SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
ถัดไป
ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์
ภูเขาไฟประทุ
แผ่นดินไหว
อุทกภัยสึนามิ
แผ่นดินถล่ม วาตภัย
พายุหิมะ
ไฟป่า
บรรณานุกรม
ถัดไป
เนื่องจากปัจจุบันโลกของเราได้มีการเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ทาให้เกิดภัยพิบัติต่างๆ มากมาย
อันเกิดจากธรรมชาติ และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบนโลกทั้งคน สัตว์ ป่า และสิ่งก่อสร้าง
ต่างๆ ภัยธรรมชาติ นั้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ หรือมนุษย์ได้ทาให้มันเกิดขึ้นมา
ภัยธรรมชาติมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปบางอย่างร้ายแรงน้อย บางอย่างร้ายแรงมากซึ่งอาจ
ทาให้เกิดผลเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน เช่น การเกิดอุทกภัยหรือน้าท่วม การเกิดพายุ การเกิด
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น ซึ่งภัยธรรมชาติต่างๆไม่ว่าจะร้ายแรงมากหรือน้อยก็เกิดขึ้น
ได้ทุกเวลาโดยที่มนุษย์ไม่ได้ตั้งตัว จากบทความข้างต้นทาให้เล็งเห็นถึงผลกระทบมากมายที่เกิด
จากภัยธรรมชาติ คณะผู้จัดทาจึงทาโครงงานภัยธรรมชาตินี้เพื่อให้ทุกคนมีความรู้ และตระหนัก
ถึงผลที่จะเกิดขึ้นพร้อมทั้งวิธีป้องกันตัวจากภัยธรรมชาติเหล่านี้
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับภัยธรรมชาติ
2. รู้จักวิธีป้องกันจากผลกระทบทางธรรมชาติธรรมชาติ
3. ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ
4. รู้จักระมัดระวังตัวเอง
5. รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น
ถัดไปกลับหน้าหลัก
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้
เกิดอันตรายและเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดขึ้นใน 3
ลักษณะ คือ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติ
ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก เช่น การเกิดแผ่นดินถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า และภัยพิบัติที่เกิดขึ้นใน
บรรยากาศ เช่น วาตภัย ภาวะโลกร้อน ลูกเห็บ ฟ้าผ่า เป็นต้น
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ถัดไปกลับหน้าหลัก
แผ่นดินไหว
ถัดไปกลับหน้าหลัก
แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่แผ่นดินมีการสั่นสะเทือน
ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของแรงบางอย่างที่อยู่ใต้พื้นโลก เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคลื่นของแผ่นดินไหวจะ
กระจายไปสู่บริเวณส่วนต่างๆ ของโลก และถ้าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวเป็นไปอย่างรุนแรง
อุปกรณ์ตรวจจับคลื่นที่อยู่ห่างออกไปไกลนับหมื่นกิโลเมตรก็สามารถรับคลื่นแผ่นดินไหวได้
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวเกิดจากการสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึก
ได้จุดใดจุดหนึ่นบนผิวโลก แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากการคลายตัวอย่างรวดเร็วของความเครียด
ภายในเปลือกโลกในรูปแบบของการเลื่อนตัวของแผ่นดินไหวได้เช่นกัน
ถัดไปกลับหน้าหลัก
2) สถานการณ์เกิดแผ่นดินไหว ในปัจจุบันได้เกิดปรากฎการณ์แผ่นดินไหวในภูมิภาค
ต่างๆ ของโลกบ่อยครั้งขึ้นและรุนแรงมากขึ้น โดยมีศูนย์กลางการเกิดตามพื้นที่เสี่ยงภัยต่างๆ
โดยเฉพาะตามแนวรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกทั้งหลาย
ในประเทศไทยการเกิดปรากฎการณ์แผ่นดินไหวค่อนข้างน้อยและได้รับผลกระทบไม่
รุนแรงมากนัก
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3) ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว เมื่อมีแผ่นดินไหวขนาดเล็กหรือปานกลาง
เกิดขึ้น (ขนาดปานกลาง 4-6 ริกเตอร์ ขนาดเล็ก 1-3 ริกเตอร์) จะเกิดรอยร้าวของอาคารและ
สิ่งของตกลงพื้นหรือแกว่ง แต่ถ้าขนาดของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ คือ ตั้งแต่ 7 ริกเตอร์ขึ้นไปจะเกิด
ความรุนแรงมาก คือ อาคารที่ไม่แข็งแรงจะพังทรุดถล่ม มีผู้เสียชีวิตมาก กรณีที่เกิดแผ่นดินไหวใน
พื้นที่ที่เป็นเกาะ และมีขนาดตั้งแต่ 7.5 ริกเตอร์ขึ้นไป ส่งผลให้เกิดคลื่นสึนามินอกจากนี้การเกิด
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่อาจจะทาให้พื้นที่บริเวณเชิงเขาที่ลาดชันเกิดดินถล่มลงมาทับบ้านเรือน
แถบเขาและอาจเกิดแผ่นดินแยกกัน
ถัดไปกลับหน้าหลัก
พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย
กรมทรัพยากรธรณีได้จัดทาแผนที่แสดงบริเวณเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทยและแสดง
ความเสี่ยงของโอกาศการเกิดแผ่นดินไหวที่จะเกิดความเสียหายตามมาตราอันดับขั้นรุนแรงของ
แผ่นดินไหว เรียกว่า”มาตราเมร์กัลป์ ลี”(Mercalli scaie) ดังนี้
1. เขตความรุนแรงน้อย สภาพของแผ่นดินไหวจะสามารถตรวจจับความสั่นสะเทือนระดับ I-II
เมร์กัลป์ ลี โดยเครื่องตรวจรับความสั่นสะเทือน คนไม่สามารถรู้สึกได้ พบได้บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่
ของถาคตะวันออกเฉีงเหนือและภาคตะวันออก
ถัดไปกลับหน้าหลัก
2. เขตความรุนแรงพอประมาณ สภาพของแผ่นดินไหวคนสามารถรู้สึกได้ และเครื่องตรวจ
จับความสั่นสะเทือนจะอยู่ในระดับ III-IV เมร์กัลป์ ลี พบได้บริเวณภาคตะวันออกฉียงเหนือ
ตอนบนภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยตั้งแต่นครศรีธรรมราชลงไป
3. เขตที่มีความรุนแรงน้อย-ปานกลาง สภาพของแผ่นดินไหวคนรู้สึกได้ ระดับความ
สั่นสะเทือน V-VI เมร์กัลป์ ลี บ้านสั่นสะเทือน ต้นไม่สั่น สิ่งปลูกสร้างที่ออกแบบไม่ดีอาจพังได้ พบ
บริเวณภาคเหนือ ขอบภาคกลางด้านทิศตะวันตก กรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคตะวันตกตอนล่าง
และภาคใต้
ถัดไปกลับหน้าหลัก
4. เขตที่มีความรุนแรงปานกลาง สภาพของ
แผ่นดินไหวคนรู้สึกได้ สิ่งของในห้องตกหล่น ตึก
ร้าว ระดับความสั่นสะเทือน VII-VIII เมร์กัลป์ ลี
ทาให้สิ่งก่อสร้างเสียหาย บริเวณที่อาจเกิดขึ้นได้
ได้แก่ ภาคเหนือและภาคตะวันตกที่มีชายแดน
ติดต่อกับสหภาพพม่าจนถึงจังหวัดกาญจนบุรี
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1. บุคคลที่อยู่บริเวณจุดเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว ควรจัดเตรียมเครื่องอุปโภคบริโภค ยา
รักษาโรคไว้ให้พร้อม
ถัดไปกลับหน้าหลัก
2. ขณะเกิดเหตุห้ามใช้
ลิฟต์เพราะไฟฟ้าอาจดับได้ และ
ควรมุดลงใต้โตะที่แข็งแรง เพื่อ
ป้องกันสิ่งของร่วงหล่นทับ
3. หากอยู่ภาคนอกอาคาร
ให้หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้เสาไฟฟ้า
กาแพง และอาคารสูง หายอยู่ใกล้
ชายฝั่งทะเลให้รีบขึ้นที่สูงที่ห่างจาก
ชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นสึนา
มิได้
กลับหน้าหลัก ถัดไป
4. ควรออกแบบอาคารและสิ่งก่อสร้างให้สามารถรับแรงแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้
5. ควรมีการฝึกซ้อมการหลบภัยแผ่นดินไหวแต่ละชุมชนหรือหน่วงงานที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง
แผ่นดินไหว
กลับหน้าหลัก ถัดไป
ภูเขาไฟปะทุ
ภูเขาไฟ (Volcano) เป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นจากการปะทุของหินหนืด แก๊ส และเถ้า
ธุลี ภูเขาไฟจากใต้เปลือกโลกแล้วปรากฎตัวเป็นสภาพภูมิประเทศ ภูเขาไฟมีทั้งที่ดับแล้วและ
ที่ยังมีพลังอยู่ ภูเขาไฟที่ดับแล้วเป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นนานมาก อาจเป็นหลายแสนล้านปี หิน
หนืดที่ไหลออกมาแข็งตัวกลายเป็นหินภูเขาไฟบนพื้นโลก ส่วนภูเขาไฟที่ยังมีพลังเป็นภูเขาไฟ
ที่มีการปะทุ หรือดับชั่วคราว ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่มอดแล้วนานนับพันปี อาจจะปะทุใหม่ได้อีก
ปัจจุบันนี้ทั่วโลกมีภูเขาไฟที่มีพลังอยู่ประมาณ 1.300 ลูก และมีภูเขาไฟที่ดับแล้วจานวนมาก
ที่กลายเป็นภูเขาที่สาคัญ
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดการปะทุของภูเขาไฟ
1.1) การปะทุของแมกมา แก๊ส และเถ้าถ่านจากได้เปลือกโลก การปะทุมักมีสัณ
ญาณบอกเหตุให้รู้ล่วงหน้า เช่น แผ่นดินไหวในบริเวณรอบๆ ภูเขาไฟเกิดการสั่นสะเทือน มี
เสียงคล้ายฟ้าร้อง เสียงที่ดังนั้นเกิดจากการเคลื่อนไหวของแมกมา แก๊สต่างๆ และไอน้าที่ถูก
อัดไว้ เมื่อเกิดการปะทุ ลาวา เศษหิน ฝุ่นละออง เถ้าถ่านภูเขาไฟ จะถูกพ่นออกมาทางปล่อง
ภูเขาไฟหรือออกมาทางช่องด้านข้างของภูเขาไฟ หรือตามรอยแตกแยกของภูเขาไฟ แมกมา
เมื่อขึ้นสู่ผิวโลกจะเรียกวา “ลาวา” (Lava) ลาวาที่ออกสู่พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงถึง 1.200
⁰C ไหลไปตามความลาดเอียงของพื้นที่
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1.2) การปะทุของหินหนืดหรือแมกมา ภายในแมกมาจะมีแก๊สอยู่ เมื่อแมกมาเคลื่อน
ขึ้นมาใกล้ผิวโลกตามช่องเปิดแก๊สต่างๆ ที่ละลายอยู่จะแยกตัวออกเป็นฟองแก๊สจะเพิ่มจานวน
มากขึ้น และขยายตัวอย่างรวดเร็ว ความหนืดของแมกมาตรงที่เกิดฟองจะเพิ่มสูงขึ้นตามไป
ด้วย จนเกิดการแตกร้าวของฟองแก๊สพร้อมๆ กับการขยายตัวแล้วเกิดปะทุออกอย่างรุนแรง
ถัดไปกลับหน้าหลัก
ในย่านภูเขาไฟของโลกยังมีปรากฏการณ์ภูเขาไฟปะทุอยู่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสิ่งที่ชี้ชัดว่า
ภายในเปลือกโลกยังมีมวลหินหนืดหลอมละลายอยู่อีกและพยายามหาทางระบายความร้อน
ดังกล่าว
ส่วนในประเทศไทยมีภูเขาไฟอยู่ในทุกภูมิภาค ลักษณะของภูเขาไฟในประเทศไทย
ส่วนใหญ่เป็นภูเขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano) ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่มีความลาดชันน้อย
ประมาณ 4-10 องศา ภูเขาไฟแบบนี้เกิดเนื่องจากการไหลลามของลาวาแบบบะซอลต์ซึ่ง
ค่อนข้างเหลวและไหลง่าย จึงไหลแผ่ออกไปเป็นบริเวณกว้าง หากมีการปะทุขึ้นก็จะไม่รุนแรง
2) สถานการณ์การเกิดภูเขาไฟปะทุ
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3) ผลกระทบที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟ
1. ทาให้เกิดแรงสั่นสะเทือน มีทั้งการเกิดแผ่นดินไหววเตือน แผ่นดินไหวจริง และ
แผ่นดินไหวติดตาม ถ้าประชาชนไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในเชิงภูเขาไฟอาจหนีไม่ทันและอาจเกิด
ความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินได้
2. การเคลื่อนที่ของลาวา อาจไหลมาจากปากปล่องภูเขาไฟและเคลื่อนที่เร็วถึง 50
กิโลเมตรต่อชั่วโมง มนุษย์และสัตว์อาจหนีภัยไม่ทันและเกิดความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3. การเกิดฝุ่นภูเข้าไฟ เถ้า มูล ภูเขาไฟ ปะทุขึ้นสู่บรรยากาศครอบคลุมอาณาบริเวณใกล้
ภูเขาไฟ และลมอาจพัดพาไปไกลจากแหล่งภูเขาไฟปะทุหลายพันกิโลเมตร ทาให้เกิด
มลภาวะทางอากาศและทางน้า ในแหล่งน้ากินน้าใช้ของประชาชน เมื่อฝนตกหนักอาจจะ
เกิดน้าท่วมและโคลนภล่มตามมาจากฝุ่นและเถ้าภูเขาไฟเหล่านั้น
4. เกิดคลื่นสึนามิ ขนาดเกิดการปะทุของภูเขาไฟ โดยเฉพาะภูเขาไฟใต้ท้องทะเล คลื่นนี้อาจ
โถมเข้าฝั่งสูงขนาดตึก 3 ชั้นขึ้นไป
ถัดไปกลับหน้าหลัก
4) การระวังภัยที่เกิดจากภูเขาไฟปะทุ
1. ต้องมีการพยากรณ์ว่าภูเขาไฟจะเกิดปะทุขึ้น และอาจเป็นอันตรายกับประชาชน
หรือไม่ โดยการประชาสัมพันธ์ การพยากรณ์และเตือนภัยภูเขาไฟปะทุทางวิทยุโทรทัศน์ให้
ประชาชนรับรู้อย่างทั่วถึง ให้ชัดเจนจะเกิดขึ้นเมื่อไร จะต้องมีการอพยพหรือไม่ เพราะอาจมี
บางคนไม่อยากอพยพจนกว่าจะมีการปะทุ และผู้คนจะกลับมาอยู่บ้านของตนได้เร็วที่สุด
เมื่อใด
ถัดไปกลับหน้าหลัก
2. การพยากรณ์ควรเริ่มต้นด้วยการสังเกต เก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยนักภูเขาไฟ
วิทยาที่มีประสบการณ์อย่าจริงจัง เพราะภูเขาไฟไม่ปะทุบ่อยนัก ประชาชน 2-3 พันล้านคน
ของโลกอาจไม่รู้ว่าได้ตั้งถิ่นฐานอยู่บนเชิงภูเขาไฟที่ดับหรือไม่ดับก็ตาม ดังนั้นการเตือนภัย
ล่วงหน้าจะช่วยลดจานวนคนที่ตกเป็นเหยื่อของภูเขาไฟก็ได้ ดังนั้น จึงควรให้ความรู้ว่าภูเขา
ไฟอยู่ที่ไหน จะปะทุเมื่อไร จะคุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างไรเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น
3. การให้ความรู้แก่ประชาชน ทาได้ตลอดเวลาทั้งก่อน ระหว่าง และหลังประสบภัยพิบัติ เมื่อ
ประชาชนรู้เรื่องภัยพิบัติจากการปะทุของภูเขาไฟ นับว่าการเตือนภัยจากภูเขาไฟปะทุมี
ความสาเร็จไปครึ่งทางแล้ว ดีกว่าให้ประชาชนตกอยู่ในความมืดเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น
ถัดไปกลับหน้าหลัก
สึนามิ (Taunami) เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างหนึ่ง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า
“คลื่นอ่าวจอดเรือ” (Haebour Waver) ซึ่ง สึ คาแรก แปลว่า ท่าเรือ ( Harbour) ส่วนคา
ที่สอง นามิ แปลว่า คลื่น (Wave) ในบางครั้งก็อาจเรียกว่า “Seismic Wave” ปัจจุบันใช้
คาเรียกกลุ่มคลื่นที่มีความยาวคลื่นมากๆ ขนาดหลายร้อยกิโลเมตร นับจากยอดคลื่นที่ไล่ตาม
กันไป
ถัดไปกลับหน้าหลัก
สึนามิ
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดสึนามิ
สึนามิเป็นคลื่นทะเลขนาดใหญ่ที่เคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วและมีพลังมาก เกิดจากมวลน้าใน
ทะเลและมหาสมุทรได้รับแรงสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง จนกลายเป็นคลื่นกระจายตัวออกไป
จากศูนย์กลางของการสั่นสะเทือนนั้น ส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นเมื่อมีแผ่นดินไหวรุนแรงใต้ท้องทะ
เลย แต่ก็อาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆได้ เช่น การปะทุของภูเขาไฟบนเกาะหรือใต้ทะเล การพุ่งชน
ของอุกกาบาตขนาดใหญ่ลงบนพื้นน้าในมหาสมุทร การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล เป็น
ต้น
ถัดไปกลับหน้าหลัก
2) สถานการณ์การเกิดสึนามิ
บริเวณที่มักเกิดคลื่นสึนามิ คือ ในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นมักได้รับภัย
จากสึนามิบ่อยครั้งส่วนในทะเลอันดามันของมหาสมุทรอินเดียไม่เคยเกิดสึนามิที่รุนแรงมา
ก่อน จนเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้เกิดสึนามิที่รุนแรงมาก มีจุดกาเนิดอยู่ในทะเล
ทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซีย แล้วแผ่ขยายไปในทะเลอันดามันจน
ไปถึงฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 200.00 คน ใน 11
ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา มัลดีฟส์
โซมาเลีย แทนซาเนีย และเคนยา ในประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,400 คนใน 6
จังหวัด
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3) ผลกระทบที่เกิดจากสึนามิ ผลของคลื่นสึนามิที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและ
สังคม
1. ทาให้แผ่นเปลือกโลกขยับ ค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์คลาดเคลื่อนไป
2. ส่งผลให้สภาพพื้นที่ชายฝั่งทะเลเปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาอันสั้น
3. ทาให้สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ เช่น บ้านเรือนเสียหาย ระบบสาธารณูปโภคถูก
ทาลาย เป็นต้น
กลับหน้าหลัก ถัดไป
4. ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น สัตว์น้าบางประเภทเปลี่ยนที่อยู่อาศัย เป็นต้น
5. กระทบต่อการประกอบอาชีพของประชาชน เช่น การทาประมง การค้าขายบริเวณ
ชายหาด เป็นต้น
6. ส่งผลกระทบต่อธุระกิจการท่องเที่ยว ทาให้นักท่องเที่ยวลดลง
กลับหน้าหลัก ถัดไป
4) การระวังภัยจากสึนามิ วิธีสังเกตและป้องกันตนจากคลื่นสึนามิ
1. เมื่อเกิดแผ่นดินไหวขณะที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดติดชายฝั่งทะเลย ต้องระลึกเสมอว่าอาจ
เกิดคลื่นสึนามิตามมา เพื่อจะได้เตรียมตัวให้พร้อมทุกเมื่อ
2. สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่ง เช่น มีการลดระดับน้าทะเล ให้รีบอพยพครอบครัว
และสัตว์เลี้ยงขึ้นที่สูง เป็นต้น
3. ถ้าอยู่ในเรือจอดใกล้กับชายฝั่งให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเล
4. หลีกเลี่ยงการก่อสร้างใกล้ชายฝั่งในบริเวณที่มีความเสี่ยงสูง หากจาเป็นต้องมีการ
ก่อสร้าง ควรมีโครงสร้างแข็งแรงต้านแรงสึนามิได้
ถัดไปกลับหน้าหลัก
อุทกภัย
อุทกภัย (Flood) คือ ภัยที่เกิดจากน้าท่วม ซึ่งเป็นน้าที่ท่วมพื้นที่บริเวณใดบริเวณ
หนึ่งเป็นครั้งคราว เนื่องจากมีฝนตกหนักหรือหิมะละลาย ทาให้น้าในลาน้าหรือทะเลสาบไหล
ล้นตลิ่งหรือป่าลงมาจากที่สูง ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดอุทกภัย ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เกิดอุทกภัย
1.1 ฝนตกหนักและต่อเนื่องยาวนาน เนื่องจากเกิดลมพายุ ลมมรสุมมีกาลังแรงหรือ
หย่อมความกดอากาศต่ามีกาลังแรง ส่งผลให้ไม่สามารถระบายน้าออกจากพื้นที่ได้ทัน
1.2 พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม บริเวณพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ามักจะประสบปัญหาน้าท่วมเป็น
ประจาทุกปี หากมีฝนตกหนักต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นพื้นที่ต่าจึงไม่สามารถระบายน้าออกไป
ได้
1.3 น้าทะเลหนุน ถ้าหากมีน้าทะเล ขึ้นสูงหนุนน้าเข้าสู่ปากแม่น้าจะทาให้น้าเอ่อไหลล้น
ฝั่ง ทาให้เกิดน้าท่วมบริเวณสองฝั่งแม่น้า
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1.4 พื้นที่รองรับน้าตื้นเขิน นับเป็นมูลเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดน้าท่วม เพราะปริมาณน้าฝน
ที่ตกลงมาแต่ละปีมีปริมาณไม่แตกต่างกัน แต่ตะกอนในท้องน้าของแม่น้าลาคลองและบึงมี
มาก เมื่อถึงช่วงฤดูฝนที่มีปริมาณน้ามากจึงไม่มีแหล่งกักเก็บจึงเอ่อท่วมพื้นที่ต่างๆ
1.5 สิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้า ในอดีตน้าฝนที่ตกลงสู่พื้นดินจะไหลโดยอิสระลง
สู่แหล่งน้าธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันได้มีสิ่งกีดขวางเส้นทางการไหลของน้าทั้งในลาน้า เช่น
ตะกอน สิ่งก่อสร้างริมลาน้า กระชังปลา ส่วนบริเวณบนพื้นดินมีการสร้างถนน อาคาร
บ้านเรือน และพื้นที่เกษตรกรรมขวางทิศทางการไหลของน้า น้าจึงไมสามารถไหลและ
ระบายได้ จึงเกิดน้าท่วมขึ้นตามพื้นที่ต่างๆ
กลับหน้าหลัก ถัดไป
ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย
1. บริเวณที่ราบ เนินเขา จะเกิดอุทกภัยแบบฉับพลัน น้าไหลบ่าอย่างรวดเร็วและมีพลัง
ทาลายสูง ลักษณะแบบนี้เรียกว่า “น้าป่า” เกิดขึ้นเพราะมีน้าหลากจากภูเขา อันเนื่องจากมี
ฝนตกหนักบริเวณต้นน้า จึงทาให้เกิดน้าหลากท่วมฉับพลัน
2. พื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้าและชายฝั่ง เป็นภัยพิบัติที่เกิดขึ้นช้าๆ จากน้าล้นตลิ่ง เมื่อเกิดจะ
กินพื้นที่บริเวณกว้าง น้าท่วมเป็นระยะเวลานาน
3. บริเวณปากแม่น้า เป็นอุทกภัยที่เกิดจากน้าที่ไหลจากที่สูงกว่าและอาจจะมีน้าทะเล
หนุน ประกอบกับแผ่นดินทรุดจึงทาให้เกิดน้าท่วมขังในที่สุด
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3) ผลกระทบที่เกิดจากอุทกภัย
1. น้าท่วมอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างและสาธารณสถาน ซึ่งทาให้เกิดความเสียหายทาง
เศรษฐกิจอย่างมาก บ้านเรือนหรืออาคารสิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรงจะถูกกระแสน้าที่ไหลเชี่ยว
พังทลายได้ คน สัตว์พาหนะ และสัตว์อาจได้รับอันตรายถึงชีวิตจากการจมน้าตาย
2. เส้นทางคมนาคมและการขนส่ง อาจจะถูกตัดเป็นช่วงๆ โดยความแรงของกระแสน้า
ถนนสะพานอาจจะถูกกระแสน้าพัดให้พังทลายได้ สินค้าพัสดุที่อยู่ระหว่างการขนส่งจะได้รับ
ความเสียหายมาก
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3. ระบบสาธารณูปโภค จะได้รับความเสียหาย เช่น โทรศัพท์ ไฟฟ้า เป็นต้น
4. พื้นที่การเกษตรและการปศุสัตว์จะได้รับความเสียหาย เช่น พืชผล ไร่นา ที่กาลังผลิดอก
ออกผลบนพื้นที่ต่า อาจถูกน้าท่วมตายได้ สัตว์พาหนะ สัตว์เลี้ยง ตลอดจนผลผลิตที่เก็บ
กักตุน หรือมีไว้เพื่อทาพันธุ์จะได้รับความเสียหาย ความเสียหายทางอ้อม จะส่งผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจโดยทั่วไป เกิดโรคระบาด สุขภาพจิตเสื่อม และสูญเสียความปลอดภัย เป็นต้น
ถัดไปกลับหน้าหลัก
4) วิธีปฏิบัติในการป้องกันตนเองจากอุทกภัย
1. การวางแผนการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ ควรกาหนดผังเมืองเพื่อรองรับการ
เจริญเติบโตของตัวเมือง ไม่ให้กีดขวางทางไหลของน้า กาหนดการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่น้า
ท่วมให้เป็นพื้นที่ราบลุ่มรับน้า เพื่อเป็นการหน่วงหรือชะลอการเกิดน้าท่วม
2. ไม่บุกรุกทาลายป่าไม้ และไม่ปลูกพืชไร่บนพื้นที่ภูเขาสูงชัน เพราะจะขาดพื้นที่ดูดซับ
และชะลอการไหลของน้า ทาให้น้าไหลลงสู่แม่น้า ลาห้วยได้อย่างรวดเร็ว
3. การเคลื่อนย้ายวัสดุจากที่ที่จะได้รับความเสียหายอันเนื่องมาจากน้าท่วมให้ไปอยู่ในที่
ปลอดภัยหรือที่สูง
ถัดไปกลับหน้าหลัก
4. การนาถุงทรายมาทาเขื่อน เพื่อป้องกันน้าท่วม
5. การพยากรณ์และการเตือนภัยน้าท่วมให้ประชาชนรับทราบล่วงหน้า เพื่อเตรียมป้องกัน
6. การสร้างเขื่อน ฝาย ทานบ และถนน เพื่อเป็นการกักเก็บน้าหรือเป็นการกั้นทางเดินของ
น้า เป็นต้น
ถัดไปกลับหน้าหลัก
แผ่นดินถล่ม (Landslides) คือ การเคลื่อนที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซึ่ง
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของดินหรือหิน ตามบริเวณพื้นที่ลาดชันที่เป็นภูเขาหรือเนินเขา
ถัดไปกลับหน้าหลัก
แผ่นดินถล่ม
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม
1.1 ปัจจัยจากธรรมชาติ มีดังนี้
1. การเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินบริเวณลาดเขาที่มีความชันเกิด
การเคลื่อนที่ลงมาตามแรงดึงดูดของโลก
2. การเกิดฝนตกหนัก ฝนที่ตกหนักต่อเนื่องกันหลายๆวัน น้าฝนจะซึมไปสะสมอยู่ในเนื้อ
ดิน เมื่อดินไม่สามารถอุ้มน้าไว้ได้จะลื่นไถลลงตามความลาดชันและมักมีต้นไม้และเศษหิน
ขนาดต่างๆ เลื่อนไหลตามไปด้วย
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1.2 ปัจจัยจากมนุษย์
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1. การขุดดินบริเวณไหล่เขา ลาดเขาหรือเชิงเขา เพื่อทาการเกษตร การทาถนน การขยายที่
ราบในการพัฒนาที่ดิน เป็นต้น
2. การดูดทรายจากแม่น้า หรือบนแผ่นดิน
3. การขุดดินลึกๆ ในการก่อสร้างห้องใต้ดินของอาคาร
4. การบดอัดดินเพื่อการก่อสร้างทาให้เกิดการเคลื่อนของดินในบริเวณใกล้เคียง
5. การสูบน้าใต้ดิน น้าบาดาลที่มากเกินไป
6. การทาลายป่าเพื่อทาไร่ ทาสวน เป็นต้น
2. สถานการณ์การเกิดแผ่นดินถล่ม
การเกิดแผ่นดินถล่มในต่างประเทศและในประเทศไทยมีลักษณะคล้ายกัน คือ มัก
เกิดในพื้นที่ภูเขาที่มีความลาดชัน มีการปรับพื้นที่ป่าตั้งเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม สร้าง
บ้านพักอาศัย สร้างรีสอร์ตบริการนักท่องเที่ยว และเมื่อมีฝนตกชุกต่อเนื่องยาวนานมากกว่า
24 ชั่วโมง มักจะเกิดแผ่นดินถล่มเอาดินโคลน เศษหิน ซากไม้ลงมาพร้อมกับสายน้า สร้าง
ความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สินทุกครั้ง และการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวนี้มักเกิดถี่ขึ้น
และรุนแรงมากขึ้นทุกๆครั้งด้วย ทาให้บ้านเรือนเสียหายอย่างมาก
ถัดไปกลับหน้าหลัก
เป็นภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายุลมแรง สามารถแบ่งลักษณะของวาตภัยได้ตามความเร็ว
ลม สถานที่ที่เกิด เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง พายุดีเปรชัน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น เป็นต้น ทาให้
เกิดความเสียหายให้แก่ชีวิตของมนุษย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ
วาตภัย
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1.1)พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุหมุนที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อน ได้แก่ พายุ
ดีเปรชัน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกต่างกันไปตามแหล่งกาเนิด เช่น
พายุที่เกิดในอ่าว เบงกอลและมหาสมุทรอินเดียเรียกว่า “ไซโคลน” (Cyclone) พายุที่เกิด
ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และทางด้านตะวันตกของ
เม็กซิโกเรียกว่า “เฮอลิแคน” (Hurricane) พายุที่เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือทางด้าน
ฝั่งตะวันตกมหาสมุทรแปซิฟิกไต้ และทะเลจีนไต้ เรียกว่า “ไต้ฝุ่น” (Typhoon) พายุที่เกิด
แถบทวีปออสเตรเลีย เรียกว่า “วิลลี-วิลลี” (willy-willy) หรือเรียกชื่อตามบริเวณที่เกิด
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดวาตภัย
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1.2) ลมงวง หรือพายุทอร์นาโด เป็นพายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการหมุนเวียนของ
ลมภายใต้เมฆก่อตัวในแนวดิ่งหรือเมฆพายุฝนฟ้าคะนอน (เมฆคิวมูโลนิมบัส)ที่มีฐานเมฆต่า
กระแสลมวนที่มีความเร็วลมสูงนี้จะทาให้กระแสอากาศเป็นลมพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้า หรือย้อยลง
มาจากฐานเมฆดูคล้ายกับงวงหรือปล่องยื่นลงมา ถ้าถึงพื้นดินก็จะทาความเสียหายแก่
บ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งปลูกสร้างได้
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1.3)พายุฤดูร้อน เป็นพายุที่เกิดในฤดูร้อน ในประเทศไทยส่วนมากเกิดระหว่างเดือนมีนาคม
ถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดบ่อยครั้งในภาคเหนือและภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือส่วนกลางและภาคตะวันออก การเกิดน้อยครั้งกว่า สาหรับภาคใต้ก็
สามารถเกิดได้แต่ไม่บ่อยนัก โดยพายุฤดูร้อนจะเกิดในช่วงที่มีลักษณะอากาศร้อนอบอ้าว
ติดต่อกันหลายวันแล้วมีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัดมาประ
ทะกัน ทาให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกได้โดยจะทาความเสียหาย
ในบริเวณกว้างนักประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3) ผลกระทบที่เกิดจากวาตภัย
บนบก ต้นไม้ถอนรากถอนโคนต้นไม้ทับบ้านเรือนพัง ผู้คนได้รับบาดเจ็บจนอาจถึง
เสียชีวิต เรือกสวนไร่นาเสียหายหนักมาก บ้านเรียนที่ไม่แข็งแรงไม่สามารถต้านทานความ
รุนแรงของลมได้พังระเนระนาดหลังคาที่ทาด้วยสังกะสีจะถูกพัดเปิดกระเบื้องหลังคาปลิว
ว่อน เป็นอันตรายต่อผู้คนที่อยู่ในที่โล่งแจ้ง เสาไฟฟ้า เสาไฟล่มสายไฟขาด ไฟฟ้า
ลัดวงจร เกิดไฟไหม้ผู้คนสูญเสียจากไฟฟ้าดูดได้ ผู้คนที่พักอยู่ริมทะเลจะถูกคลื่นซัดท่วม
บ้านเรือนและกวาดลงทะเล ผู้คนอาจจมน้าทะเลตายได้ ฝนตกหนักมากทั้งวันทั้งคืน เกิด
อุทกภัยตามมา น้าป่าจากภูเขาไหลหลากลงมาอย่างรุนแรง ท่วมบ้านเรือน ถนน และไร่สวน
นา เส้นทางคมนาคม ทางรถไฟ สะพาน และถูกตัดขาด
ถัดไปกลับหน้าหลัก
ในทะเล มีลมพัดแรง คลื่นใหญ่ เรือขนาดใหญ่อาจพัดพาไปเกยฝั่งหรือชน หินโสโครกทา
ให้จมได้ เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝั่ง หลีกเลี่ยงการเดินเรือเข้าใกล้ศูนย์กลางพายุมีคลื่น
ใหญ่ซัดฝั่งทาให้ระดับน้าสูงท่วมอาคารบ้านเรือนบริเวณทะเล พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง
และอาจกวาดสิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรงลงทะเลได้ เรือประมงบริเวณชายฝั่งจะถูกทาลาย
ถัดไปกลับหน้าหลัก
4) การระวังภัยจากวาตภัย
1. ติดตามข่าวสาร การพยากรณ์
อากาศผ่านทางวิทยุโทรทัศน์ อย่าง
สม่าเสมอ
2. ตรวจสอบบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ว่ามั่ง
คงแข็งแรง ปลอดภัยจากลมแรงหรือไม่
สิ่งของที่อาจจะหล่นลงมาแตกหักได้ง่าย ให้
จัดวางในที่ปลอดภัยหรือผูกมัดให้แน่นหนา
ถัดไปกลับหน้าหลัก
3. ตรวจสอบต้นไม้ กิ่งไม้ บริเวณ
ใกล้เคียงอาคารบ้านเรือนหากจะเป็น
อันตรายเมื่อเกิดพายุให้ตัดเสีย
4. เมื่อเกิดลมพายุ ไม่ควรออกไปในที่โล่ง
แจ้งเพราะอาจเกิดอันตรายได้ ควรอยู่ในที่
มั่นคงแข็งแรง ปิดประตูหน้าต่างให้เรียบร้อย
อย่าเปิดเมื่อพายุพัดผ่าน
ถัดไปกลับหน้าหลัก
ไฟป่า(Wild Fire) คือ ไฟที่เกิดขึ้นแล้วลุกลามไปได้โดยปราศจากการควบคุมไฟ
ป่าอาจเกิดขึ้นจากสาเหตุธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์แล้วส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมและการดารงชีวิตของมนุษย์ ไฟป่าที่เกิดขึ้นบริเวณภูขาจะมีความรุนแรงและขยาย
พื้นที่ได้เร็วกว่าพื้นราบ
ไฟป่า
ถัดไปกลับหน้าหลัก
1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดไฟป่ า
1 ฟ้าผ่า เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา และ
ประเทศแคนาดา (ภาพที่ 1.7) พบว่ากว่าครึ่งหนึ่งของไฟป่าที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากฟ้าผ่า|
2 กิ่งไม้เสียดสีกัน อาจเกิดขึ้นได้ในพื้นที่ป่าที่มีไม้ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและมีสภาพอากาศแห้ง
จัด เช่น ในป่าไผ่หรือป่าสน เป็นต้น
เกิดจากธรรมชาติ
ถัดไปกลับหน้าหลัก
2. สาเหตุจากมนุษย์
2.1 เก็บหาของป่า เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดไฟป่ามากที่สุด การเก็บหาของป่าส่วนใหญ่ได้แก่ ไข่
มดแดง เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้าผึ้ง ผักหวาน และไม้ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่เพื่อให้พื้นป่าโล่ง
เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือจุดเพื่อ
กระตุ้นการงอกของเห็ด หรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือจุดเพื่อไล่
ตัวมดแดงออกจากรัง รมควันไล่ผึ้ง หรือไล่แมลงต่างๆ ในขณะที่อยู่ในป่า
ถัดไปกลับหน้าหลัก
2.2 เผาไร่ เป็นสาเหตุที่สาคัญรองลงมา การเผาไร่ก็เพื่อกาจัดวัชพืชหรือเศษซากพืชที่เหลืออยู่
ภายหลังการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบต่อไป ทั้งนี้โดยปราศจากการทา
แนวกันไฟและปราศจากการควบคุม ไฟจึงลามเข้าป่าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง
2.3 แกล้งจุด ในกรณีที่ประชาชนในพื้นที่มีปัญหาความขัดแย้งกับหน่วยงานของรัฐในพื้นที่
โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเรื่องที่ทากินหรือถูกจับกุมจากการกระทาผิดในเรื่องป่าไม้ ก็มักจะ
หาทางแก้แค้นเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาป่า
ถัดไปกลับหน้าหลัก
การระวังภัยจากไฟป่ า
1. งดเว้นการจุดไฟป่าโดยเด็ดขาด
2. หากมีความจาเป็นต้องเผาในพื้นที่เกษตรกรรมใกล้พื้นที่ป่า ควรทาแนวกันไฟ
และ ควบคุมการเผาอย่างใกล้ชิดมิให้ลุกลามออกไป
3. หากพบเห็นไฟไหม้ป่า โปรดแจ้งหน่วยงานควบคุมไฟป่าในพื้นที่ หรือ โทรสาย
ด่วน ๑๓๖๒ ได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
ถัดไปกลับหน้าหลัก
พายุหิมะ
พายุหิมะเป็นพายุที่ทาให้เกิดหิมะจานวนมาก จนมองไม่เห็นทางข้างหน้า ผลที่เกิดขึ้น
คือ ทาให้วิสัยทัศน์ในการมองเห็นแทบจะเหลือศูนย์หรือมองไม่เห็นเลย กองหิมะที่สูงใหญ่และ
ลึก พร้อมกับอากาศที่หนาวสั่น จะสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและขัดขวางต่อการ
คมนาคมขนส่ง รวมทั้งการติดต่อสื่อสารด้านโทรคมนาคม
ถัดไปกลับหน้าหลัก
การเตรียมการ
- เก็บตุนอาหารที่ให้พลังงานสูง เช่น ผลไม้อบแห้ง ของหวาน และอาหารที่ไม่เน่าเสียง่าย
ต้องเป็นอาหารที่พร้อมรับประทานทันที เช่น อาหารกระป๋ อง เป็นต้น
- เตรียมเชื้อเพลิงสาหรับการก่อไฟ เช่น ถ่านไม้ ไม้แห้ง โดยต้องเก็บไว้ในที่หยิบได้ง่าย
- อุปกรณ์จุดไฟ เช่น ไม้ขีดไฟ ไฟแช็ค โดยต้องเก็บไว้ในที่หยิบได้ง่าย
- ควรมีเตาถ่านสาหรับผิงไฟ ไม่ควรจุดไฟไว้บนพื้น หรือจุดเตาถ่านในสถานที่อับ หรือใน
อากาศที่ไม่ถ่ายเท
- ควรมีอุปกรณ์ดับเพลิง และมีการตรวจสภาพอยู่สม่าเสมอเพื่อสามารถใช้งานได้
ตลอดเวลา
ถัดไปกลับหน้าหลัก
บรรณานุกรม
https://etcgeography.wordpress.com
http://cendru.eng.cmu.ac.th/articles/13
https://th.m.wikipedia.org
http://www.thailandsurvival.com
https://th.wikipedia.org
http://www.dnp.go.th
http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-
phenomenon/volcano
กลับหน้าหลัก

More Related Content

Similar to งานคู่

ปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณีปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณีochestero
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 
test upload
test uploadtest upload
test uploadoumkmcn
 
test uoload
test uoloadtest uoload
test uoloadmmomie
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติN'nam Love Peerayut
 
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)พัน พัน
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวNIMT
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรNipitapon Khantharot
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjirawat191
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศUNDP
 
สื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาสื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาComputer ITSWKJ
 
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวการออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวqcstandard
 

Similar to งานคู่ (20)

แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
ปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณีปรากฏการณ์ทางธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณี
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 
test upload
test uploadtest upload
test upload
 
test uoload
test uoloadtest uoload
test uoload
 
ภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติ
 
Volcanic ภูเขาไฟ
Volcanic ภูเขาไฟVolcanic ภูเขาไฟ
Volcanic ภูเขาไฟ
 
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
 
สื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภาสื่อครูรุ่งนภา
สื่อครูรุ่งนภา
 
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวการออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
 

More from naleesaetor

งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project naleenaleesaetor
 
ใบงาน แบบสำรวจตัวเอง
ใบงาน   แบบสำรวจตัวเองใบงาน   แบบสำรวจตัวเอง
ใบงาน แบบสำรวจตัวเองnaleesaetor
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของnaleesaetor
 
ใบงาน แบบสำรวจคัวเอง
ใบงาน   แบบสำรวจคัวเองใบงาน   แบบสำรวจคัวเอง
ใบงาน แบบสำรวจคัวเองnaleesaetor
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของnaleesaetor
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของnaleesaetor
 

More from naleesaetor (7)

งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project nalee
 
ใบงาน แบบสำรวจตัวเอง
ใบงาน   แบบสำรวจตัวเองใบงาน   แบบสำรวจตัวเอง
ใบงาน แบบสำรวจตัวเอง
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
 
ใบงาน แบบสำรวจคัวเอง
ใบงาน   แบบสำรวจคัวเองใบงาน   แบบสำรวจคัวเอง
ใบงาน แบบสำรวจคัวเอง
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของใบงาน   แบบสำรวจและประวัติของ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ
 

งานคู่

  • 3. เนื่องจากปัจจุบันโลกของเราได้มีการเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ทาให้เกิดภัยพิบัติต่างๆ มากมาย อันเกิดจากธรรมชาติ และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบนโลกทั้งคน สัตว์ ป่า และสิ่งก่อสร้าง ต่างๆ ภัยธรรมชาติ นั้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ หรือมนุษย์ได้ทาให้มันเกิดขึ้นมา ภัยธรรมชาติมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปบางอย่างร้ายแรงน้อย บางอย่างร้ายแรงมากซึ่งอาจ ทาให้เกิดผลเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน เช่น การเกิดอุทกภัยหรือน้าท่วม การเกิดพายุ การเกิด แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น ซึ่งภัยธรรมชาติต่างๆไม่ว่าจะร้ายแรงมากหรือน้อยก็เกิดขึ้น ได้ทุกเวลาโดยที่มนุษย์ไม่ได้ตั้งตัว จากบทความข้างต้นทาให้เล็งเห็นถึงผลกระทบมากมายที่เกิด จากภัยธรรมชาติ คณะผู้จัดทาจึงทาโครงงานภัยธรรมชาตินี้เพื่อให้ทุกคนมีความรู้ และตระหนัก ถึงผลที่จะเกิดขึ้นพร้อมทั้งวิธีป้องกันตัวจากภัยธรรมชาติเหล่านี้ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 4. 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับภัยธรรมชาติ 2. รู้จักวิธีป้องกันจากผลกระทบทางธรรมชาติธรรมชาติ 3. ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ 4. รู้จักระมัดระวังตัวเอง 5. รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 5. ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลให้ เกิดอันตรายและเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดขึ้นใน 3 ลักษณะ คือ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก เช่น การเกิดแผ่นดินถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า และภัยพิบัติที่เกิดขึ้นใน บรรยากาศ เช่น วาตภัย ภาวะโลกร้อน ลูกเห็บ ฟ้าผ่า เป็นต้น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 6. แผ่นดินไหว ถัดไปกลับหน้าหลัก แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่แผ่นดินมีการสั่นสะเทือน ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของแรงบางอย่างที่อยู่ใต้พื้นโลก เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคลื่นของแผ่นดินไหวจะ กระจายไปสู่บริเวณส่วนต่างๆ ของโลก และถ้าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวเป็นไปอย่างรุนแรง อุปกรณ์ตรวจจับคลื่นที่อยู่ห่างออกไปไกลนับหมื่นกิโลเมตรก็สามารถรับคลื่นแผ่นดินไหวได้
  • 7. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวเกิดจากการสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึก ได้จุดใดจุดหนึ่นบนผิวโลก แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากการคลายตัวอย่างรวดเร็วของความเครียด ภายในเปลือกโลกในรูปแบบของการเลื่อนตัวของแผ่นดินไหวได้เช่นกัน ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 8. 2) สถานการณ์เกิดแผ่นดินไหว ในปัจจุบันได้เกิดปรากฎการณ์แผ่นดินไหวในภูมิภาค ต่างๆ ของโลกบ่อยครั้งขึ้นและรุนแรงมากขึ้น โดยมีศูนย์กลางการเกิดตามพื้นที่เสี่ยงภัยต่างๆ โดยเฉพาะตามแนวรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกทั้งหลาย ในประเทศไทยการเกิดปรากฎการณ์แผ่นดินไหวค่อนข้างน้อยและได้รับผลกระทบไม่ รุนแรงมากนัก ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 9. 3) ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว เมื่อมีแผ่นดินไหวขนาดเล็กหรือปานกลาง เกิดขึ้น (ขนาดปานกลาง 4-6 ริกเตอร์ ขนาดเล็ก 1-3 ริกเตอร์) จะเกิดรอยร้าวของอาคารและ สิ่งของตกลงพื้นหรือแกว่ง แต่ถ้าขนาดของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ คือ ตั้งแต่ 7 ริกเตอร์ขึ้นไปจะเกิด ความรุนแรงมาก คือ อาคารที่ไม่แข็งแรงจะพังทรุดถล่ม มีผู้เสียชีวิตมาก กรณีที่เกิดแผ่นดินไหวใน พื้นที่ที่เป็นเกาะ และมีขนาดตั้งแต่ 7.5 ริกเตอร์ขึ้นไป ส่งผลให้เกิดคลื่นสึนามินอกจากนี้การเกิด แผ่นดินไหวขนาดใหญ่อาจจะทาให้พื้นที่บริเวณเชิงเขาที่ลาดชันเกิดดินถล่มลงมาทับบ้านเรือน แถบเขาและอาจเกิดแผ่นดินแยกกัน ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 10. พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย กรมทรัพยากรธรณีได้จัดทาแผนที่แสดงบริเวณเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทยและแสดง ความเสี่ยงของโอกาศการเกิดแผ่นดินไหวที่จะเกิดความเสียหายตามมาตราอันดับขั้นรุนแรงของ แผ่นดินไหว เรียกว่า”มาตราเมร์กัลป์ ลี”(Mercalli scaie) ดังนี้ 1. เขตความรุนแรงน้อย สภาพของแผ่นดินไหวจะสามารถตรวจจับความสั่นสะเทือนระดับ I-II เมร์กัลป์ ลี โดยเครื่องตรวจรับความสั่นสะเทือน คนไม่สามารถรู้สึกได้ พบได้บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ ของถาคตะวันออกเฉีงเหนือและภาคตะวันออก ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 11. 2. เขตความรุนแรงพอประมาณ สภาพของแผ่นดินไหวคนสามารถรู้สึกได้ และเครื่องตรวจ จับความสั่นสะเทือนจะอยู่ในระดับ III-IV เมร์กัลป์ ลี พบได้บริเวณภาคตะวันออกฉียงเหนือ ตอนบนภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยตั้งแต่นครศรีธรรมราชลงไป 3. เขตที่มีความรุนแรงน้อย-ปานกลาง สภาพของแผ่นดินไหวคนรู้สึกได้ ระดับความ สั่นสะเทือน V-VI เมร์กัลป์ ลี บ้านสั่นสะเทือน ต้นไม่สั่น สิ่งปลูกสร้างที่ออกแบบไม่ดีอาจพังได้ พบ บริเวณภาคเหนือ ขอบภาคกลางด้านทิศตะวันตก กรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคตะวันตกตอนล่าง และภาคใต้ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 12. 4. เขตที่มีความรุนแรงปานกลาง สภาพของ แผ่นดินไหวคนรู้สึกได้ สิ่งของในห้องตกหล่น ตึก ร้าว ระดับความสั่นสะเทือน VII-VIII เมร์กัลป์ ลี ทาให้สิ่งก่อสร้างเสียหาย บริเวณที่อาจเกิดขึ้นได้ ได้แก่ ภาคเหนือและภาคตะวันตกที่มีชายแดน ติดต่อกับสหภาพพม่าจนถึงจังหวัดกาญจนบุรี ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 14. 2. ขณะเกิดเหตุห้ามใช้ ลิฟต์เพราะไฟฟ้าอาจดับได้ และ ควรมุดลงใต้โตะที่แข็งแรง เพื่อ ป้องกันสิ่งของร่วงหล่นทับ 3. หากอยู่ภาคนอกอาคาร ให้หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้เสาไฟฟ้า กาแพง และอาคารสูง หายอยู่ใกล้ ชายฝั่งทะเลให้รีบขึ้นที่สูงที่ห่างจาก ชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นสึนา มิได้ กลับหน้าหลัก ถัดไป
  • 16. ภูเขาไฟปะทุ ภูเขาไฟ (Volcano) เป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นจากการปะทุของหินหนืด แก๊ส และเถ้า ธุลี ภูเขาไฟจากใต้เปลือกโลกแล้วปรากฎตัวเป็นสภาพภูมิประเทศ ภูเขาไฟมีทั้งที่ดับแล้วและ ที่ยังมีพลังอยู่ ภูเขาไฟที่ดับแล้วเป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นนานมาก อาจเป็นหลายแสนล้านปี หิน หนืดที่ไหลออกมาแข็งตัวกลายเป็นหินภูเขาไฟบนพื้นโลก ส่วนภูเขาไฟที่ยังมีพลังเป็นภูเขาไฟ ที่มีการปะทุ หรือดับชั่วคราว ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่มอดแล้วนานนับพันปี อาจจะปะทุใหม่ได้อีก ปัจจุบันนี้ทั่วโลกมีภูเขาไฟที่มีพลังอยู่ประมาณ 1.300 ลูก และมีภูเขาไฟที่ดับแล้วจานวนมาก ที่กลายเป็นภูเขาที่สาคัญ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 17. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดการปะทุของภูเขาไฟ 1.1) การปะทุของแมกมา แก๊ส และเถ้าถ่านจากได้เปลือกโลก การปะทุมักมีสัณ ญาณบอกเหตุให้รู้ล่วงหน้า เช่น แผ่นดินไหวในบริเวณรอบๆ ภูเขาไฟเกิดการสั่นสะเทือน มี เสียงคล้ายฟ้าร้อง เสียงที่ดังนั้นเกิดจากการเคลื่อนไหวของแมกมา แก๊สต่างๆ และไอน้าที่ถูก อัดไว้ เมื่อเกิดการปะทุ ลาวา เศษหิน ฝุ่นละออง เถ้าถ่านภูเขาไฟ จะถูกพ่นออกมาทางปล่อง ภูเขาไฟหรือออกมาทางช่องด้านข้างของภูเขาไฟ หรือตามรอยแตกแยกของภูเขาไฟ แมกมา เมื่อขึ้นสู่ผิวโลกจะเรียกวา “ลาวา” (Lava) ลาวาที่ออกสู่พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิสูงถึง 1.200 ⁰C ไหลไปตามความลาดเอียงของพื้นที่ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 18. 1.2) การปะทุของหินหนืดหรือแมกมา ภายในแมกมาจะมีแก๊สอยู่ เมื่อแมกมาเคลื่อน ขึ้นมาใกล้ผิวโลกตามช่องเปิดแก๊สต่างๆ ที่ละลายอยู่จะแยกตัวออกเป็นฟองแก๊สจะเพิ่มจานวน มากขึ้น และขยายตัวอย่างรวดเร็ว ความหนืดของแมกมาตรงที่เกิดฟองจะเพิ่มสูงขึ้นตามไป ด้วย จนเกิดการแตกร้าวของฟองแก๊สพร้อมๆ กับการขยายตัวแล้วเกิดปะทุออกอย่างรุนแรง ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 19. ในย่านภูเขาไฟของโลกยังมีปรากฏการณ์ภูเขาไฟปะทุอยู่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสิ่งที่ชี้ชัดว่า ภายในเปลือกโลกยังมีมวลหินหนืดหลอมละลายอยู่อีกและพยายามหาทางระบายความร้อน ดังกล่าว ส่วนในประเทศไทยมีภูเขาไฟอยู่ในทุกภูมิภาค ลักษณะของภูเขาไฟในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นภูเขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano) ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่มีความลาดชันน้อย ประมาณ 4-10 องศา ภูเขาไฟแบบนี้เกิดเนื่องจากการไหลลามของลาวาแบบบะซอลต์ซึ่ง ค่อนข้างเหลวและไหลง่าย จึงไหลแผ่ออกไปเป็นบริเวณกว้าง หากมีการปะทุขึ้นก็จะไม่รุนแรง 2) สถานการณ์การเกิดภูเขาไฟปะทุ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 20. 3) ผลกระทบที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟ 1. ทาให้เกิดแรงสั่นสะเทือน มีทั้งการเกิดแผ่นดินไหววเตือน แผ่นดินไหวจริง และ แผ่นดินไหวติดตาม ถ้าประชาชนไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในเชิงภูเขาไฟอาจหนีไม่ทันและอาจเกิด ความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินได้ 2. การเคลื่อนที่ของลาวา อาจไหลมาจากปากปล่องภูเขาไฟและเคลื่อนที่เร็วถึง 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มนุษย์และสัตว์อาจหนีภัยไม่ทันและเกิดความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 21. 3. การเกิดฝุ่นภูเข้าไฟ เถ้า มูล ภูเขาไฟ ปะทุขึ้นสู่บรรยากาศครอบคลุมอาณาบริเวณใกล้ ภูเขาไฟ และลมอาจพัดพาไปไกลจากแหล่งภูเขาไฟปะทุหลายพันกิโลเมตร ทาให้เกิด มลภาวะทางอากาศและทางน้า ในแหล่งน้ากินน้าใช้ของประชาชน เมื่อฝนตกหนักอาจจะ เกิดน้าท่วมและโคลนภล่มตามมาจากฝุ่นและเถ้าภูเขาไฟเหล่านั้น 4. เกิดคลื่นสึนามิ ขนาดเกิดการปะทุของภูเขาไฟ โดยเฉพาะภูเขาไฟใต้ท้องทะเล คลื่นนี้อาจ โถมเข้าฝั่งสูงขนาดตึก 3 ชั้นขึ้นไป ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 22. 4) การระวังภัยที่เกิดจากภูเขาไฟปะทุ 1. ต้องมีการพยากรณ์ว่าภูเขาไฟจะเกิดปะทุขึ้น และอาจเป็นอันตรายกับประชาชน หรือไม่ โดยการประชาสัมพันธ์ การพยากรณ์และเตือนภัยภูเขาไฟปะทุทางวิทยุโทรทัศน์ให้ ประชาชนรับรู้อย่างทั่วถึง ให้ชัดเจนจะเกิดขึ้นเมื่อไร จะต้องมีการอพยพหรือไม่ เพราะอาจมี บางคนไม่อยากอพยพจนกว่าจะมีการปะทุ และผู้คนจะกลับมาอยู่บ้านของตนได้เร็วที่สุด เมื่อใด ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 23. 2. การพยากรณ์ควรเริ่มต้นด้วยการสังเกต เก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยนักภูเขาไฟ วิทยาที่มีประสบการณ์อย่าจริงจัง เพราะภูเขาไฟไม่ปะทุบ่อยนัก ประชาชน 2-3 พันล้านคน ของโลกอาจไม่รู้ว่าได้ตั้งถิ่นฐานอยู่บนเชิงภูเขาไฟที่ดับหรือไม่ดับก็ตาม ดังนั้นการเตือนภัย ล่วงหน้าจะช่วยลดจานวนคนที่ตกเป็นเหยื่อของภูเขาไฟก็ได้ ดังนั้น จึงควรให้ความรู้ว่าภูเขา ไฟอยู่ที่ไหน จะปะทุเมื่อไร จะคุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างไรเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น 3. การให้ความรู้แก่ประชาชน ทาได้ตลอดเวลาทั้งก่อน ระหว่าง และหลังประสบภัยพิบัติ เมื่อ ประชาชนรู้เรื่องภัยพิบัติจากการปะทุของภูเขาไฟ นับว่าการเตือนภัยจากภูเขาไฟปะทุมี ความสาเร็จไปครึ่งทางแล้ว ดีกว่าให้ประชาชนตกอยู่ในความมืดเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 24. สึนามิ (Taunami) เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างหนึ่ง ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า “คลื่นอ่าวจอดเรือ” (Haebour Waver) ซึ่ง สึ คาแรก แปลว่า ท่าเรือ ( Harbour) ส่วนคา ที่สอง นามิ แปลว่า คลื่น (Wave) ในบางครั้งก็อาจเรียกว่า “Seismic Wave” ปัจจุบันใช้ คาเรียกกลุ่มคลื่นที่มีความยาวคลื่นมากๆ ขนาดหลายร้อยกิโลเมตร นับจากยอดคลื่นที่ไล่ตาม กันไป ถัดไปกลับหน้าหลัก สึนามิ
  • 25. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดสึนามิ สึนามิเป็นคลื่นทะเลขนาดใหญ่ที่เคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วและมีพลังมาก เกิดจากมวลน้าใน ทะเลและมหาสมุทรได้รับแรงสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง จนกลายเป็นคลื่นกระจายตัวออกไป จากศูนย์กลางของการสั่นสะเทือนนั้น ส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นเมื่อมีแผ่นดินไหวรุนแรงใต้ท้องทะ เลย แต่ก็อาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆได้ เช่น การปะทุของภูเขาไฟบนเกาะหรือใต้ทะเล การพุ่งชน ของอุกกาบาตขนาดใหญ่ลงบนพื้นน้าในมหาสมุทร การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล เป็น ต้น ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 26. 2) สถานการณ์การเกิดสึนามิ บริเวณที่มักเกิดคลื่นสึนามิ คือ ในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นมักได้รับภัย จากสึนามิบ่อยครั้งส่วนในทะเลอันดามันของมหาสมุทรอินเดียไม่เคยเกิดสึนามิที่รุนแรงมา ก่อน จนเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้เกิดสึนามิที่รุนแรงมาก มีจุดกาเนิดอยู่ในทะเล ทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซีย แล้วแผ่ขยายไปในทะเลอันดามันจน ไปถึงฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 200.00 คน ใน 11 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา มัลดีฟส์ โซมาเลีย แทนซาเนีย และเคนยา ในประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,400 คนใน 6 จังหวัด ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 27. 3) ผลกระทบที่เกิดจากสึนามิ ผลของคลื่นสึนามิที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม 1. ทาให้แผ่นเปลือกโลกขยับ ค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์คลาดเคลื่อนไป 2. ส่งผลให้สภาพพื้นที่ชายฝั่งทะเลเปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาอันสั้น 3. ทาให้สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ เช่น บ้านเรือนเสียหาย ระบบสาธารณูปโภคถูก ทาลาย เป็นต้น กลับหน้าหลัก ถัดไป
  • 28. 4. ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น สัตว์น้าบางประเภทเปลี่ยนที่อยู่อาศัย เป็นต้น 5. กระทบต่อการประกอบอาชีพของประชาชน เช่น การทาประมง การค้าขายบริเวณ ชายหาด เป็นต้น 6. ส่งผลกระทบต่อธุระกิจการท่องเที่ยว ทาให้นักท่องเที่ยวลดลง กลับหน้าหลัก ถัดไป
  • 29. 4) การระวังภัยจากสึนามิ วิธีสังเกตและป้องกันตนจากคลื่นสึนามิ 1. เมื่อเกิดแผ่นดินไหวขณะที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดติดชายฝั่งทะเลย ต้องระลึกเสมอว่าอาจ เกิดคลื่นสึนามิตามมา เพื่อจะได้เตรียมตัวให้พร้อมทุกเมื่อ 2. สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่ง เช่น มีการลดระดับน้าทะเล ให้รีบอพยพครอบครัว และสัตว์เลี้ยงขึ้นที่สูง เป็นต้น 3. ถ้าอยู่ในเรือจอดใกล้กับชายฝั่งให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเล 4. หลีกเลี่ยงการก่อสร้างใกล้ชายฝั่งในบริเวณที่มีความเสี่ยงสูง หากจาเป็นต้องมีการ ก่อสร้าง ควรมีโครงสร้างแข็งแรงต้านแรงสึนามิได้ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 30. อุทกภัย อุทกภัย (Flood) คือ ภัยที่เกิดจากน้าท่วม ซึ่งเป็นน้าที่ท่วมพื้นที่บริเวณใดบริเวณ หนึ่งเป็นครั้งคราว เนื่องจากมีฝนตกหนักหรือหิมะละลาย ทาให้น้าในลาน้าหรือทะเลสาบไหล ล้นตลิ่งหรือป่าลงมาจากที่สูง ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 31. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดอุทกภัย ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลให้เกิดอุทกภัย 1.1 ฝนตกหนักและต่อเนื่องยาวนาน เนื่องจากเกิดลมพายุ ลมมรสุมมีกาลังแรงหรือ หย่อมความกดอากาศต่ามีกาลังแรง ส่งผลให้ไม่สามารถระบายน้าออกจากพื้นที่ได้ทัน 1.2 พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม บริเวณพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ามักจะประสบปัญหาน้าท่วมเป็น ประจาทุกปี หากมีฝนตกหนักต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นพื้นที่ต่าจึงไม่สามารถระบายน้าออกไป ได้ 1.3 น้าทะเลหนุน ถ้าหากมีน้าทะเล ขึ้นสูงหนุนน้าเข้าสู่ปากแม่น้าจะทาให้น้าเอ่อไหลล้น ฝั่ง ทาให้เกิดน้าท่วมบริเวณสองฝั่งแม่น้า ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 32. 1.4 พื้นที่รองรับน้าตื้นเขิน นับเป็นมูลเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดน้าท่วม เพราะปริมาณน้าฝน ที่ตกลงมาแต่ละปีมีปริมาณไม่แตกต่างกัน แต่ตะกอนในท้องน้าของแม่น้าลาคลองและบึงมี มาก เมื่อถึงช่วงฤดูฝนที่มีปริมาณน้ามากจึงไม่มีแหล่งกักเก็บจึงเอ่อท่วมพื้นที่ต่างๆ 1.5 สิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้า ในอดีตน้าฝนที่ตกลงสู่พื้นดินจะไหลโดยอิสระลง สู่แหล่งน้าธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันได้มีสิ่งกีดขวางเส้นทางการไหลของน้าทั้งในลาน้า เช่น ตะกอน สิ่งก่อสร้างริมลาน้า กระชังปลา ส่วนบริเวณบนพื้นดินมีการสร้างถนน อาคาร บ้านเรือน และพื้นที่เกษตรกรรมขวางทิศทางการไหลของน้า น้าจึงไมสามารถไหลและ ระบายได้ จึงเกิดน้าท่วมขึ้นตามพื้นที่ต่างๆ กลับหน้าหลัก ถัดไป
  • 33. ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย 1. บริเวณที่ราบ เนินเขา จะเกิดอุทกภัยแบบฉับพลัน น้าไหลบ่าอย่างรวดเร็วและมีพลัง ทาลายสูง ลักษณะแบบนี้เรียกว่า “น้าป่า” เกิดขึ้นเพราะมีน้าหลากจากภูเขา อันเนื่องจากมี ฝนตกหนักบริเวณต้นน้า จึงทาให้เกิดน้าหลากท่วมฉับพลัน 2. พื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้าและชายฝั่ง เป็นภัยพิบัติที่เกิดขึ้นช้าๆ จากน้าล้นตลิ่ง เมื่อเกิดจะ กินพื้นที่บริเวณกว้าง น้าท่วมเป็นระยะเวลานาน 3. บริเวณปากแม่น้า เป็นอุทกภัยที่เกิดจากน้าที่ไหลจากที่สูงกว่าและอาจจะมีน้าทะเล หนุน ประกอบกับแผ่นดินทรุดจึงทาให้เกิดน้าท่วมขังในที่สุด ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 34. 3) ผลกระทบที่เกิดจากอุทกภัย 1. น้าท่วมอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างและสาธารณสถาน ซึ่งทาให้เกิดความเสียหายทาง เศรษฐกิจอย่างมาก บ้านเรือนหรืออาคารสิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรงจะถูกกระแสน้าที่ไหลเชี่ยว พังทลายได้ คน สัตว์พาหนะ และสัตว์อาจได้รับอันตรายถึงชีวิตจากการจมน้าตาย 2. เส้นทางคมนาคมและการขนส่ง อาจจะถูกตัดเป็นช่วงๆ โดยความแรงของกระแสน้า ถนนสะพานอาจจะถูกกระแสน้าพัดให้พังทลายได้ สินค้าพัสดุที่อยู่ระหว่างการขนส่งจะได้รับ ความเสียหายมาก ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 35. 3. ระบบสาธารณูปโภค จะได้รับความเสียหาย เช่น โทรศัพท์ ไฟฟ้า เป็นต้น 4. พื้นที่การเกษตรและการปศุสัตว์จะได้รับความเสียหาย เช่น พืชผล ไร่นา ที่กาลังผลิดอก ออกผลบนพื้นที่ต่า อาจถูกน้าท่วมตายได้ สัตว์พาหนะ สัตว์เลี้ยง ตลอดจนผลผลิตที่เก็บ กักตุน หรือมีไว้เพื่อทาพันธุ์จะได้รับความเสียหาย ความเสียหายทางอ้อม จะส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจโดยทั่วไป เกิดโรคระบาด สุขภาพจิตเสื่อม และสูญเสียความปลอดภัย เป็นต้น ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 36. 4) วิธีปฏิบัติในการป้องกันตนเองจากอุทกภัย 1. การวางแผนการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ ควรกาหนดผังเมืองเพื่อรองรับการ เจริญเติบโตของตัวเมือง ไม่ให้กีดขวางทางไหลของน้า กาหนดการใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่น้า ท่วมให้เป็นพื้นที่ราบลุ่มรับน้า เพื่อเป็นการหน่วงหรือชะลอการเกิดน้าท่วม 2. ไม่บุกรุกทาลายป่าไม้ และไม่ปลูกพืชไร่บนพื้นที่ภูเขาสูงชัน เพราะจะขาดพื้นที่ดูดซับ และชะลอการไหลของน้า ทาให้น้าไหลลงสู่แม่น้า ลาห้วยได้อย่างรวดเร็ว 3. การเคลื่อนย้ายวัสดุจากที่ที่จะได้รับความเสียหายอันเนื่องมาจากน้าท่วมให้ไปอยู่ในที่ ปลอดภัยหรือที่สูง ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 37. 4. การนาถุงทรายมาทาเขื่อน เพื่อป้องกันน้าท่วม 5. การพยากรณ์และการเตือนภัยน้าท่วมให้ประชาชนรับทราบล่วงหน้า เพื่อเตรียมป้องกัน 6. การสร้างเขื่อน ฝาย ทานบ และถนน เพื่อเป็นการกักเก็บน้าหรือเป็นการกั้นทางเดินของ น้า เป็นต้น ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 38. แผ่นดินถล่ม (Landslides) คือ การเคลื่อนที่ของแผ่นดิน และกระบวนการซึ่ง เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของดินหรือหิน ตามบริเวณพื้นที่ลาดชันที่เป็นภูเขาหรือเนินเขา ถัดไปกลับหน้าหลัก แผ่นดินถล่ม
  • 39. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม 1.1 ปัจจัยจากธรรมชาติ มีดังนี้ 1. การเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินบริเวณลาดเขาที่มีความชันเกิด การเคลื่อนที่ลงมาตามแรงดึงดูดของโลก 2. การเกิดฝนตกหนัก ฝนที่ตกหนักต่อเนื่องกันหลายๆวัน น้าฝนจะซึมไปสะสมอยู่ในเนื้อ ดิน เมื่อดินไม่สามารถอุ้มน้าไว้ได้จะลื่นไถลลงตามความลาดชันและมักมีต้นไม้และเศษหิน ขนาดต่างๆ เลื่อนไหลตามไปด้วย ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 40. 1.2 ปัจจัยจากมนุษย์ ถัดไปกลับหน้าหลัก 1. การขุดดินบริเวณไหล่เขา ลาดเขาหรือเชิงเขา เพื่อทาการเกษตร การทาถนน การขยายที่ ราบในการพัฒนาที่ดิน เป็นต้น 2. การดูดทรายจากแม่น้า หรือบนแผ่นดิน 3. การขุดดินลึกๆ ในการก่อสร้างห้องใต้ดินของอาคาร 4. การบดอัดดินเพื่อการก่อสร้างทาให้เกิดการเคลื่อนของดินในบริเวณใกล้เคียง 5. การสูบน้าใต้ดิน น้าบาดาลที่มากเกินไป 6. การทาลายป่าเพื่อทาไร่ ทาสวน เป็นต้น
  • 41. 2. สถานการณ์การเกิดแผ่นดินถล่ม การเกิดแผ่นดินถล่มในต่างประเทศและในประเทศไทยมีลักษณะคล้ายกัน คือ มัก เกิดในพื้นที่ภูเขาที่มีความลาดชัน มีการปรับพื้นที่ป่าตั้งเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม สร้าง บ้านพักอาศัย สร้างรีสอร์ตบริการนักท่องเที่ยว และเมื่อมีฝนตกชุกต่อเนื่องยาวนานมากกว่า 24 ชั่วโมง มักจะเกิดแผ่นดินถล่มเอาดินโคลน เศษหิน ซากไม้ลงมาพร้อมกับสายน้า สร้าง ความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สินทุกครั้ง และการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวนี้มักเกิดถี่ขึ้น และรุนแรงมากขึ้นทุกๆครั้งด้วย ทาให้บ้านเรือนเสียหายอย่างมาก ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 42. เป็นภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายุลมแรง สามารถแบ่งลักษณะของวาตภัยได้ตามความเร็ว ลม สถานที่ที่เกิด เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง พายุดีเปรชัน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น เป็นต้น ทาให้ เกิดความเสียหายให้แก่ชีวิตของมนุษย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ วาตภัย ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 43. 1.1)พายุหมุนเขตร้อน เป็นพายุหมุนที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อน ได้แก่ พายุ ดีเปรชัน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกต่างกันไปตามแหล่งกาเนิด เช่น พายุที่เกิดในอ่าว เบงกอลและมหาสมุทรอินเดียเรียกว่า “ไซโคลน” (Cyclone) พายุที่เกิด ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และทางด้านตะวันตกของ เม็กซิโกเรียกว่า “เฮอลิแคน” (Hurricane) พายุที่เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือทางด้าน ฝั่งตะวันตกมหาสมุทรแปซิฟิกไต้ และทะเลจีนไต้ เรียกว่า “ไต้ฝุ่น” (Typhoon) พายุที่เกิด แถบทวีปออสเตรเลีย เรียกว่า “วิลลี-วิลลี” (willy-willy) หรือเรียกชื่อตามบริเวณที่เกิด 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดวาตภัย ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 44. 1.2) ลมงวง หรือพายุทอร์นาโด เป็นพายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการหมุนเวียนของ ลมภายใต้เมฆก่อตัวในแนวดิ่งหรือเมฆพายุฝนฟ้าคะนอน (เมฆคิวมูโลนิมบัส)ที่มีฐานเมฆต่า กระแสลมวนที่มีความเร็วลมสูงนี้จะทาให้กระแสอากาศเป็นลมพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้า หรือย้อยลง มาจากฐานเมฆดูคล้ายกับงวงหรือปล่องยื่นลงมา ถ้าถึงพื้นดินก็จะทาความเสียหายแก่ บ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งปลูกสร้างได้ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 45. 1.3)พายุฤดูร้อน เป็นพายุที่เกิดในฤดูร้อน ในประเทศไทยส่วนมากเกิดระหว่างเดือนมีนาคม ถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดบ่อยครั้งในภาคเหนือและภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือส่วนกลางและภาคตะวันออก การเกิดน้อยครั้งกว่า สาหรับภาคใต้ก็ สามารถเกิดได้แต่ไม่บ่อยนัก โดยพายุฤดูร้อนจะเกิดในช่วงที่มีลักษณะอากาศร้อนอบอ้าว ติดต่อกันหลายวันแล้วมีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัดมาประ ทะกัน ทาให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกได้โดยจะทาความเสียหาย ในบริเวณกว้างนักประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 46. 3) ผลกระทบที่เกิดจากวาตภัย บนบก ต้นไม้ถอนรากถอนโคนต้นไม้ทับบ้านเรือนพัง ผู้คนได้รับบาดเจ็บจนอาจถึง เสียชีวิต เรือกสวนไร่นาเสียหายหนักมาก บ้านเรียนที่ไม่แข็งแรงไม่สามารถต้านทานความ รุนแรงของลมได้พังระเนระนาดหลังคาที่ทาด้วยสังกะสีจะถูกพัดเปิดกระเบื้องหลังคาปลิว ว่อน เป็นอันตรายต่อผู้คนที่อยู่ในที่โล่งแจ้ง เสาไฟฟ้า เสาไฟล่มสายไฟขาด ไฟฟ้า ลัดวงจร เกิดไฟไหม้ผู้คนสูญเสียจากไฟฟ้าดูดได้ ผู้คนที่พักอยู่ริมทะเลจะถูกคลื่นซัดท่วม บ้านเรือนและกวาดลงทะเล ผู้คนอาจจมน้าทะเลตายได้ ฝนตกหนักมากทั้งวันทั้งคืน เกิด อุทกภัยตามมา น้าป่าจากภูเขาไหลหลากลงมาอย่างรุนแรง ท่วมบ้านเรือน ถนน และไร่สวน นา เส้นทางคมนาคม ทางรถไฟ สะพาน และถูกตัดขาด ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 47. ในทะเล มีลมพัดแรง คลื่นใหญ่ เรือขนาดใหญ่อาจพัดพาไปเกยฝั่งหรือชน หินโสโครกทา ให้จมได้ เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝั่ง หลีกเลี่ยงการเดินเรือเข้าใกล้ศูนย์กลางพายุมีคลื่น ใหญ่ซัดฝั่งทาให้ระดับน้าสูงท่วมอาคารบ้านเรือนบริเวณทะเล พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง และอาจกวาดสิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรงลงทะเลได้ เรือประมงบริเวณชายฝั่งจะถูกทาลาย ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 48. 4) การระวังภัยจากวาตภัย 1. ติดตามข่าวสาร การพยากรณ์ อากาศผ่านทางวิทยุโทรทัศน์ อย่าง สม่าเสมอ 2. ตรวจสอบบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย ว่ามั่ง คงแข็งแรง ปลอดภัยจากลมแรงหรือไม่ สิ่งของที่อาจจะหล่นลงมาแตกหักได้ง่าย ให้ จัดวางในที่ปลอดภัยหรือผูกมัดให้แน่นหนา ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 49. 3. ตรวจสอบต้นไม้ กิ่งไม้ บริเวณ ใกล้เคียงอาคารบ้านเรือนหากจะเป็น อันตรายเมื่อเกิดพายุให้ตัดเสีย 4. เมื่อเกิดลมพายุ ไม่ควรออกไปในที่โล่ง แจ้งเพราะอาจเกิดอันตรายได้ ควรอยู่ในที่ มั่นคงแข็งแรง ปิดประตูหน้าต่างให้เรียบร้อย อย่าเปิดเมื่อพายุพัดผ่าน ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 50. ไฟป่า(Wild Fire) คือ ไฟที่เกิดขึ้นแล้วลุกลามไปได้โดยปราศจากการควบคุมไฟ ป่าอาจเกิดขึ้นจากสาเหตุธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์แล้วส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและการดารงชีวิตของมนุษย์ ไฟป่าที่เกิดขึ้นบริเวณภูขาจะมีความรุนแรงและขยาย พื้นที่ได้เร็วกว่าพื้นราบ ไฟป่า ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 51. 1) ปัจจัยที่ทาให้เกิดไฟป่ า 1 ฟ้าผ่า เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิดไฟป่าในเขตอบอุ่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา และ ประเทศแคนาดา (ภาพที่ 1.7) พบว่ากว่าครึ่งหนึ่งของไฟป่าที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากฟ้าผ่า| 2 กิ่งไม้เสียดสีกัน อาจเกิดขึ้นได้ในพื้นที่ป่าที่มีไม้ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและมีสภาพอากาศแห้ง จัด เช่น ในป่าไผ่หรือป่าสน เป็นต้น เกิดจากธรรมชาติ ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 52. 2. สาเหตุจากมนุษย์ 2.1 เก็บหาของป่า เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดไฟป่ามากที่สุด การเก็บหาของป่าส่วนใหญ่ได้แก่ ไข่ มดแดง เห็ด ใบตองตึง ไม้ไผ่ น้าผึ้ง ผักหวาน และไม้ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่เพื่อให้พื้นป่าโล่ง เดินสะดวก หรือให้แสงสว่างในระหว่างการเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืน หรือจุดเพื่อ กระตุ้นการงอกของเห็ด หรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึง หรือจุดเพื่อไล่ ตัวมดแดงออกจากรัง รมควันไล่ผึ้ง หรือไล่แมลงต่างๆ ในขณะที่อยู่ในป่า ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 53. 2.2 เผาไร่ เป็นสาเหตุที่สาคัญรองลงมา การเผาไร่ก็เพื่อกาจัดวัชพืชหรือเศษซากพืชที่เหลืออยู่ ภายหลังการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้เพื่อเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในรอบต่อไป ทั้งนี้โดยปราศจากการทา แนวกันไฟและปราศจากการควบคุม ไฟจึงลามเข้าป่าที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง 2.3 แกล้งจุด ในกรณีที่ประชาชนในพื้นที่มีปัญหาความขัดแย้งกับหน่วยงานของรัฐในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเรื่องที่ทากินหรือถูกจับกุมจากการกระทาผิดในเรื่องป่าไม้ ก็มักจะ หาทางแก้แค้นเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาป่า ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 54. การระวังภัยจากไฟป่ า 1. งดเว้นการจุดไฟป่าโดยเด็ดขาด 2. หากมีความจาเป็นต้องเผาในพื้นที่เกษตรกรรมใกล้พื้นที่ป่า ควรทาแนวกันไฟ และ ควบคุมการเผาอย่างใกล้ชิดมิให้ลุกลามออกไป 3. หากพบเห็นไฟไหม้ป่า โปรดแจ้งหน่วยงานควบคุมไฟป่าในพื้นที่ หรือ โทรสาย ด่วน ๑๓๖๒ ได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 55. พายุหิมะ พายุหิมะเป็นพายุที่ทาให้เกิดหิมะจานวนมาก จนมองไม่เห็นทางข้างหน้า ผลที่เกิดขึ้น คือ ทาให้วิสัยทัศน์ในการมองเห็นแทบจะเหลือศูนย์หรือมองไม่เห็นเลย กองหิมะที่สูงใหญ่และ ลึก พร้อมกับอากาศที่หนาวสั่น จะสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและขัดขวางต่อการ คมนาคมขนส่ง รวมทั้งการติดต่อสื่อสารด้านโทรคมนาคม ถัดไปกลับหน้าหลัก
  • 56. การเตรียมการ - เก็บตุนอาหารที่ให้พลังงานสูง เช่น ผลไม้อบแห้ง ของหวาน และอาหารที่ไม่เน่าเสียง่าย ต้องเป็นอาหารที่พร้อมรับประทานทันที เช่น อาหารกระป๋ อง เป็นต้น - เตรียมเชื้อเพลิงสาหรับการก่อไฟ เช่น ถ่านไม้ ไม้แห้ง โดยต้องเก็บไว้ในที่หยิบได้ง่าย - อุปกรณ์จุดไฟ เช่น ไม้ขีดไฟ ไฟแช็ค โดยต้องเก็บไว้ในที่หยิบได้ง่าย - ควรมีเตาถ่านสาหรับผิงไฟ ไม่ควรจุดไฟไว้บนพื้น หรือจุดเตาถ่านในสถานที่อับ หรือใน อากาศที่ไม่ถ่ายเท - ควรมีอุปกรณ์ดับเพลิง และมีการตรวจสภาพอยู่สม่าเสมอเพื่อสามารถใช้งานได้ ตลอดเวลา ถัดไปกลับหน้าหลัก