประชาชนในทุกภาคส่วนควรจะมีส่วนร่วมและให้ความสาคัญกับการปรับตัว
ตลอดจนการจัดการเพื่อลดภาวะโลกร้อนในฐานะที่ประชาชนคนไทยทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลก
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
- 14 -
บทที่ 2
พื้นที่คุ้มครองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ได้กาหนดให้มี
การพิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับผลที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการ
คุ้มครองระบบนิเวศให้สามารถปรับตัวหรือช่วยในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โดยเฉพาะแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
องค์กรนานาชาติหรือข้อตกลงหรืออนุสัญญานานาชาติที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะข้อตกลงระหว่าง
ประเทศของอนุสัญญานานาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) และอนุสัญญาว่าด้วย
ความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) มีส่วนเกี่ยวข้องกับการมีผลที่ทาให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดี
ขึ้นหรือปรับตัวได้เนื่องมาจากการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งความรับผิดชอบของรัฐบาลต่างๆ ใน
ระดับชาติที่ให้ความสาคัญกับพื้นที่คุ้มครอง
แนวความคิดของการจัดการพื้นที่คุ้มครองในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันไป
ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการพื้นที่คุ้มครองในแต่ละท้องที่หรือท้องถิ่น เพื่อประโยชน์อย่าง
ใด ใครเป็นผู้ดาเนินการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นใคร
สุดท้ายได้มีการกล่าวถึงว่า ทาไมพื้นที่คุ้มครองจึงเป็นสถานที่ที่จะต้องเผชิญหน้ากับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2.1 การคาดคะเนผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และมนุษย์
“การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลกระทบกับระบบนิเวศทั้งทางบกและทางทะเล
การเปลี่ยนแปลงจะเกิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นในช่วงศตวรรษนี้ ซึ่งจะหมายถึงอาหาร
และน้าจะเกิดการขาดแคลน ภัยธรรมชาติจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง สุขภาพของมนุษย์มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค
หรือได้รับผลกระทบจากโรคระบาด ชนิดพันธุ์บางชนิดอาจจะสูญพันธุ์ได้หรือระบบนิเวศจะถูกทาลายและ
ลดน้อยลง แต่พบว่าระบบนิเวศและชนิดพันธุ์ในพื้นที่คุ้มครองที่มีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพจะไม่ได้รับ
ผลกระทบจากเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้”
จากรายงานของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC)
ว่าเมื่อปี ค.ศ. 2007 ได้มีการนาเอาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจานวน 29,000
เรื่อง จากการศึกษาพบว่ามี 75 เรื่อง ที่ได้แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพและ
กายภาพของพื้นที่ หรือประมาณว่า 89% เป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มี
ผลกระทบกับระบบธรรมชาติ พบว่าทุกทวีปในโลกนี้ตลอดจนมหาสมุทร ระบบนิเวศธรรมชาติหลายๆ แห่ง
ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะการได้รับผลกระทบจากการที่อุณหภูมิ
ที่สูงขึ้น
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

More Related Content

Viewers also liked

การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
03 laboratory exercise 1
03 laboratory exercise 103 laboratory exercise 1
03 laboratory exercise 1Anne Lee
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติyah2527
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการUNDP
 
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010chorchamp
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศUNDP
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยUNDP
 
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งUNDP
 
Presentation 27 March
Presentation 27 March Presentation 27 March
Presentation 27 March UNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 

Viewers also liked (20)

การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
03 laboratory exercise 1
03 laboratory exercise 103 laboratory exercise 1
03 laboratory exercise 1
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
 
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
 
Presentation 27 March
Presentation 27 March Presentation 27 March
Presentation 27 March
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 

Similar to การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนsongpol
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน2348365991
 
Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]numpueng
 
GLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อน
GLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อนGLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อน
GLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อนjeeranan
 
งานผืน
งานผืนงานผืน
งานผืนTen Love
 
งานปืน
งานปืนงานปืน
งานปืนTen Love
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนโลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนPreyaporn Wisetsing
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 

Similar to การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (20)

02
0202
02
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
GLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อน
GLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อนGLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อน
GLOBAL WARMING สภาวะโลกร้อน
 
ภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจกภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจก
 
งานผืน
งานผืนงานผืน
งานผืน
 
งานปืน
งานปืนงานปืน
งานปืน
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนโลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม UNDP
 

More from UNDP (19)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 

การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

  • 1.
  • 2. คานา ในปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกันมากทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับท้องถิ่น เพราะว่ามีปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นทั่วโลกและปรากฎให้เห็นอยู่บ่อยครั้ง เช่น การเกิดฝนตกหนักในฤดูแล้ง ทาให้เกิดน้าท่วม ดินพังทลาย การเกิดฝนตกหนักและน้าท่วมในประเทศต่างๆ หิมะตกหนักในฤดูไม้ผลิหรือการสูงขึ้นของระดับน้าทะเล การเกิดภาวะแห้งแล้ง มีการขาดแคลนน้าที่ใช้ อุปโภคและบริโภค การเกิดไฟป่าที่รุนแรงจนไม่สามารถควบคุมได้ ตลอดจนการเกิดภัยพิบัติจากความ รุนแรงของลมพายุ ทาให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สมบัติของมนุษย์และทาลายสิ่งแวดล้อมหรือ ทรัพยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลกระทบกับผลผลิตทางด้านการเกษตรและมี ความรุนแรงโดยเฉพาะในประเทศแถบโซนร้อน มีการระบาดของศัตรูพืช เช่น แมลงศัตรูพืช โรคพืชและ วัชพืช การที่บรรยากาศของโลกมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงขึ้น วัชพืชจึงสามารถเจริญเติบโตเร็วและ แข่งขันกับพืชเศรษฐกิจที่ปลูกไว้ ส่งผลให้ผลผลิตการเกษตรที่ได้ลดน้อยลง ขณะเดียวกันวัชพืชสร้าง ความทนทานต่อการกาจัดมากขึ้น ทาให้เกิดปัญหาการดื้อต่อสารกาจัดศัตรูพืชส่งผลให้เกิดปัญหาการระบาด ของวัชพืชชนิดใหม่ตามมา แมลงและโรคพืชหลายชนิดที่เป็นปัญหาต่อพืชเกษตรก็มีการระบาดเพิ่มขึ้นพร้อมกับทา ความเสียหายแก่พืชเศรษฐกิจ การระบาดของศัตรูพืชชนิดใหม่ เช่น การระบาดของเพลี้ยแป้ งมันสาปะหลัง การระบาดของแมลงดาหนาม และหนอนหัวดาในมะพร้าว เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลที่ทาความเสียหายให้แก่ นาข้าวหลายล้านไร่ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบกับการปศุสัตว์ การประมง สัตว์ป่าและพืชป่าบางชนิดอยู่ใน สถานภาพที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือหาได้ยาก ตลอดจนการแพร่ระบาดของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น จากการระบาดของ แมลงและโรคพืชที่รุนแรงต่างๆ ดังกล่าว มีนักอนุรักษ์และนักวิชาการทั้งหลายมีการศึกษาและมีการประชุม ร่วมกันหลายๆครั้งได้ข้อสรุปว่าเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จากผลกระทบที่เกิดขึ้นทาให้นักอนุรักษ์ นักวิชาการ และบุคคลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มี การประชุมร่วมกันทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับท้องถิ่นกันบ่อยครั้ง มีการกาหนดอนุสัญญา นานาชาติเพื่อให้ประเทศภาคีสมาชิกได้ปฏิบัติ เรียกว่าอนุสัญญานานาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (Convention on Climate Change) โดยการกาหนดข้อปฏิบัติ มาตรการต่างๆ ระเบียบ ข้อบังคับให้ ประเทศภาคีสมาชิกช่วยกันลดปัญหาการเกิดสภาวะโลกร้อน หรือการเกิดภาวะเรือนกระจกหรือการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้มีการกล่าวถึง คือ การปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ แหล่งชุมชน การขนส่งและซากพืช เป็นต้น - ก -
  • 3. นักวิชาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติหรือการจัดการพื้นที่คุ้มครองทั้งในระดับ นานาชาติและระดับชาติได้ประชุมร่วมกัน และพิจารณาว่าพื้นที่คุ้มครองที่เป็นพื้นที่ป่าไม้ทุ่งหญ้า ป่าพรุ ป่า ชายเลน ทะเลและชายฝั่งเป็นแหล่งดูดซับคาร์บอนหรือเก็บกักคาร์บอนที่สาคัญของโลก ช่วยในการลดภาวะ โลกร้อนหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ ปัญหาการทาลายป่ าไม้ การยึดถือครอบครองที่ดินป่าไม้ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรป่าไม้ความแห้งแล้ง การเกิดไฟป่า เหล่านี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและ เป็นผลกระทบกับเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย์ เช่น ความแห้งแล้งก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้าที่ สะอาดสาหรับใช้ในการอุปโภคและบริโภค ปัญหาการลดลงของผลผลิตทางด้านการเกษตร การเกิดลมพายุ ที่รุนแรงเป็นไต้ฝุ่น ไซโคลน เฮอริเคนหรือทอร์นาโด การเกิดโรคระบาดหรือการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ ต่างถิ่น ฉะนั้น นักวิชาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งหลายจึงได้เสนอให้องค์กร นานาชาติ รัฐบาลของประเทศต่างๆ องค์กรภาคเอกชน รัฐบาลท้องถิ่น ให้เห็นถึงความสาคัญของพื้นที่ คุ้มครองที่เป็นประโยชน์ในการดูดซับและเก็บกักคาร์บอนไว้ในพื้นที่ จึงได้มีการดาเนินงานวางแผนการ จัดการ การดูแล รักษา ป้ องกัน และการศึกษาถึงพื้นที่คุ้มครองที่มีส่วนในการเก็บกักคาร์บอนเพื่อลดภาวะ โลกร้อนหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เอกสารฉบับนี้ได้รวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง การคงไว้ การปรับปรุงและการดาเนินงานภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะให้เป็นแหล่งดูดซับ เก็บ กักคาร์บอนและเป็นประโยชน์ในด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครองต่อไป ทวี หนูทอง - ข -
  • 4. สารบัญ หน้า คานา ก บทที่ 1 วิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1 บทที่ 2 พื้นที่คุ้มครองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 14 บทที่ 3 บทบาทของพื้นที่คุ้มครองกับการควบคุมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 29 บทที่ 4 บทบาทและภาระหน้าที่ของพื้นที่คุ้มครอง 36 บทที่ 5 โอกาสในการใช้พื้นที่คุ้มครองเพื่อการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 48 บทที่ 6 แผนการจัดการและบทบาทหน้าที่ของพื้นที่คุ้มครองที่เกี่ยวข้องกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 54 บทที่ 7 ข้อคิดเห็นเชิงนโยบาย 64 เอกสารประกอบการเรียบเรียง 70
  • 5. - 1 - บทที่ 1 วิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในขณะที่โลกเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 มลพิษสิ่งแวดล้อมในสังคมโลกก็กาลังก้าวสู่ภาวะวิกฤตด้วย เช่นกัน สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศด้อยพัฒนาเลวร้ายลงเรื่อยๆ สวนทางกับกระแสการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของโลกอย่างชัดเจน การต่อสู้ดิ้นรนเพื่อแสวงหา ปัจจัยสี่ และการยังชีพทาได้ลาบากมากขึ้นทุกขณะ ธรรมชาติของโลกถูกกระทาโดยมนุษย์ด้วยกันเองทาลาย จนเสี ยสมดุล อุณหภูมิภายในโลกร้อนขึ้ นจนสิ่ งมีชีวิตบางชนิดทนไม่ได้และตายไป บางชนิดใกล้สูญพันธุ์เนื่องจากไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างกะทันหัน สภาวะดังกล่าวส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่และชีวิตของมนุษย์ โดยเป็นปัญหาร่วมของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปัญหาสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ มนุษย์เป็นผู้บริโภคที่สาคัญ โดยใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือย บริโภคพลังงานและอื่นๆ อีกมากมาย การกระทาเหล่านี้ของมนุษย์เป็นการ กระทาที่เกิดขึ้นมานานหลายศตวรรษ กว่ามนุษย์จะตระหนักถึงการกระทา ปัญหาต่างๆ ก็ยากที่จะแก้ไขไม่ว่า จะเป็นปัญหามลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ ปัญหาระบบนิเวศที่ถูกทาลาย ปัญหาการขาดแคลนน้า ปัญหา ป่าไม้ถูกทาลาย ปัญหาทรัพยากรขาดแคลน และปัญหาสภาวะโลกร้อน เป็นต้น ประเทศต่างๆ ทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ ทาให้ประเด็นเรื่อง สิ่งแวดล้อมเริ่มมีการกล่าวถึงอย่างจริงจังในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาและนามาสู่ความร่วมมือหลายด้านเพื่อ แก้ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามความพยายามของมนุษย์ในการแก้ปัญหาเหล่านี้ยังไม่สามารถ ทดแทนกับสิ่งที่มนุษย์ได้กระทา ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีการกล่าวถึงในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 และ ได้รับความสาคัญมากขึ้น ประเด็นหนึ่ง คือ สภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของโลกหรือที่เรียก สั้นๆ ว่า สภาวะโลกร้อน เป็นสภาวะที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นและเป็นการสูงขึ้นในระดับที่ส่งผล กระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศของโลก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ยังนามาซึ่งปัญหาต่างๆ รวมทั้งภัยพิบัติทางธรรมชาติ คลื่นความร้อนที่ทาให้มนุษย์ล้มตายและภัยพิบัติทาง ธรรมชาติที่รุนแรงขึ้นไม่ใช่สิ่งที่เห็นแต่ในภาพยนตร์อีกต่อไป สภาวะโลกร้อนได้มีการกล่าวถึงกันมาเป็นเวลากว่าร้อยปี ในปี ค.ศ.1898 นักวิทยาศาสตร์ชาว สวีเดน ชื่อ Svante Ahrenius ได้เตือนว่า การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อาจจะทาให้เกิดสภาวะโลกร้อน ได้ แต่ความคิดของเขากลับไม่ได้รับความสนใจจนกระทั่งอีก 80 ปีต่อมา นักวิทยาศาสตร์จึงเริ่มให้ความ สนใจเรื่องสภาวะโลกร้อน เนื่องจากมีความเข้าใจเกี่ยวกับบรรยากาศโลกมากขึ้น ในปี ค.ศ.1978 ได้มีการ ประชุมสภาพภูมิอากาศโลกเป็นครั้งแรก นักวิทยาศาสตร์ต่างตระหนักว่าการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศของโลกเป็นปัญหาใหญ่และมีผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ที่ประชุมได้มีปฏิญญาเรียกร้องให้
  • 6. - 2 - รัฐบาลของประเทศต่างๆ วิเคราะห์และป้ องกันการกระทาของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งจะ ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษยชาติ นอกจากนี้ ปฏิญญาดังกล่าวยังได้กาหนดแผนในการจัดตั้ง “แผนงาน สภาพภูมิอากาศโลก (World Climate Program)” ภายใต้ความรับผิดชอบร่วมกันขององค์การอุตุนิยมวิทยา โลก (World Meteorological Organization) โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Program) และ International Council of Scientific Unions 1.1 คานิยามของสภาวะโลกร้อนและปรากฏการณ์เรือนกระจก สภาวะโลกร้อน (Global warming) เป็นปรากฏการณ์ที่นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่ามีสาเหตุ มาจากปรากฏการณ์เรือนกระจกและการที่ชั้นโอโซนถูกทาลายจนทาให้เกิดการสะสมของอุณหภูมิ พื้นผิวโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ จนมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศของโลก ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) คือ สภาพที่ความร้อนรอบโลกถูกกั้นความร้อน หรือก๊าซเรือนกระจกเก็บกักเอาไว้ไม่ให้สะท้อนหรือแผ่ออกสู่ภายนอกโลก ในความเป็นจริงโลกเรามีก๊าซที่ ทาหน้าที่เป็นกระจกตามธรรมชาติอยู่แล้ว คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้า ซึ่งจะคอยควบคุมให้ อุณหภูมิของโลกโดยเฉลี่ยมีค่าประมาณ 15 องศาเซลเซียส และถ้าหากไม่มีกระจกตามธรรมชาติอุณหภูมิโลก จะเหลือเพียง -20 องศาเซลเซียส มนุษย์สัตว์และพืช ก็จะล้มตายและโลกก็จะเข้าสู่ยุคน้าแข็งอีกครั้ง แต่สิ่งที่ โลกกาลังเผชิญอยู่นี้ก็คือการที่มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศมากเกินไป ทาให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากไม่สามารถถ่ายเทความร้อนออกไปนอกโลกได้ โดยปริมาณ ก๊าซที่เพิ่มขึ้นนี้ส่วนใหญ่มาจากการกระทาของมนุษย์นอกจากนี้การที่ชั้นโอโซนซึ่งทาหน้าที่ช่วยกรองรังสี อัลตร้าไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ถูกทาลายจากการใช้สารเคมีของโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะสารคลอ โรฟลูโอโรคาร์บอน (CFCs) ก็ทาให้ความร้อนจากภายนอกเข้ามายังโลกมากขึ้นด้วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) หมายถึง ผลโดยตรงหรือโดยอ้อมจาก กิจกรรมของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของชั้นบรรยากาศโลก และเป็นการเปลี่ยนแปลงที่มากกว่า การเปลี่ยนแปลงจากความแปรปรวนทางสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในช่วงเวลาเดียวกัน ดังนั้นความสาคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ การตระหนักและเข้าใจในปัญหาที่ เกิดขึ้น โดยมีการดาเนินการใน 2 ด้านหลัก คือ การรับมือและการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และการลดหรือชะลอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก
  • 7. - 3 - 1.2 ก๊าซเรือนกระจกและแหล่งกาเนิด ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญ ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีสัดส่วนในบรรยากาศ ประมาณ 53 เปอร์เซ็นต์พบว่า ในปัจจุบันมีอยู่ในชั้นบรรยากาศ 380 โมเลกุลในทุกๆ 1 ล้านโมเลกุลของมวล อากาศหรือ 380 ส่วนในล้านส่วน (ppm.) ได้มีการคาดการณ์ในอีก 100 ปี ข้างหน้าว่าจะมีปริมาณ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง 1,000 ส่วนในล้านส่วน จากการใช้พลังงานเชื้อเพลิงจากฟอสซิลที่มี องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นคาร์บอน นอกจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ยังมีก๊าซมีเทน (CH4) ที่มีสัดส่วน ประมาณ 17 เปอร์เซ็นต์ของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด ก๊าซมีเทนเป็นก๊าซที่เกิดจากการปลูกข้าวและการเผา ไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิล ก๊าซมีเทนมีความสามารถในการดูดซับรังสีความร้อนในบรรยากาศได้มากกว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 25 เท่า ซึ่งประเทศที่ทาการเกษตรถูกมองว่าเป็นผู้ผลิตก๊าซมีเทนมากที่สุดที่จาก วิธีการปลูกข้าวแบบน้าท่วมขังจนเกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์แล้วได้ก๊าซมีเทนเป็นจานวนมาก ก๊าซโอโซน (O3) เป็นก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญอีกชนิดหนึ่งมีสัดส่วน 13 เปอร์เซ็นต์ ของก๊าซเรือนกระจก ทั้งหมด เกิดจากการสันดาปของเครื่องยนต์ ยานพาหนะ มีอยู่ในธรรมชาติน้อย ปกติจะเป็นก๊าซที่ช่วยในการ ป้ องกันรังสีอัลตราไวโอเลตในชั้นบรรยากาศสูงๆ แต่ที่ระดับผิวโลกจะเป็นออกซิไดซ์ (oxidized) ทาปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิต สามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้มากกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 2,000 เท่า ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) มีสัดส่วนประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดเกิดจาก โรงงานอุตสาหกรรมเคมีและพลาสติก โดยการใช้กรดไนตริกในกระบวนการผลิตการใช้ปุ๋ ยไนโตรเจนมี ความสามารถในการดูดซับความร้อนได้ดีกว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 200 เท่า ก๊าซกลุ่มซีเอฟซี (CFC) เป็นส่วนที่เหลือของก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด โดยเกิดจากการเป็นสารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (chlorofluorocarbon compounds) ที่ใช้ในการทาความเย็นของเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น สเปรย์น้ายาดับเพลิง ฯลฯ สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเป็นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดรูโหว่ของโอโซนในชั้นบรรยากาศมี ความสามารถดูดซับความร้อนได้ดีกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 10,000 เท่า 1.3 ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนและปรากฏการณ์เรือนกระจก 3.1 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก (Effect of climate change) ข้อมูลด้าน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งครอบคลุมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 เป็นต้นมา ผลจาก การศึกษาและการสังเกตแนวโน้มสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและชีวภาพ รวมทั้งความสัมพันธ์ต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในแต่ละเขต พบว่า มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษา ปัจจุบัน ชี้ให้เห็นถึงการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในการสังเกตความอุ่นขึ้นกับผลกระทบที่เกิด อย่างกว้างขวาง การประเมินสรุปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในเขตต่างๆ มีผลกระทบต่อด้านกายภาพ และชีวภาพมากมายและเป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือสูง ข้อมูลการสังเกตจากทวีปและมหาสมุทรส่วนใหญ่ แสดงให้เห็นว่าระบบธรรมชาติกาลังได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
  • 8. - 4 - เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนก็จะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพของหิมะ น้าแข็ง และพื้นดินที่จับเป็ นน้าแข็ง ซึ่งรวมถึงน้าแข็งที่แทรกตัวอยู่ในอนุภาคดิน (permafrost) จนเกิดปรากฎการณ์ที่สามารถสังเกตเห็นได้ดังนี้ - การเพิ่มจานวนและขนาดของทะเลสาบน้าแข็ง - การเพิ่มชั้นใต้ดินที่ไม่เสถียรของส่วนน้าแข็งที่แทรกตัวอยู่ในอนุภาคดิน (permafrost) และการ ขยายตัวของหินภูเขาในเขตภูเขา - การเปลี่ยนแปลงในส่วนระบบนิเวศอาร์คติคและแอนตาร์คติค รวมทั้งในส่วนของชีวมณฑล น้าแข็งในทะเล (sea-ice biome) และการเพิ่มขึ้นของผู้ล่าของสายใยอาหาร หลักฐานจากการเพิ่มขึ้นของ เหตุการณ์ต่างๆ มีความน่าเชื่อถือสูงถึงผลกระทบต่อระบบอุทกวิทยาที่เกิดขึ้น คือ 1. การเพิ่มขึ้นของน้าไหลบ่าหน้าดินและการไหลของน้าที่เกิดขึ้นเร็วในฤดูใบไม้ผลิจากธาร น้าแข็งและหิมะละลายลงสู่แม่น้า 2. บริเวณขั้วโลกและบริเวณส่วนที่เหนือขึ้นไปมีการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของพืชและสัตว์ จากข้อมูลภาพดาวเทียมตั้งแต่ พ.ศ. 2523 พบว่า มีแนวโน้มว่าทุกส่วนของหลายๆ เขตปรากฏให้เห็น “สีเขียว” ของพืชพันธุ์ในฤดูใบไม้ผลิค่อนข้างเร็ว ซึ่งเชื่อมโยงถึงฤดูการเจริญเติบโตที่อบอุ่นขึ้นและค่อนข้าง ยาวนานมีความชัดเจนมากขึ้น พื้นฐานปรากฏการณ์ที่มีระดับนัยสาคัญจากการสังเกตเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิตทั้งมหาสมุทรและน้าจืดเกี่ยวข้องกับการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิน้า สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของชั้นน้าแข็งที่ปกคลุม ความเค็ม ระดับออกซิเจนที่ละลายน้าได้ดี และการ หมุนเวียนต่างๆ ซึ่งรวมทั้งการขยับขยายขอบเขตของสาหร่าย แพลงก์ตอน และความอุดมสมบูรณ์ของปลา ในบริเวณมหาสมุทรละติจูดจากการเพิ่มขึ้นของสาหร่ายและความมากมายของแพลงก์ตอนสัตว์ ในพื้นที่ที่มีระดับเส้นรุ้งสูง และทะเลสาบที่อยู่สูงจากระดับน้าทะเลมาก มีการเปลี่ยนแปลงและการอพยพ ของปลาในแม่น้าจะรวดเร็วขึ้น มีการศึกษาถึงการดูดซับของปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์จากกิจกรรมของมนุษย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2293 พบว่าน้าในมหาสมุทรมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้น มีค่าเฉลี่ยของความเป็นกรด-ด่างลดลงประมาณ 0.1 หน่วย ผลกระทบอื่นๆ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพอุณหภูมิอากาศตามเขตต่างๆ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมปรากฏขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีความยุ่งยากที่จะบ่งบอกถึงเรื่องการปรับตัวและไม่ใช่ปัจจัยด้านสภาพ ภูมิอากาศจากการที่อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ความน่าเชื่อถือในระดับปานกลางมีดังนี้ - ผลกระทบด้านการเกษตรและการจัดการป่าไม้ในเขตเหนือเส้นศูนย์สูตรและระดับน้าทะเลที่ สูงขึ้น เช่น การเริ่มฤดูใบไม้ผลิที่มาเร็วขึ้น การเปลี่ยนแปลงขอบเขตของการถูกรบกวนของป่าไม้เนื่องจาก ไฟป่าและการระบาดของแมลง - บางประเด็นของสุขภาพของมนุษย์ เช่น คลื่นความร้อนทาให้มีประชากรเสียชีวิต ในยุโรปมี การระบาดของโรคในบางพื้นที่ การเกิดภูมิแพ้ในพื้นที่สูง และทางเหนือเขตศูนย์สูตร
  • 9. - 5 - - กิจกรรมของมนุษย์ในบริเวณขั้วโลกอาร์คติด เช่น การล่าสัตว์และการเดินทางบนหิมะน้าแข็ง และพื้นที่ตอนล่างของเทือกเขาแอลพ์ การเล่นกีฬาบนภูเขาไม่เป็นไปตามปกติ การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในปัจจุบันและความผันแปรของสภาพภูมิอากาศเริ่มต้นมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ และระบบนิเวศของมนุษย์อย่างไรก็ตาม เอกสารที่มีการเผยแพร่ผลกระทบเหล่านี้ยังแสดงแนวโน้มให้เห็นที่ ชัดเจน คือ การตั้งถิ่นฐานบนเขตภูเขาสูงเป็นการขยายความเสี่ยงให้ธารน้าแข็งมีการละลายและเกิดน้าท่วม ฉับพลัน รัฐบาลบางแห่งเริ่มต้นที่จะมีโครงสร้างเขื่อนและระบบระบายน้า ในเขตซาฮาราของแอฟริกา สภาพ อากาศที่อุ่นขึ้นและการขยายพื้นที่แห้งแล้ง ส่งผลให้ลดช่วงระยะเวลาเจริญเติบโตของพืช ซึ่งมีผลต่อพืช เกษตรทางตอนใต้ของแอฟริกา มีช่วงฤดูร้อนที่ยาวนานและความไม่แน่นอนของฤดูฝนกาลังอยู่ในระหว่าง การตรวจวัด นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเลและการพัฒนาของมนุษย์ก็ก่อให้เกิดการสูญเสีย พื้นที่ชุ่มน้าชายฝั่งและป่าชายเลนและเพิ่มความเสียหายในพื้นที่ชายฝั่งบางส่วนที่ถูกน้าท่วม 1.3.2 ผลกระทบที่มีต่อระดับน้าทะเล (Effect of sea level) ความถี่ของการเกิดผลกระทบ สะท้อนภาพในอนาคตของปริมาณน้าฝนและความผันแปรของสภาพอากาศโดยเฉพาะอุณหภูมิ ระดับความ สูงของน้าทะเล และความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ขนาด และช่วงเวลาของผลกระทบ มีความผันแปรไป โดยขึ้นอยู่กับจานวนและเวลาของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และในบางกรณี ศักยภาพในการปรับตัวโดยมีรายละเอียดของข้อมูลในปัจจุบันที่ครอบคลุมระบบนิเวศและภาคส่วนต่างๆ เกี่ยวข้องกับผลกระทบต่อธรรมชาติในอนาคต ในช่วงกลางศตวรรษ ปริมาณน้าท่วมโดยเฉลี่ยและการอานวยน้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 10-40% บริเวณพื้นที่อยู่ในระดับสูง ในบางพื้นที่ในเขตชุ่มชื้นของป่าเขตร้อนชื้น (wet tropical area) จะมีการลดลง ประมาณ 10-30% ในเขตแห้งแล้งช่วงกลางละติจูดและในพื้นที่เขตร้อนชื้นที่แห้ง (dry tropics) บางพื้นที่บ่ง บอกถึงมีความกดดันในเรื่องน้า ในบางพื้นที่และบางฤดูกาล มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปมากกว่านี้ ผลกระทบที่เกิดจากความแห้งแล้งมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นและขยายเป็นวงกว้าง มีปริมาณฝนตกหนัก และ มีแนวโน้มที่จะมีความถี่เพิ่มมากขึ้น มีความเสี่ยงต่อการเกิดน้าท่วมฉับพลัน ในช่วงร้อยปีที่ผ่านมา แหล่ง อานวยน้าจะถูกเก็บกักไว้ที่ธารน้าแข็งและการปกคลุมของหิมะและน้าที่สามารถนามาใช้ในเขตนั้น คาดการณ์ว่าจะลดลง ระบบนิเวศชายฝั่งและในพื้นที่ลุ่มต่ามีแนวโน้มที่จะเผชิญกับความเสี่ยงจากน้าท่วม รวมถึงการ กัดเซาะของชายฝั่ง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการเพิ่มขึ้นของระดับน้าทะเล ผลกระทบ จะมีความร้ายแรงมากขึ้น เนื่องจากความกดดันในเรื่องจานวนประชากรบริเวณพื้นที่ชายฝั่ง ปะการังมีความ เปราะบางต่อความกดดันของความร้อนและมีศักยภาพในการปรับตัวต่า การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิพื้นผิวน้า ประมาณ 1-3 องคาเซลเซียส มีแนวโน้มที่จะทาให้เกิดปะการังฟอกขาวและมีการตายอย่างกว้างขวาง อย่าง น้อยที่สุดปะการังอาจมีการปรับตัวหรือทาให้เกิดการปรับตัวเข้ากับพื้นที่ พื้นที่ชุ่มน้าชายฝั่งรวมทั้งพื้นที่ดิน เลนเค็มและป่าชายเลนมีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากภัยน้าท่วมจากการเพิ่มขึ้นของน้าทะเล โดยเฉพาะ อย่างยิ่งมีความกดดันต่อความลึกที่เข้าไปสู่แผ่นดินหรือการตายจากตะกอนทับถม ประชากรจานวนหลาย ล้านมีแนวโน้มว่าจะถูกน้าท่วมทุกปีเนื่องจากระดับน้าทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น ในปี พ.ศ. 2623 พื้นที่ที่มีประชากร
  • 10. - 6 - หนาแน่นและอยู่ในพื้นที่ลุ่มต่า ซึ่งมีศักยภาพในการปรับตัวต่า จะเผชิญกับพายุเขตร้อนและการจมลงของ ชายฝั่ง จานวนของผลกระทบมีขนาดใหญ่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ของเอเชียและแอฟริกา ขณะที่เกาะขนาดเล็กมีแนวโน้มเปราะบางสูง มีความเสี่ยงในการจมน้า ความสามารถในการปรับตัวเป็นสิ่งที่ ท้าทายในประเทศกาลังพัฒนามมากกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว เนื่องจากข้อจากัดต่อความสามารถในการ ปรับตัว 1.3.3 ผลกระทบที่มีต่อระบบนิเวศ (Effect of ecosystem) ความสามารถในการอยู่รอดของ ระบบนิเวศเนื่องจากการผสมผสานระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศร่วมกับการรบกวน (เช่น น้า ท่วม ความแห้งแล้ง ไฟป่า แมลง ความเป็นกรดของน้าทะเล) และการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างอื่นๆ (เช่น การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน มลพิษ การใช้ประโยชน์ของทรัพยากรที่เกินขอบเขต) ในช่วงร้อยปีที่ ผ่านมา คาร์บอนสุทธิที่ดูดซับโดยระบบนิเวศของป่าไม้ดูเหมือนว่าจะสูงสุดก่อนกลางศตวรรษและลดลงมา เนื่องจากการขยายตัวของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ประมาณ 20-30% ของชนิดพืชและสัตว์ที่ได้รับการ ประเมินเบื้องต้นมีความเสี่ยงสูงที่จะสูญพันธุ์เมื่ออุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น 1.2-2.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้นร่วมกับการสะสมคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศที่สูงขึ้นนี้อาจทาให้มีการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของระบบนิเวศ หน้าที่และชนิดของระบบนิเวศที่มีความสัมพันธ์กัน รวมทั้งการ กระจายชนิดของพืชตามสภาพภูมิศาสตร์ ความหลากหลาย ผลประโยชน์จากระบบนิเวศ ความเป็นกรดใน มหาสมุทรจากการเพิ่มขึ้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศคาดว่าจะมีผลกระทบต่อโครงสร้างของ สิ่งมีชีวิตในทะเล เช่น ปะการัง เป็นต้น 1.3.4 ผลกระทบที่มีต่อผลผลิตด้านป่าไม้และการเกษตรกรรม (Effect of forestry and agriculture) ผลผลิตด้านการเกษตรจะเพิ่มขึ้นในบริเวณพื้นที่ช่วงเส้นรุ้งกลางและสูง โดยอุณหภูมิเฉลี่ยใน ท้องถิ่นจะเพิ่มขึ้นถึง 1-3 องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับชนิดพืช จะลดลงในบางพื้นที่ พื้นที่ใกล้เส้นรุ้งต่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูแล้งและเขตร้อนชื้นผลผลิตการเกษตรมีแนวโน้มที่จะลดลง ถึงแม้ว่าจะเป็น พื้นที่ขนาดเล็กๆเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น 1-2 องศาเซลเซียส ซึ่งจะมีความเสี่ยงในเรื่องความหิวโหย ศักยภาพใน เรื่องการผลิตอาหารมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นพร้อมกับค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิในท้องถิ่นจะสูงขึ้นประมาณ 1-3 องศา เซลเซียส แต่หากอุณหภูมิสูงกว่านี้มีแนวโน้มจะมี การเพิ่มขึ้นของความแห้งแล้งและน้าท่วมมีผลกระทบต่อ ผลผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะในเขตเส้นรุ้งต่า การปรับตัว เช่น การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาการเตรียม พื้นที่การปลูกในส่วนเส้นรุ้งต่า กลาง และสูง ผลผลิตเกษตรเชิงพาณิชย์เพิ่มขึ้นในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในระยะสั้นและระยะกลางกลับมีแนวโน้มความผันแปรในขอบเขตที่กว้างขวางทั่วโลก ใน ระดับภูมิภาค การกระจายของผลผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดพันธุ์ปลา เมื่อน้ามีความอุ่นเพิ่มขึ้นจะมีผลกับ ผลผลิตด้านการประมง 1.3.5 ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ (Effect of natural disasters) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ( IPCC )รายงานจานวนภัย พิบัติที่เกิดจากภูมิอากาศและมีความสูญเสียทางเศรษฐกิจของโลกระหว่าง ค.ศ. 1960-2000 (พ.ศ. 2503-2543) ว่าจานวนภัยพิบัติที่รุนแรงในท้ายทศวรรษ (1990-2000) และ ทศวรรษแรก (1960-1970) เพิ่มขึ้น เป็น 72 ครั้ง
  • 11. - 7 - จาก 13 ครั้ง มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นถึง 10 เท่า ความเป็นไปได้ของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากความรุนแรงของภูมิอากาศในศตวรรษที่ 21 แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากความรุนแรงของภูมิอากาศในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ตัวอย่างของ ผลกระทบในศตวรรษที่ 21 ตัวอย่างของผลกระทบ อุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขึ้น วันอากาศร้อน และคลื่น ความร้อนเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น :  เจ็บป่วยและตายเพิ่มขึ้น  Heat stress ในปศุสัตว์และสัตว์ป่า  พืชได้รับความเสียหาย  ความต้องการใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ฝนตกแรงและหนักขึ้น เพิ่มขึ้น :  ความเสียหายจากน้าท่วม ดินทรุด โคลน ถล่ม  สาธารณภัย พายุโซนร้อน (tropical cyclone) เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น :  ชีวิตมีความเสี่ยงต่อภัยอันตราย  การระบาดของโรคติดต่อ  ระบบนิเวศชายฝั่งเสียหาย น้าท่วมและภัยแล้งรุนแรงขึ้นเนื่องจาก เอล นิโญ ลดลง :  ผลผลิตการเกษตร  ศักยภาพของการผลิตไฟฟ้าพลังงานน้า มรสุมในเอเชียแปรปรวนยิ่งขึ้น ภัยแล้งและน้าท่วมรุนแรงขึ้นในเอเชียและเขตอบอุ่น ที่มา : กัณฑรีย์ บุญประกอบ (2548) 1.3.6 ผลกระทบที่มีต่อภาคอุตสาหกรรม การตั้งถิ่นฐานและสังคม (Effect of Social and Industrial) การลงทุนและผลประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่ออุตสาหกรรม การตั้งถิ่นฐาน และสังคม จะมีความผันแปรตามสถานที่และขนาดในภาพรวม ผลกระทบสุทธิมีแนวโน้มทางลบเมื่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ความเปราะบางด้านอุตสาหกรรมทั้งหมด การตั้งถิ่นฐาน และ สังคม พบในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งและที่ราบน้าท่วมถึง ซึ่งสภาพเศรษฐกิจมีความเชื่อมโยงต่อความอ่อนไหว
  • 12. - 8 - ของสภาพอากาศและพื้นที่เหล่านี้มีสภาพอากาศที่รุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยายตัวของเมือง ชุมชนที่ ยากไร้มีแนวโน้มที่จะมีความเปราะบางที่ชัดเจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง และมี ความเป็นอยู่ที่ขึ้นกับความอ่อนไหวของสภาพอากาศ เช่น แหล่งน้าและอาหาร ในพื้นที่ที่มีความรุนแรงของ สภาพอากาศ หรือมีความถี่ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ การลงทุนด้านเศรษฐกิจและสังคมจะได้รับภัยจากเหตุการณ์ เหล่านี้จะสูงขึ้น และการเพิ่มขึ้นของการลงทุนอย่างมีมีนัยสาคัญในพื้นที่เหล่านี้ส่วนมากได้รับผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและได้แผ่กระจายอย่างกว้างขวางจากพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงไปสู่ พื้นที่อื่นและภาคส่วนอื่นที่มีความเชื่อมโยงสลับซับซ้อน 1.3.7 ผลกระทบที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์(Effect of human health) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์เป็นจานวนล้าน ๆ คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ซึ่งมีความสามารถใน การปรับตัวได้น้อยดังนี้  การขาดแคลนอาหารมีเพิ่มขึ้นและส่งผลให้เกิดความเจ็บป่วยซึ่งมีผลต่อการพัฒนาการของ เด็กๆ  มีผู้เสียชีวิต จากโรคระบาด และมีผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเพิ่มมากขึ้น จากคลื่นความร้อน น้าท่วม พายุ ไฟป่า และความแห้งแล้ง  มีปัญหาเกี่ยวกับโรคท้องร่วงเพิ่มขึ้น  เกิดโรคที่เกี่ยวกับระบบการหายใจเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของโอโซนในบริเวณ พื้นผิวโลก  การเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการกระจายของเชื้อโรคที่มีพาหะ การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศมีแนวโน้มที่จะเกิดผลกระทบแบบผสมผสาน เช่น การเพิ่มขึ้นหรือลดลงในขอบเขต และศักยภาพ การส่ งผ่านของมาลาเรี ยในแอฟริ กา การศึกษาในพื้ นที่เขตอบอุ่นแสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีแนวโน้มที่เกิดประโยชน์บ้าง เช่น จานวนผู้เสียชีวิตลดน้อยลงจากความ หนาวเย็น โดยรวมคาดว่าประโยชน์เหล่านี้ลดความสาคัญลง จากผลกระทบทางลบจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นทั่ว โลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศกาลังพัฒนา ความสมดุลระหว่างผลกระทบด้านบวกและด้านลบต่อสุขภาพที่ มีความผันแปรจากสถานที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง อาจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขณะที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้น วิกฤตการณ์เหล่านี้เป็นปัจจัยโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชน เช่น การศึกษา การดูแลสุขภาพ การ สาธารณสุข การคมนามคม และการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 1.4 การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2537 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมสุทธิ (Gross emission) ของประเทศไทยเมื่อ เปรียบเทียบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ร้อยละ 23.30 มาจากก๊าซมีเทนและไนโตรเจนออกไซด์ จานวนร้อยละ 6.06 และเมื่อพิจารณาตามสาขาของการปล่อยก๊าซ สาขาการใช้พลังงานเป็นสาขาที่มีการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง 129,867.65 Gg. หรือร้อยละ 45.42 ของการปล่อยก๊าซทั้งหมด สาขา
  • 13. - 9 - เกษตรมีการปล่อยสุทธิมากเป็นอันดับสองรองจากการใช้พลังงาน ก๊าซส่วนใหญ่ที่ปล่อยออกมาคือ ก๊าซ มีเทนจากกิจกรรมการทานา การเลี้ยงสัตว์ และการจัดการมูลสัตว์โดยคิดเป็นค่าคาร์บอนไดออกไซด์สูงถึง 46,473.70 Gg. ส่วนที่เหลือเป็นไนตรัสออกไซด์ ที่ปล่อยออกมาจากดินและการจัดการมูลสัตว์ปริมาณรวม สุทธิของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากภาคการเกษตรมีเท่ากับ 77,405.90 Gg. หรือร้อยละ 27.08 ของการปล่อยรวม ดังแสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 การปล่อยสุทธิของก๊าซเรือนกระจกจาแนกตามแหล่งกาเนิด หน่วย : Gg CO2 Equivalent ก๊าซเรือน กระจก การใช้ พลังงาน กระบวนการ อุตสาหกรรม การเกษตร การใช้ที่ดิน และป่ าไม้ ของเสีย รวม CO2 125,482.80 15,970.40 - 60,475.75 - 201,928.95 CH4 4,127.55 6.51 60,473.70 1,250.97 739.62 66,598.35 N2O 257.30 - 16,932.20 127.10 - 17,316.60 รวม 129,867.65 15,976.91 77,405.90 61,853.82 739.62 285,843.60 ร้อยละของ การปล่อย 45.42 5.60 27.08 21.64 0.26 100 ที่มา : นาฎสุดา ภูมิจานงค์ (2553) 1.5 บทบาทของ IPCC, UNFCCC และ COP ต่อการดาเนินการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับสากล แบ่งเป็น 2 ฝ่ายคือ ฝ่าย วิชาการ คือ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) และฝ่ายอนุสัญญา ได้แก่ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC) และภาคี สมาชิก (Conference of the Parties หรือ COP) โดยแต่ละฝ่ายทาหน้าที่ ดังนี้ 5.1 IPCC ทาหน้าที่เป็นฝ่ายวิชาการ ไม่มีส่วนในการกาหนดนโยบายหรือพันธะกรณีของ อนุสัญญาฯ หลักเกณฑ์ในการทางานของ IPCC คือ “Policy relevant, but not policy descriptive” หมายถึง ผลงานของ IPCC ชัดเจนที่ฝ่ายการเมืองหรือฝ่ายบริหารสามารถนาไปใช้ในการกาหนดนโยบายและ มาตรการต่างๆ ที่เหมาะสมได้ IPCC มีคณะทางานที่รายงานประเด็นด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3 กลุ่ม เพื่อรายงานด้าน
  • 14. - 10 -  สภาพภูมิอากาศเชิงวิทยาศาสตร์ (Science of climate) โดยคณะทางานกลุ่มที่ 1 (working group I) มีหน้าที่ในการแสวงหาข้อเท็จจริงของสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เช่น climate change scenario เป็นต้น  การลดสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Mitigation) โดยคณะทางานกลุ่มที่ 3 (working group III) 5.2 UNFCCC และ COP เป็นฝ่ายนโยบายและการเมืองหรือพันธกรณีด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ มีหน้าที่ในการกาหนดนโยบาย มาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศให้ประเทศภาคีสมาชิกปฏิบัติ โดยใช้ข้อมูลจาก IPCC ในทางปฏิบัติการทางานของทั้งสองฝ่ายคือ ฝ่ายวิชาการ (IPCC) และฝ่ายอนุสัญญาและการเมือง จึงควรแยกการดาเนินงานแต่มีการประสานความ ร่วมมือกันได้ 1.6 พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ถือกาเนิดขึ้นจากการประชุม ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น (COP-3) เมื่อเดือนธันวาคม ปี ค.ศ. 1997 การประชุมครั้งนี้ได้กาหนดให้มีการลดปริมาณการปล่อยก๊าซที่ทาลายชั้นบรรยากาศลงในปริมาณอย่าง น้อยร้อยละ 55 ของปริมาณที่ระดับปี ค.ศ. 1990 ในระหว่างปี ค.ศ. 2008-2012 เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย แต่ละ ประเทศได้ถูกกาหนดให้ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในระดับที่แตกต่างกันและทุกประเทศมีข้อผูกพันตาม กฎหมาย (legally binding) ในอันที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อตกลงแห่งพิธีสารนี้ ปัจจุบันมีประเทศ ต่างๆ ร่วมลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารแล้ว 140 กว่าประเทศ ในจานวนนี้ประกอบไปด้วยกลุ่มประเทศ สหภาพยุโรป แคนาดา ญี่ปุ่น และประเทศที่กาลังพัฒนา และล่าสุดประเทศที่ให้การสัตยาบันพิธีสารเกียวโต ก็คือ รัสเซีย ซึ่งการเข้าร่วมของรัสเซียนี้สาคัญมากต่อพิธีสารเกียวโต เพราะทาให้พิธีสารดังกล่าวมีผลบังคับ ใช้ พิธีสารเกียวโตเพิ่งจะมีผลบังคับใช้เมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2548 ทั้งๆ ที่ได้มีการลงนามในพิธีสารมาตั้งแต่ วันที่ 11 ธันวาคม 2540 ทั้งนี้เนื่องจากพิธีสารเกียวโตจะมีผลบังคับใช้ก็ต่อเมื่อบรรลุเงื่อนไขสาคัญ 2 ประการ คือ ประการแรก จะต้องมีประเทศเข้าร่วม และให้สัตยาบัน หรือให้การยอมรับ เห็นชอบหรือ ภาคยานุวัติไม่น้อยกว่า 55 ประเทศ
  • 15. - 11 - ประการที่สอง จะต้องมีตัวแทนของประเทศพัฒนาแล้วในภาคผนวกที่ 1 ของอนุสัญญาฯ ให้ สัตยาบัน โดยประเทศที่ลงนามในพิธีสารเกียวโตจะต้องมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์รวมกันแล้วได้ อย่างน้อยร้อยละ 55 ของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดที่ประเทศพัฒนาแล้วที่ปล่อยสู่ชั้น บรรยากาศ เมื่อปี 2533 (ค.ศ. 1990) เพื่อให้ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ในภาคผนวกที่ 1 สามารถลดภาระในการดาเนินการตาม พันธกรณีของตนและให้ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ นอกภาคผนวกที่ 1 มีส่วนร่วมในการลดปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก พิธีสารเกียวโตจึงกาหนดกลไกในการดาเนินการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขึ้นมา 3 กลไก ด้วยกัน คือ  การซื้อขายก๊าซเรือนกระจก (Emission Trading) มาตราที่ 17 ของพิธีสารเกียวโต ได้กาหนดกลไกนี้ขึ้น ประเทศที่ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากเกินกว่าที่กาหนด สามารถนา ส่วนเกินไปซื้อขายในตลาดได้ เป็นการใช้ระบบตลาดที่มีการแข่งขันมาเป็นเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ใน การทาให้เกิดการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้กลไกทางการตลาดนี้ทา ให้ก๊าซเรือนกระจกกลายเป็นสินค้าชนิดหนึ่ง เพียงแต่สินค้าที่ซื้อขายคือปริมาณก๊าซที่ลดได้มากกว่าที่ พันธกรณีกาหนดไว้ ซึ่งการค้าขายปริมาณการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกนี้จะทาให้ประเทศที่มี พันธกรณีสามารถลดต้นทุนในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของตนเองได้ในระดับหนึ่ง  การดาเนินการร่วม (Joint Implementation : JI) กลไกนี้ได้กาหนดขึ้นภายใต้มาตราที่ 6 ของพิธีสารเกียวโต จากัดให้มีการดาเนินการได้เฉพาะในระหว่างประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ในกลุ่มภาคผนวก ที่ 1 หรื อกลุ่มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในภาคผนวกที่ 1 เท่านั้ น การดาเนินการร่วมคือ การที่ประเทศที่เกี่ยวข้องตกลงดาเนินโครงการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ร่วมกันและแบ่งสรรปริมาณการลด โดยปริมาณการลดดังกล่าวสามารถนาไปคิดร่วมกับปริมาณการลดของ ประเทศเหล่านั้นแม้ว่ากลไกร่วมจะกาหนดการลดดังกล่าวสามารถนาไปคิดร่วมกับปริมาณการลดของ ประเทศนั้น แม้ว่ากลไกร่วมเพื่อการศึกษาและทดลองในขั้นตอนต่าง ๆ ในการดาเนินงานระหว่างประเทศใน กลุ่มภาคผนวกที่ 1 กับประเทศนอก กลุ่มภาคผนวกที่ 1 ที่เรียกว่า AIJ ( Activity Implemented Jointly) อย่างไรก็ตาม ปริมาณการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ได้จากการดาเนินงานนี้ไม่สามารถนามา คานวณหักลบจากปริมาณที่กาหนดไว้ในพันธกรณี  กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) มาตรา 12 ของพิธีสาร เกียวโต ได้กาหนดหลักการสาคัญของ CDM ว่ามีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศที่ กาลังพัฒนา ให้ประเทศกาลังพัฒนามีส่วนร่วมในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพื่อให้ ประเทศที่พัฒนาแล้วหรือประเทศในกลุ่มภาคผนวกที่ 1 สามารถดาเนินการตามพันธกรณีที่กาหนดไว้ใน มาตราที่ 3 ของพิธีสารเกียวโตได้ กลไกนี้เป็นทางเลือกใหม่ที่สาคัญของประเทศในกลุ่มภาคผนวกที่ 1 ที่ รัฐบาลและเอกชนสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีที่สะอาดไปยังประเทศกาลังพัฒนา แล้วนาเอาผลประโยชน์ใน รูปของเครดิตในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาร่วมกับการดาเนินการลดภายในประเทศ
  • 16. - 12 - อย่างไรก็ตามประเด็นของผลประโยชน์ที่เกิดขึ้ นจากการดาเนินการภายใต้กลไก CDM ก็ต้องมีการตกลงกันให้ชัดเจนว่าจะมีการแบ่งสรรต้นทุนและผลประโยชน์อย่างไร การบังคับให้มีการดาเนินตามพันธกรณี ที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยที่ 4 (COP–4) มีมติให้จัดตั้งคณะทางานร่วมระหว่างองค์กรย่อยเพื่อให้คาปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Subsidiary Body For Scientific and Technological Advice) และองค์กรย่อยเพื่อการอนุวัติ (Subsidiary Body for Implementation) เพื่อพัฒนาระบบการบังคับและควบคุมให้มีการดาเนินการตามพันธกรณีของพิธี สารเกียวโต และรายงานผลการดาเนินงานต่อที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ จากทั้งหมดนี้จะเห็น ว่า พิธีสารเกียวโตนั้นเป็นความพยายามที่จะแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยสาระของ พิธีสารเกียวโตนั้นเป็นไปเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์หลักของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ อย่างไรก็ตาม พิธีสารเกียวโตก็ยังมีประเด็นที่ต้องมีการตกลงระหว่างประเทศภาคี โดยเฉพาะมาตรการในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพราะพิธีสารกาหนดเพียงเป้ าหมายและ กลไกในการปฏิบัติ แต่ไม่ได้ลงรายละเอียดในขั้นตอนการดาเนินการและวิธีการวัดและตรวจสอบ รวมถึง สาขาที่ควบคุม ซึ่งประเด็นเหล่านี้กลายมาเป็นปัญหาในการเจรจาตกลงระหว่างประเทศภาคีในที่ประชุม สมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยต่อๆ มา นอกจากประเด็นเหล่านี้ การที่พันธกรณีของพิธีสารเกียวโตมี ข้อผูกพันทางกฎหมายก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ต้องพิจารณาอย่างละเอียดก่อนที่จะ ตัดสินใจให้สัตยาบันเพราะการดาเนินการให้เป็นไปตามพันธกรณีจะต้องมีต้นทุนและอาจส่งผลต่อการ พัฒนาทางเศรษฐกิจได้ ประเทศไทยเป็นหนึ่งในกลุ่มประเทศที่ไม่มีพันธกรณีในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ภายใต้พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) แต่มีโอกาสที่จะเข้าร่วมโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้กลไก การพัฒนาที่สะอาดหรือ CDM (Clean Development Mechanism) ซึ่งระบุในมาตรา 12 ของพิธีสารเกียวโต อันจะนามาซึ่งโอกาสทางธุรกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนสาหรับประเทศไทย หากกาหนดนโยบายและกลยุทธ์ ได้อย่างเหมาะสมก่อนที่ประเทศไทยจะลงนามรับรองพิธีสารเกียวโตในปี พ.ศ. 2535 และให้สัตยาบันในปี พ.ศ. 2545 นโยบายของประเทศไทยในขณะนั้นส่วนใหญ่สอดคล้องและตอบสนองต่อพิธีสารเกียวโต โดยเฉพาะนโยบายด้านพลังงานซึ่งทันสมัยและสอดคล้องกับมาตรา 12 ของพิธีสารเกียวโตมาก ขณะที่ นโยบายด้านป่าไม้และที่ดิน (Land Use , Land Use Change and Forestry , LULUCF) ของประเทศที่ สอดคล้องกับพิธีสารเกียวโตก็มีอยู่บ้างแต่มีปัญหาบางประการ คือ ไม่สามารถบังคับใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพในทางปฏิบัติ จึงได้มีการศึกษาทบทวนแนวทางปฏิบัติในการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนเพื่อเป็น แนวทางในการกาหนดมาตรการความยั่งยืนในการพัฒนาในอนาคต (Criteria for Sustainable Development) ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายหนึ่งในเกณฑ์ความยั่งยืนที่นาเสนอเพื่อการดาเนินโครงการการพัฒนาสะอาดสาหรับ ประเทศไทย โดยทาโครงการปลูกป่าคาร์บอนเครดิต อย่างไรก็ตาม หากจะดาเนินโครงการ CDM อย่าง จริงจังและมีประสิทธิผล ประเทศไทยจะต้องเพิ่มเติมนโยบายหรือกฎหมายโดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับ การคิดเก็บภาษี CDM หรือสร้างแรงจูงใจในการไม่เก็บภาษีเพื่อการพัฒนาแบบยั่งยืนอย่างเต็มที่ รวมทั้ง จัดตั้งองค์กร NACDM (Nation Authority for CDM) เพื่อทาหน้าที่ประสานงานการดาเนินงานตามกลไก
  • 17. - 13 - การพัฒนาสะอาดโดยที่ NACDM ควรเป็นองค์กรอิสระที่มีความคล่องตัวในการดาเนินงานและจัดตั้งขึ้น เป็นการเฉพาะกิจ เนื่องจากโครงการ CDM มีอายุการดาเนินงานระหว่างปี ค.ศ. 2008-2012 เท่านั้น วิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (Climate change crisis) เป็นสาเหตุสาคัญ ของการเกิดสภาวะโลกร้อน ซึ่งส่งผลกระทบต่อระดับน้าทะเล ผลผลิตด้านป่ าไม้ การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การตั้งถิ่นฐาน และสังคม สุขภาพของมนุษย์ สัตว์ ระบบนิเวศ รวมทั้งการเกิดภัยธรรมชาติ ต่างๆ ดังนั้นประเทศทั้งหลายในโลกและประเทศไทยควรร่วมมือกันในการจัดการปัญหาสภาวะการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยการวางแผนการจัดการ การดาเนินการในภาวะปัจจุบันเพื่อรองรับการปรับตัว การคาดการณ์อนาคตให้เป็นระบบและจัดฐานข้อมูลการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพในด้านต่างๆ ที่มีความ เชื่อมโยงกัน ทั้งนี้ฐานความรู้และเทคโนโลยีที่มีส่วนในการจัดการกับภาวะต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงต้องรองรับ ได้ทันกับสถานการณ์ และประชาชนในทุกภาคส่วนควรจะมีส่วนร่วมและให้ความสาคัญกับการปรับตัว ตลอดจนการจัดการเพื่อลดภาวะโลกร้อนในฐานะที่ประชาชนคนไทยทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลก ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
  • 18. - 14 - บทที่ 2 พื้นที่คุ้มครองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ได้กาหนดให้มี การพิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับผลที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการ คุ้มครองระบบนิเวศให้สามารถปรับตัวหรือช่วยในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง องค์กรนานาชาติหรือข้อตกลงหรืออนุสัญญานานาชาติที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะข้อตกลงระหว่าง ประเทศของอนุสัญญานานาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) และอนุสัญญาว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) มีส่วนเกี่ยวข้องกับการมีผลที่ทาให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดี ขึ้นหรือปรับตัวได้เนื่องมาจากการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งความรับผิดชอบของรัฐบาลต่างๆ ใน ระดับชาติที่ให้ความสาคัญกับพื้นที่คุ้มครอง แนวความคิดของการจัดการพื้นที่คุ้มครองในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันไป ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการพื้นที่คุ้มครองในแต่ละท้องที่หรือท้องถิ่น เพื่อประโยชน์อย่าง ใด ใครเป็นผู้ดาเนินการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นใคร สุดท้ายได้มีการกล่าวถึงว่า ทาไมพื้นที่คุ้มครองจึงเป็นสถานที่ที่จะต้องเผชิญหน้ากับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2.1 การคาดคะเนผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และมนุษย์ “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลกระทบกับระบบนิเวศทั้งทางบกและทางทะเล การเปลี่ยนแปลงจะเกิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นในช่วงศตวรรษนี้ ซึ่งจะหมายถึงอาหาร และน้าจะเกิดการขาดแคลน ภัยธรรมชาติจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง สุขภาพของมนุษย์มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค หรือได้รับผลกระทบจากโรคระบาด ชนิดพันธุ์บางชนิดอาจจะสูญพันธุ์ได้หรือระบบนิเวศจะถูกทาลายและ ลดน้อยลง แต่พบว่าระบบนิเวศและชนิดพันธุ์ในพื้นที่คุ้มครองที่มีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพจะไม่ได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้” จากรายงานของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ว่าเมื่อปี ค.ศ. 2007 ได้มีการนาเอาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจานวน 29,000 เรื่อง จากการศึกษาพบว่ามี 75 เรื่อง ที่ได้แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพและ กายภาพของพื้นที่ หรือประมาณว่า 89% เป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มี ผลกระทบกับระบบธรรมชาติ พบว่าทุกทวีปในโลกนี้ตลอดจนมหาสมุทร ระบบนิเวศธรรมชาติหลายๆ แห่ง ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะการได้รับผลกระทบจากการที่อุณหภูมิ ที่สูงขึ้น