SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบงานที่ 11 เรื่อง กาหนดและลาดับขั้นตอนการปฏิบัติ

      ให้นักเรียนเรียงลาดับขั้นตอนการทางาน จากกิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้
(สามารถสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ได้)

  1. การสารวจสภาพน้าที่คูเมือง
       ขั้นที่ 1 เตรียมเครื่องมือที่ใช้ในสารวจ ได้แก่ พารามิเตอร์ , TDS Meter
       ขั้นที่ 2 เดินทางไปที่คูเมือง ตาแหน่งที่ 1 ด้านทิศเหนือด้วยรถจักรยานยนต์พร้อมเครื่องมือสารวจ
                  ตัวชี้วัด                                   วิธีการตรวจวัดที่แนะนา
   ลักษณะทางกายภาพ เช่น สี กลิ่น         สังเกต

   แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม          ชุดทดสอบ ว.111 ของกรมอนามัย

   ความขุ่น/ความโปร่งแสง                 Secchi Disc


   อุณหภูมิ                              เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะ

   ความเป็นกรด-ด่าง                      กระดาษลิตมัส (วิธีเปรียบเทียบสี)

   ความนาไฟฟ้า/สารที่ละลายได้ทั้งหมด     Electrical Conductivity


   ความเค็ม                              Hydrometer


   ออกซิเจนละลาย                         ชุดทดสอบออกซิเจนละลาย (ว.312)ของกรมอนามัย

   ฟอสฟอรัส                              ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี)

   ไนเตรท                                ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี)

   โลหะหนัก                              ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี)
ขั้นที่ 3
          การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าโดยการสังเกตสีของน้า

             สีของน้าจะบ่งชี้ถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดสี หรือบอกถึงสิ่งที่ละลายอยู่ในน้าได้ การประเมินสีอาจทาได้
โดยการเปรียบเทียบสีกับสีมาตรฐาน หรือการใช้ความรู้สึกของผู้สารวจแต่ควรเป็นความเห็นที่มาจากหลายๆ คน

การตรวจวัดและการแปรผล

              สังเกตสีของน้าจากแหล่งน้าโดยตรง หรือตักน้าขึ้นมาอย่างน้อย 2 ลิตร โดยตักลึกลงไปประมาณ
ครึ่งหนึ่งของความลึก นาขึ้นมาใส่ขวดแก้วใสแล้วจึงสังเกตสี โดยสีที่เกิดขึ้นของน้าเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงสาเหตุที่ทาให้
เกิดสีได้อย่างคร่าวๆ ดังแสดงในตารางด้านล่าง อย่างไรก็ตามถึง แม้ว่าน้าจะใสไม่มี สี ก็ไม่อาจรับรองได้ว่าแหล่ง
น้านั้นมีคุณภาพดีไม่มีการปนเปื้อนเลย ควรจะมีการติดตามตรวจสอบต่อไป

                        สีปรากฏ                                       สาเหตุที่ทาให้เกิดสี

      ไม่มีสี                                       ยังไม่ควรสรุปว่าน้าสะอาดเพราะอาจมีสิ่งเจือปนอยู่

      สีเขียว                                       แพลงค์ตอนพืช

      สีเหลืองหรือสีน้าตาลหรือสีชาใส                มีซากพืชย่อยสลาย

      สีแดงหรือสีเหลืองหรือ สีมะฮอกกานี             เป็นสีของสาหร่ายอีกจาพวกหนึ่ง (dinoflagellates)

      สีน้าตาลขุ่นหรือสีแดง                         มีตะกอนดินเจือปน อาจเกิดจากการกัดเซาะหน้าดิน
                                                    หรือชายฝั่ง

      สีรุ้ง                                        มีคราบน้ามันที่ผิวหน้า

      สีเทาหรือสีดา                                 น้าเน่าจากสิ่งปฏิกูล หรืออาจมีแร่ธาตุจากธรรมชาติเจือ
                                                    ปน
การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้า โดยการสังเกตกลิ่นของน้า

              กลิ่นของน้าจะบ่งบอกถึงสาเหตุมลพิษของลาน้านั้นได้เช่นน้าที่ได้รับการปนเปื้อนจากน้าเสียชุมชนก็
จะมีกลิ่นเหม็นก๊าซไข่เน่า เป็นต้น รวมทั้งระดับที่ได้กลิ่นก็บอกได้ว่า คุณภาพน้ามีการปนเปื้อนของมลพิษมาก
หรือน้อยอย่างคร่าวๆ ได้
การตรวจวัดและการแปรผล

               สังเกตกลิ่นของน้าจากแหล่งน้าโดยตรง โดยไปยืนริมน้าแล้วสูดหายใจดมกลิ่น หรือตักน้าขึ้นมา
อย่างน้อย 2 ลิตร ควรตักลงไปลึกประมาณครึ่งหนึ่งของความลึกใส่ขวดแก้วใสแล้วจึงดมกลิ่นโดยใช้มือโบกกลิ่น
ให้โชยเข้าจมูก กลิ่นของน้าจะบ่งบอกถึงสาเหตุมลพิษของลาน้านั้นได้อย่ างคร่าวๆ ดังแสดงในตารางด้านล่าง
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ไม่ได้กลิ่น
ก็ไม่อาจสรุปได้ว่าแหล่งน้านั้นมีคุณภาพดี ไม่มีการปนเปื้อนเสียทีเดียวเลย และควรจะมีการติดตามตรวจสอบ
ต่อไป

      ประเภทของกลิ่น                                       ที่มาของกลิ่น

   1. กลิ่นหอม             กลิ่นผลไม้ กลิ่นกระเทียม กลิ่นแตงกวา กลิ่นน้าหอม กลิ่นยาต่างๆ

   2. กลิ่นต้นไม้          กลิ่นสาหร่าย กลิ่นหญ้า กลิ่นต้นไม้ กลิ่นแพลงค์ตอนต่างๆ

   3. กลิ่นดินและเชื้อรา กลิ่นดิน กลิ่นโคลน กลิ่นเชื้อราต่างๆ

   4. กลิ่นคาว             กลิ่นคาวปลา กลิ่นน้ามันตับปลา กลิ่นหอยต่างๆ (dinoflagellates)

   5. กลิ่นยา              กลิ่นฟีนอล กลิ่นน้ามันทาร์ กลิ่นน้ามัน กลิ่นไขมัน กลิ่นพาราฟิน
                           กลิ่นคลอรีน กลิ่นไฮโดรเจนซัลไซด์กลิ่นคลอโรฟีนอลหรือกลิ่นผลิตภัณฑ์ยา
                           ต่างๆ
                           ดิน หรือชายฝั่ง

   6. กลิ่นเน่า            กลิ่นของสดเน่า กลิ่นขยะ กลิ่นน้าทิ้ง กลิ่นคอกหมู กลิ่นมูลสัตว์ต่างๆ
การตรวจวัดคุณภาพน้าทางชีวภาพ

                  การตรวจวัดคุณภาพน้านอกจากจะใช้ตัวชี้วัดทางกายภาพ เคมี และแบคทีเรียในการวิเคราะห์
คุณภาพน้าแล้ว ยังสามารถใช้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้านั้น เช่น แพลงค์ตอนพืช แพลงค์ตอนสัตว์
สาหร่ายขนาดใหญ่ สัตว์หน้าดิน พืชน้า
และปลา เป็นต้น เป็นตัวชี้วัดคุ ณภาพน้าร่วมได้อีกทางหนึ่ง
สัตว์หน้าดิน
                  เนื่องจากสัตว์หน้าดินมีความหลากหลายและแพร่กระจายในบริเวณกว้าง สามารถเคลื่อนที่ได้
น้อย และไวต่อการถูกรบกวน ดังนั้นจึงได้รับผลกระทบโดยตรงจากมลพิษ และแม้เวลาผ่านไปก็ยังตรวจสอบ
ผลกระทบที่มีต่อแหล่งน้าบริเวณนั้นๆ ได้ เนื่องจากสัตว์หน้าดินสามารถฟื้นตัวได้ช้า นอกจากนี้แล้วยังมี
ความสาคัญในห่วงโซ่อาหาร เนื่องจากเป็นผู้ผลิตหรือผู้บริโภคในระดับต้นๆ จึงมีผลต่อความชุกชุมของผู้บริโภค
ในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้นชนิดและจานวนของสัตว์หน้าดิน จึงสามารถนามาใช้เป็นดัชนีชี้วัดคุ ณภาพแหล่งน้าได้
สามารถแบ่งชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบกับคุณภาพน้าได้ 4 ระดับ คือ
คุณภาพน้าดีมาก สัตว์ที่พบมากสุดได้แก่ตัวอ่อนแมลงชีปะขาวและตัวอ่อนแมลงเกาะหิน



                                       แมลงชีปะขาว         แมลงเกาะหิน
คุณภาพน้าดี สัตว์ที่พบมากสุด ได้แก่ ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้า



                                              แมลงหนอนปลอกน้า
คุณภาพน้าปานกลาง สัตว์ที่พบมากสุด ได้แก่ ตัวอ่อนแมลงปอ กุ้งและปูน้าจืด




                                         แมลงปอ                     ปู
คุณภาพน้าไม่ดี สัตว์ที่พบมากสุด ได้แก่ หนอนแดง ไส้เดือนน้าจืด



                                         หนอนแดง                ไส้เดือนน้าจืด
2. การทาร่มกระดาษสาที่บ่อสร้าง
       ขั้นที่ 1 การทาหัวร่มและตุ้มร่ม ตัดไม้เนื้ออ่อนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 2-2.5 นิ้วออกเป็น
   ท่อน ๆ ให้ได้ความยาวพอประมาณ จากนั้นก็เจาะรูตรงกลางสาหรับใส่คันร่มได้พอดี นาท่อนไม้เนื้ออ่อนที่
   เจาะรูแล้วนี้ไปกลึงตามแบบที่กาหนด ซึ่งอาจจะเป็นแบบยอดแหลม ยอดป้าน มีชั้นหลายชั้น หรืออื่น ๆ
   เสร้จแล้วจึงผ่าร่องตามจานวนซี่ร่มที่ต้องการ

         ขั้นที่ 2 การทาซี่ร่ม นาไม้ไผ่ที่เตรียมไว้มาตัดออกเป็นท่อนหรือปล้อง จากนั้นจึงค่อยตัดตามความยาว
ของซี่ร่มที่ต้องการ กล่าวคือ ถ้าเป็นซี่ร่มยาวก็ต้องตัดให้ได้ความยามเท่าร่มที่จะทา จากนั้นใช้มีดขูดผิวไม้ไผ่ออกให้
หมดทาเครื่องหมายสาหรับเจาะรู โดยใช้มีดปาดบนลาไผ่ด้านบนให้เป็ นแนวเดียวกันโดยตลอด

         เมื่อทาเครื่องหมายแล้วจึงผ่ากระบอกไม้ไผ่ออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน จากนั้นก็ปาดเนื้อไม้ออกโดย
ปาดให้ทางปลายซี่มีลักษณะเรียวกว่าด้านบน แล้วเหลาเนื้อไม้ให้เรียบเท่ากันและจักหัวไม้ให้เป็นซี่ ๆ โดยใช้มีด
ให้ความหนาของแต่ละซีกราว 0.2 เซนติเมตร ฉีกไม้ออกเป็นซี่ จะได้ซี่ร่มยาว ควรเหลาให้เรียบเสมอกันทุกชิ้น

              เมื่อได้ซี่ร่มสั้นใช้วิธีเดียวกับการทาซี่ร่มยาม แต่ใช้ไม้ไผ่ที่ยามครึ่งหนึ่งของซี่ร่มยาว และไม่ต้องปาด
เนื้อไม้ออกเพียงเหลาให้เรียวบางพอที่จะสอดเข้าร่องตุ้มร่มและรูตรงซี่ร่มยาวได้

          ในการเจาะรูที่ซี่ร่มสั้นและซี่ร่มยาวนั้นใช้สว่านเจาะ ควรระวังให้แนวรูที่เจาะเสมอกันทุกซี่
ไม้          การประกอบส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เริ่มต้นด้วยการร้อยมัดซี่ร่มเข้ากับหัวร่มและตุ้มร่ม โดยซี่ร่ม
ยาวใช้ร้อยประกอบหัวร่ม ซี่ร่มสั้นใช้ร้อยประกอบตุ้มร่ม

            วิธีการร้อยก็ทาเหมือน ๆ กัน คือ ร้อยซี่ร่มด้วยด้ายดิบให้มีลักษณะเรียงกันเป็นตับ จากนั้นจึงนาหัว
ร่มหรือต้มร่มที่ผ่าร่องเตรียมไว้แล้วมาหักออก 1 ช่องสาหรับผูกปมเชือก ใส่ซี่ร่มลงไปในหัวร่มและตุ้มร่มช่องละ
1 ซี่ มัดด้ายดิบที่ร้อยให้แน่น แล้วใส่ต่อจนครบทุ กช่อง เสร็จแล้วดึงปลายด้ายให้ตึงทั้งสองข้าง มัดให้แน่น และ
ตัดเชือกให้เหลือปลายข้างละ 1.5 เซนติเมตร

         ขั้นที่ 3 การร้อยดือ ที่ใช้สาหรับร้อยประกอบซี่ร่มยาวที่มัดกับหัวร่ม และซี่ร่มสั้นที่มัดกับตุ้มร่มเข้า
   ด้วยกัน โดยใช้เข็มยาวร้อยด้ายระหว่างปลายซี่ร่มสั้นเข้ากับตรงกลางของปลายซี่ร่มยาวที่เจาะรูเตรียมไว้จน
   ครบทุกซี่ ให้เหลือด้ายแต่ละข้าวยาวประมาณ 7 เซนติเมตร ไว้สาหรับผูกกับคันชั่วคราว การร้อยดือนี้ถือ
   เป็นกลไกสาคัญในการทาให้ร่มกางออกและหุบเข้าได้
         ขั้นที่ 4 การผ่านโค้งร่ม คือ ขั้นตอนการพันเชือกบริเวณปลายซี่ร่มยาม โดยนาโครงร่มที่ผ่านการร้อย
   ดือมาใส่คันร่มชั่วคราว จากนั้นจึงใสสลักไม้ตรงหัวร่มให้แน่น กางโครงร่มออกให้ซี่ร่มโค้งลงพอดี ผูป ลายด้าย
ที่เหลือจากการร้อยซี่ร่มให้แน่น พยายามจัดช่องว่างระหว่างซี่ร่มให้เท่ากัน ใช้ด้ายพันที่ปลายซี่ยาม พันวนจน
ครบทุกซี่และพันขึ้นรอบใหม่จนครบ 3 รอบ
        ขั้นที่ 5 การทากระดาษปิดโครงร่ม นาโครงร่มที่ผ่านขั้นตอนการผ่านโค้งร่มแล้วปักลงบนหลักไม้ไผ่
เพื่อที่จะหมุนติดกระดาษได้ง่าย จากนั้นทาน้ามันตะโกหรือน้ายามมะค่าลงตรงหลังซี่ร่มยาวให้ทั่ว ติดกระดาษ
สาที่ตัดเป็นรูปวงกลมทาบลงไปบนโครง แล้วทาน้ามันตะโกหรือน้ายางมค่าให้ชุ่ม ระวังอย่าให้เปียกแฉะ
จนเกินไป วางกระดาษสา (หรืออาจจะเป็นกระดาษชนิดอื่นที่เป็นกระดาษอ่อน ซี่งที่บ่อสร้ างกาลังนิยมใช้
กระดาษจีนกัน) อีกแผ่นหนึ่งที่ตัดเป็นรูปวงกลมเตรียมไว้แล้วติดทับลงไปอีกชั้นหนึ่ง กระดาษจะติดเป็นเนื้อ
เดียวกัน หากกระดาษสา 2 แผ่นยังหนาไม่พอก็ติดทับลงไปอีกแผ่นก็ได้โดยใช้วิธีเ ดียวกัน เมื่อติดกระดาษสา
ทับกันจนได้ความหนาตามต้องการแล้ว ก็นากระดาษสามาปิดทับเส้นด้ายที่พันรอบซี่ร่มยาวให้เรียบร้อยโดย
ทาน้ายางลงไปด้วย จากนั้นจึงค่อยนาไปผึ่งแดดตากลมจนแห้งสนิท
        ขั้นที่ 6 การหุบร่ม โดยดึงสลักไม้ที่สอดไว้ตรงหัวร่มออกแล้วค่อย ๆ ลดร่มลงทีละน้อย ใช้มือรีดตรง
หลังซี่ร่มทุกซี่และจัดกลีบร่มให้พับไปในทางเดียวกัน แล้วใช้ห่วงรัดร่มรัดไว้ให้แน่น ทิ้งไว้สักพักก็กางร่มออก
เพื่อทาน้ามันตะโกอีกชั้นหนึ่ง แล้วผึ่งแดดให้แห้งและหุดเก็บไว้อีกครั้ง
        ขั้นที่ 7 การทาน้ามันยางหรือที่ในปัจจุบันใช้น้ามันบะหมื้อโดยกางร่มออกอีกครั้งแล้วใช้ผ้าชุบน้ามันทา
จนทั่วกระดาษปิดร่มทั้งด้านในและด้านนอก ควรระวังไม่ให้น้ามันที่ทานั้นชุ่มโชกจนเกินไป เพราะจะทาให้พื้น
ร่มไม่สวย เพียงทาให้ซืมทั่วกระดาษก็พอ เสร็จแล้วนาไปตากแดดทิ้งไว้อีก 3 ชั่วโมง เมื่อตากจนแห้งแล้วก็หุบ
ร่มเพื่อเตรียมใส่คันร่มต่อไป การทาน้ามันนี้ก็เพื่อให้ร่มสามารถกันน้าได้นั่นเอง
        ขั้นที่ 8 การทาคันร่ม คันร่มจะมีขนาดยาวกว่าซี่ร่มยาวเล็กน้อย กล่าวคือเว้นให้ยาวกว่าซี่ร่มยาวให้มือ
สามารถจับถือได้พอดี หรืออาจยาวกว่านั้นอีกสักเล็กน้อยก็ได้ คันร่มส่วนใหญ่ใช้ไม้ไผ่ที่มีลาต้นขนาดเล็ก หรือ
อาจใช้ไม้เนื้ออ่อนก็ได้ โดยที่คันร่มนี้จะต้องเจาะรูสาหรับใส่ลวดสลัก เพื่อใช้ยึดซี่ร่มไว้ด้วย ซึ่งลวดสลักนี้จะต้อง
อยู่ในตาแหน่งระยะที่ตรงกับตุ้มร่มเมื่อกางร่ม
           การประกอบร่มที่ปิดกระดาษทับโครงเรียบร้อยแล้ว เริ่มต้นโดยถอดคับร่มชั่วคราวออกแล้วใส่คันร่ม
จริงลงไปในตาแหน่งเดิม ให้ลวดสลักอยู่ระยะตรงกับตุ้มร่มดังกล่าวไว้แล้ว ให้ตุ้มร่มอยู่บนสลักคันร่ม ลวด
สลักอยู่ในระยะที่ตรงกับตุ้มร่มให้กางอยู่โดยไม่เลื่อนหุบลง เมื่อใส่คันร่มแล้วต้องใช้ตะปูตอบที่หัวร่มจนทะลุถึง
คันร่มเพื่อกันไม่ให้คันร่มเคลื่อนที่ จากนั้นก็ตัดปลายคันร่มที่โผล่ออกมาทางหัวร่มให้เรียบร้อย อาจกลึงเพื่อ
เพิ่มความสวยงามก็ได้
        ขั้นที่ 9 การปิดหัวร่ม วัสดุที่นามาปิดหัวร่มอาจใช้ใบลาน ใบตาล หรือกระดาษที่หนาสักหน่อย โดย
นามาตัดให้มีลักษณะเป็นปลอกไว้ที่หัวร่ม ตัดกระดาษสาเป็นริ้วยาวพันรอบหัวร่ม 3-4 รอบ ทาน้ามัน
ตะโกทับแล้วพันกระดาษสาทับอีกครั้ง แล้วนาไปตากแดดให้แห้ง เสร็จแล้วทาน้ามันมะเดื่อตรงหัวร่มเพื่อให้
กระดาษสาที่หุ้มอยู่มีความหนาเหนียวทนทาน
        ขั้นที่ 10 การเขียนลาย ใช้พู่กันจุ่มลงไปในสีน้ามันแล้วนามาเขียนลวดลายต่าง ๆ ลงไป ซึ่งส่วนใหญ่
แล้วจะใช้ความสามารถเฉพาะตัวบวกกับความชานาญ เขียนลายกันสด ๆ ไมต้องร่างหรือดูแบบเลย ร่ม
กระดาษสาในสมัยก่อนนิยมทาสีแดงและสีดา ไม่มีการเขียนลายอย่างปัจจุบัน ที่มีทั้งลายดอกไม้ ทิวทัศน์ต่าง
ๆ สัตว์ต่าง ๆ อย่างนก มังกร ฯลฯ
      เมื่อสาเร็จทุกขั้นตอนดังที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ก็เป็นอันเสร็จวิธีการทาร่มกระดาษสาบ่อสร้างที่ดูไปดูมากี่ตลบ
ก็ยังคงมองเห็นความยากเย็นแสนเข็ญซ่อนอยู่ ได้เห็นขั้นตอนวิธีทาแล้วรู้สึกเห็นใจคนทาจริง ๆ ยังว่าการทาร่ม
กระดาษสาบ่อสร้างทุกวันนี้ไม่ได้เป็นการทางานเบ็ดเสร็จเหมือนแต่ก่อน กล่าวคือ ชาวบ้านบ่อสร้างมีหน้าที่
ประกอบแต่ละส่วนเข้าด้วยกันให้เป็นร่มเท่านั้น เพราะอุปกรณ์แทบทุกชิ้นสั่งทาสั้ งซื้อจากที่อื่น ดังได้ทราบกัน
ไปแล้วในตอนอื่น ๆ จนมีคนรุ่นเก่า ๆ ของบ่อสร้างปรารภว่า แต่ก่อนต้องทาเองหมดทุกอย่าง คนรุ่นใหม่
ๆ ทาโครงร่มกันแทบไม่เป็น คนดอยสะเก็ดก็จะทาเป็นแต่โครงร่มอย่างอื่นก็ทาไม่ได้เหมือนกัน
                                                                                            www.edutoday.in.th




3. การทาน้าแอปเปิลปั่น

     ขั้นที่ 1 นาแอปเปิ้ลมาปอกเปลือก เอาแกนกลางออก
     ขั้นที่ 2 นาไปใส่เครื่องปั่น ตามด้วยน้าสุก และน้าเชื่อม ปั่นให้เข้ากัน
     ขั้นที่ 3 เทใส่แก้ว พร้อมเสิร์ฟ
                                                                                        www.thaigoodview.com

More Related Content

What's hot (18)

9789740335719
97897403357199789740335719
9789740335719
 
Is
IsIs
Is
 
K10 (1)
K10 (1)K10 (1)
K10 (1)
 
ไอซ์4
ไอซ์4ไอซ์4
ไอซ์4
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
K10
K10K10
K10
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
K10
K10K10
K10
 
File
FileFile
File
 
ใบงานท 10
ใบงานท  10ใบงานท  10
ใบงานท 10
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
10737451 748431268585255 338303037_n
10737451 748431268585255 338303037_n10737451 748431268585255 338303037_n
10737451 748431268585255 338303037_n
 
At10
At10At10
At10
 

Similar to ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมjirapatte
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11melody_fai
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรminmint
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรminmint
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชvarut
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อนPostharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionjarunee4
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10Nontt' Panich
 

Similar to ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ (20)

11
1111
11
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
At10
At10At10
At10
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
 
งานคอมพ
งานคอมพ งานคอมพ
งานคอมพ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
 
K10 (1)
K10 (1)K10 (1)
K10 (1)
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลส้มเปลือกล่อน
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ใบงานท 10
ใบงานท   10ใบงานท   10
ใบงานท 10
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 

More from benzikq

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้benzikq
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานbenzikq
 
Onet thai 53
Onet thai 53Onet thai 53
Onet thai 53benzikq
 
Onet social 53
Onet social 53Onet social 53
Onet social 53benzikq
 
Onet science 53
Onet science 53Onet science 53
Onet science 53benzikq
 
Onet math 53
Onet math 53Onet math 53
Onet math 53benzikq
 
Onet health 53
Onet health 53Onet health 53
Onet health 53benzikq
 
Onet eng 53
Onet eng 53Onet eng 53
Onet eng 53benzikq
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานbenzikq
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานbenzikq
 

More from benzikq (12)

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
Onet thai 53
Onet thai 53Onet thai 53
Onet thai 53
 
Onet social 53
Onet social 53Onet social 53
Onet social 53
 
Onet science 53
Onet science 53Onet science 53
Onet science 53
 
Onet math 53
Onet math 53Onet math 53
Onet math 53
 
Onet health 53
Onet health 53Onet health 53
Onet health 53
 
Onet eng 53
Onet eng 53Onet eng 53
Onet eng 53
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ

  • 1. ใบงานที่ 11 เรื่อง กาหนดและลาดับขั้นตอนการปฏิบัติ ให้นักเรียนเรียงลาดับขั้นตอนการทางาน จากกิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (สามารถสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ได้) 1. การสารวจสภาพน้าที่คูเมือง ขั้นที่ 1 เตรียมเครื่องมือที่ใช้ในสารวจ ได้แก่ พารามิเตอร์ , TDS Meter ขั้นที่ 2 เดินทางไปที่คูเมือง ตาแหน่งที่ 1 ด้านทิศเหนือด้วยรถจักรยานยนต์พร้อมเครื่องมือสารวจ ตัวชี้วัด วิธีการตรวจวัดที่แนะนา ลักษณะทางกายภาพ เช่น สี กลิ่น สังเกต แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม ชุดทดสอบ ว.111 ของกรมอนามัย ความขุ่น/ความโปร่งแสง Secchi Disc อุณหภูมิ เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะ ความเป็นกรด-ด่าง กระดาษลิตมัส (วิธีเปรียบเทียบสี) ความนาไฟฟ้า/สารที่ละลายได้ทั้งหมด Electrical Conductivity ความเค็ม Hydrometer ออกซิเจนละลาย ชุดทดสอบออกซิเจนละลาย (ว.312)ของกรมอนามัย ฟอสฟอรัส ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี) ไนเตรท ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี) โลหะหนัก ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี)
  • 2. ขั้นที่ 3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าโดยการสังเกตสีของน้า สีของน้าจะบ่งชี้ถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดสี หรือบอกถึงสิ่งที่ละลายอยู่ในน้าได้ การประเมินสีอาจทาได้ โดยการเปรียบเทียบสีกับสีมาตรฐาน หรือการใช้ความรู้สึกของผู้สารวจแต่ควรเป็นความเห็นที่มาจากหลายๆ คน การตรวจวัดและการแปรผล สังเกตสีของน้าจากแหล่งน้าโดยตรง หรือตักน้าขึ้นมาอย่างน้อย 2 ลิตร โดยตักลึกลงไปประมาณ ครึ่งหนึ่งของความลึก นาขึ้นมาใส่ขวดแก้วใสแล้วจึงสังเกตสี โดยสีที่เกิดขึ้นของน้าเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงสาเหตุที่ทาให้ เกิดสีได้อย่างคร่าวๆ ดังแสดงในตารางด้านล่าง อย่างไรก็ตามถึง แม้ว่าน้าจะใสไม่มี สี ก็ไม่อาจรับรองได้ว่าแหล่ง น้านั้นมีคุณภาพดีไม่มีการปนเปื้อนเลย ควรจะมีการติดตามตรวจสอบต่อไป สีปรากฏ สาเหตุที่ทาให้เกิดสี ไม่มีสี ยังไม่ควรสรุปว่าน้าสะอาดเพราะอาจมีสิ่งเจือปนอยู่ สีเขียว แพลงค์ตอนพืช สีเหลืองหรือสีน้าตาลหรือสีชาใส มีซากพืชย่อยสลาย สีแดงหรือสีเหลืองหรือ สีมะฮอกกานี เป็นสีของสาหร่ายอีกจาพวกหนึ่ง (dinoflagellates) สีน้าตาลขุ่นหรือสีแดง มีตะกอนดินเจือปน อาจเกิดจากการกัดเซาะหน้าดิน หรือชายฝั่ง สีรุ้ง มีคราบน้ามันที่ผิวหน้า สีเทาหรือสีดา น้าเน่าจากสิ่งปฏิกูล หรืออาจมีแร่ธาตุจากธรรมชาติเจือ ปน
  • 3. การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้า โดยการสังเกตกลิ่นของน้า กลิ่นของน้าจะบ่งบอกถึงสาเหตุมลพิษของลาน้านั้นได้เช่นน้าที่ได้รับการปนเปื้อนจากน้าเสียชุมชนก็ จะมีกลิ่นเหม็นก๊าซไข่เน่า เป็นต้น รวมทั้งระดับที่ได้กลิ่นก็บอกได้ว่า คุณภาพน้ามีการปนเปื้อนของมลพิษมาก หรือน้อยอย่างคร่าวๆ ได้ การตรวจวัดและการแปรผล สังเกตกลิ่นของน้าจากแหล่งน้าโดยตรง โดยไปยืนริมน้าแล้วสูดหายใจดมกลิ่น หรือตักน้าขึ้นมา อย่างน้อย 2 ลิตร ควรตักลงไปลึกประมาณครึ่งหนึ่งของความลึกใส่ขวดแก้วใสแล้วจึงดมกลิ่นโดยใช้มือโบกกลิ่น ให้โชยเข้าจมูก กลิ่นของน้าจะบ่งบอกถึงสาเหตุมลพิษของลาน้านั้นได้อย่ างคร่าวๆ ดังแสดงในตารางด้านล่าง อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ไม่ได้กลิ่น ก็ไม่อาจสรุปได้ว่าแหล่งน้านั้นมีคุณภาพดี ไม่มีการปนเปื้อนเสียทีเดียวเลย และควรจะมีการติดตามตรวจสอบ ต่อไป ประเภทของกลิ่น ที่มาของกลิ่น 1. กลิ่นหอม กลิ่นผลไม้ กลิ่นกระเทียม กลิ่นแตงกวา กลิ่นน้าหอม กลิ่นยาต่างๆ 2. กลิ่นต้นไม้ กลิ่นสาหร่าย กลิ่นหญ้า กลิ่นต้นไม้ กลิ่นแพลงค์ตอนต่างๆ 3. กลิ่นดินและเชื้อรา กลิ่นดิน กลิ่นโคลน กลิ่นเชื้อราต่างๆ 4. กลิ่นคาว กลิ่นคาวปลา กลิ่นน้ามันตับปลา กลิ่นหอยต่างๆ (dinoflagellates) 5. กลิ่นยา กลิ่นฟีนอล กลิ่นน้ามันทาร์ กลิ่นน้ามัน กลิ่นไขมัน กลิ่นพาราฟิน กลิ่นคลอรีน กลิ่นไฮโดรเจนซัลไซด์กลิ่นคลอโรฟีนอลหรือกลิ่นผลิตภัณฑ์ยา ต่างๆ ดิน หรือชายฝั่ง 6. กลิ่นเน่า กลิ่นของสดเน่า กลิ่นขยะ กลิ่นน้าทิ้ง กลิ่นคอกหมู กลิ่นมูลสัตว์ต่างๆ
  • 4. การตรวจวัดคุณภาพน้าทางชีวภาพ การตรวจวัดคุณภาพน้านอกจากจะใช้ตัวชี้วัดทางกายภาพ เคมี และแบคทีเรียในการวิเคราะห์ คุณภาพน้าแล้ว ยังสามารถใช้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้านั้น เช่น แพลงค์ตอนพืช แพลงค์ตอนสัตว์ สาหร่ายขนาดใหญ่ สัตว์หน้าดิน พืชน้า และปลา เป็นต้น เป็นตัวชี้วัดคุ ณภาพน้าร่วมได้อีกทางหนึ่ง สัตว์หน้าดิน เนื่องจากสัตว์หน้าดินมีความหลากหลายและแพร่กระจายในบริเวณกว้าง สามารถเคลื่อนที่ได้ น้อย และไวต่อการถูกรบกวน ดังนั้นจึงได้รับผลกระทบโดยตรงจากมลพิษ และแม้เวลาผ่านไปก็ยังตรวจสอบ ผลกระทบที่มีต่อแหล่งน้าบริเวณนั้นๆ ได้ เนื่องจากสัตว์หน้าดินสามารถฟื้นตัวได้ช้า นอกจากนี้แล้วยังมี ความสาคัญในห่วงโซ่อาหาร เนื่องจากเป็นผู้ผลิตหรือผู้บริโภคในระดับต้นๆ จึงมีผลต่อความชุกชุมของผู้บริโภค ในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้นชนิดและจานวนของสัตว์หน้าดิน จึงสามารถนามาใช้เป็นดัชนีชี้วัดคุ ณภาพแหล่งน้าได้ สามารถแบ่งชนิดของสัตว์หน้าดินที่พบกับคุณภาพน้าได้ 4 ระดับ คือ คุณภาพน้าดีมาก สัตว์ที่พบมากสุดได้แก่ตัวอ่อนแมลงชีปะขาวและตัวอ่อนแมลงเกาะหิน แมลงชีปะขาว แมลงเกาะหิน คุณภาพน้าดี สัตว์ที่พบมากสุด ได้แก่ ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้า แมลงหนอนปลอกน้า คุณภาพน้าปานกลาง สัตว์ที่พบมากสุด ได้แก่ ตัวอ่อนแมลงปอ กุ้งและปูน้าจืด แมลงปอ ปู คุณภาพน้าไม่ดี สัตว์ที่พบมากสุด ได้แก่ หนอนแดง ไส้เดือนน้าจืด หนอนแดง ไส้เดือนน้าจืด
  • 5. 2. การทาร่มกระดาษสาที่บ่อสร้าง ขั้นที่ 1 การทาหัวร่มและตุ้มร่ม ตัดไม้เนื้ออ่อนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 2-2.5 นิ้วออกเป็น ท่อน ๆ ให้ได้ความยาวพอประมาณ จากนั้นก็เจาะรูตรงกลางสาหรับใส่คันร่มได้พอดี นาท่อนไม้เนื้ออ่อนที่ เจาะรูแล้วนี้ไปกลึงตามแบบที่กาหนด ซึ่งอาจจะเป็นแบบยอดแหลม ยอดป้าน มีชั้นหลายชั้น หรืออื่น ๆ เสร้จแล้วจึงผ่าร่องตามจานวนซี่ร่มที่ต้องการ ขั้นที่ 2 การทาซี่ร่ม นาไม้ไผ่ที่เตรียมไว้มาตัดออกเป็นท่อนหรือปล้อง จากนั้นจึงค่อยตัดตามความยาว ของซี่ร่มที่ต้องการ กล่าวคือ ถ้าเป็นซี่ร่มยาวก็ต้องตัดให้ได้ความยามเท่าร่มที่จะทา จากนั้นใช้มีดขูดผิวไม้ไผ่ออกให้ หมดทาเครื่องหมายสาหรับเจาะรู โดยใช้มีดปาดบนลาไผ่ด้านบนให้เป็ นแนวเดียวกันโดยตลอด เมื่อทาเครื่องหมายแล้วจึงผ่ากระบอกไม้ไผ่ออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน จากนั้นก็ปาดเนื้อไม้ออกโดย ปาดให้ทางปลายซี่มีลักษณะเรียวกว่าด้านบน แล้วเหลาเนื้อไม้ให้เรียบเท่ากันและจักหัวไม้ให้เป็นซี่ ๆ โดยใช้มีด ให้ความหนาของแต่ละซีกราว 0.2 เซนติเมตร ฉีกไม้ออกเป็นซี่ จะได้ซี่ร่มยาว ควรเหลาให้เรียบเสมอกันทุกชิ้น เมื่อได้ซี่ร่มสั้นใช้วิธีเดียวกับการทาซี่ร่มยาม แต่ใช้ไม้ไผ่ที่ยามครึ่งหนึ่งของซี่ร่มยาว และไม่ต้องปาด เนื้อไม้ออกเพียงเหลาให้เรียวบางพอที่จะสอดเข้าร่องตุ้มร่มและรูตรงซี่ร่มยาวได้ ในการเจาะรูที่ซี่ร่มสั้นและซี่ร่มยาวนั้นใช้สว่านเจาะ ควรระวังให้แนวรูที่เจาะเสมอกันทุกซี่ ไม้ การประกอบส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เริ่มต้นด้วยการร้อยมัดซี่ร่มเข้ากับหัวร่มและตุ้มร่ม โดยซี่ร่ม ยาวใช้ร้อยประกอบหัวร่ม ซี่ร่มสั้นใช้ร้อยประกอบตุ้มร่ม วิธีการร้อยก็ทาเหมือน ๆ กัน คือ ร้อยซี่ร่มด้วยด้ายดิบให้มีลักษณะเรียงกันเป็นตับ จากนั้นจึงนาหัว ร่มหรือต้มร่มที่ผ่าร่องเตรียมไว้แล้วมาหักออก 1 ช่องสาหรับผูกปมเชือก ใส่ซี่ร่มลงไปในหัวร่มและตุ้มร่มช่องละ 1 ซี่ มัดด้ายดิบที่ร้อยให้แน่น แล้วใส่ต่อจนครบทุ กช่อง เสร็จแล้วดึงปลายด้ายให้ตึงทั้งสองข้าง มัดให้แน่น และ ตัดเชือกให้เหลือปลายข้างละ 1.5 เซนติเมตร ขั้นที่ 3 การร้อยดือ ที่ใช้สาหรับร้อยประกอบซี่ร่มยาวที่มัดกับหัวร่ม และซี่ร่มสั้นที่มัดกับตุ้มร่มเข้า ด้วยกัน โดยใช้เข็มยาวร้อยด้ายระหว่างปลายซี่ร่มสั้นเข้ากับตรงกลางของปลายซี่ร่มยาวที่เจาะรูเตรียมไว้จน ครบทุกซี่ ให้เหลือด้ายแต่ละข้าวยาวประมาณ 7 เซนติเมตร ไว้สาหรับผูกกับคันชั่วคราว การร้อยดือนี้ถือ เป็นกลไกสาคัญในการทาให้ร่มกางออกและหุบเข้าได้ ขั้นที่ 4 การผ่านโค้งร่ม คือ ขั้นตอนการพันเชือกบริเวณปลายซี่ร่มยาม โดยนาโครงร่มที่ผ่านการร้อย ดือมาใส่คันร่มชั่วคราว จากนั้นจึงใสสลักไม้ตรงหัวร่มให้แน่น กางโครงร่มออกให้ซี่ร่มโค้งลงพอดี ผูป ลายด้าย
  • 6. ที่เหลือจากการร้อยซี่ร่มให้แน่น พยายามจัดช่องว่างระหว่างซี่ร่มให้เท่ากัน ใช้ด้ายพันที่ปลายซี่ยาม พันวนจน ครบทุกซี่และพันขึ้นรอบใหม่จนครบ 3 รอบ ขั้นที่ 5 การทากระดาษปิดโครงร่ม นาโครงร่มที่ผ่านขั้นตอนการผ่านโค้งร่มแล้วปักลงบนหลักไม้ไผ่ เพื่อที่จะหมุนติดกระดาษได้ง่าย จากนั้นทาน้ามันตะโกหรือน้ายามมะค่าลงตรงหลังซี่ร่มยาวให้ทั่ว ติดกระดาษ สาที่ตัดเป็นรูปวงกลมทาบลงไปบนโครง แล้วทาน้ามันตะโกหรือน้ายางมค่าให้ชุ่ม ระวังอย่าให้เปียกแฉะ จนเกินไป วางกระดาษสา (หรืออาจจะเป็นกระดาษชนิดอื่นที่เป็นกระดาษอ่อน ซี่งที่บ่อสร้ างกาลังนิยมใช้ กระดาษจีนกัน) อีกแผ่นหนึ่งที่ตัดเป็นรูปวงกลมเตรียมไว้แล้วติดทับลงไปอีกชั้นหนึ่ง กระดาษจะติดเป็นเนื้อ เดียวกัน หากกระดาษสา 2 แผ่นยังหนาไม่พอก็ติดทับลงไปอีกแผ่นก็ได้โดยใช้วิธีเ ดียวกัน เมื่อติดกระดาษสา ทับกันจนได้ความหนาตามต้องการแล้ว ก็นากระดาษสามาปิดทับเส้นด้ายที่พันรอบซี่ร่มยาวให้เรียบร้อยโดย ทาน้ายางลงไปด้วย จากนั้นจึงค่อยนาไปผึ่งแดดตากลมจนแห้งสนิท ขั้นที่ 6 การหุบร่ม โดยดึงสลักไม้ที่สอดไว้ตรงหัวร่มออกแล้วค่อย ๆ ลดร่มลงทีละน้อย ใช้มือรีดตรง หลังซี่ร่มทุกซี่และจัดกลีบร่มให้พับไปในทางเดียวกัน แล้วใช้ห่วงรัดร่มรัดไว้ให้แน่น ทิ้งไว้สักพักก็กางร่มออก เพื่อทาน้ามันตะโกอีกชั้นหนึ่ง แล้วผึ่งแดดให้แห้งและหุดเก็บไว้อีกครั้ง ขั้นที่ 7 การทาน้ามันยางหรือที่ในปัจจุบันใช้น้ามันบะหมื้อโดยกางร่มออกอีกครั้งแล้วใช้ผ้าชุบน้ามันทา จนทั่วกระดาษปิดร่มทั้งด้านในและด้านนอก ควรระวังไม่ให้น้ามันที่ทานั้นชุ่มโชกจนเกินไป เพราะจะทาให้พื้น ร่มไม่สวย เพียงทาให้ซืมทั่วกระดาษก็พอ เสร็จแล้วนาไปตากแดดทิ้งไว้อีก 3 ชั่วโมง เมื่อตากจนแห้งแล้วก็หุบ ร่มเพื่อเตรียมใส่คันร่มต่อไป การทาน้ามันนี้ก็เพื่อให้ร่มสามารถกันน้าได้นั่นเอง ขั้นที่ 8 การทาคันร่ม คันร่มจะมีขนาดยาวกว่าซี่ร่มยาวเล็กน้อย กล่าวคือเว้นให้ยาวกว่าซี่ร่มยาวให้มือ สามารถจับถือได้พอดี หรืออาจยาวกว่านั้นอีกสักเล็กน้อยก็ได้ คันร่มส่วนใหญ่ใช้ไม้ไผ่ที่มีลาต้นขนาดเล็ก หรือ อาจใช้ไม้เนื้ออ่อนก็ได้ โดยที่คันร่มนี้จะต้องเจาะรูสาหรับใส่ลวดสลัก เพื่อใช้ยึดซี่ร่มไว้ด้วย ซึ่งลวดสลักนี้จะต้อง อยู่ในตาแหน่งระยะที่ตรงกับตุ้มร่มเมื่อกางร่ม การประกอบร่มที่ปิดกระดาษทับโครงเรียบร้อยแล้ว เริ่มต้นโดยถอดคับร่มชั่วคราวออกแล้วใส่คันร่ม จริงลงไปในตาแหน่งเดิม ให้ลวดสลักอยู่ระยะตรงกับตุ้มร่มดังกล่าวไว้แล้ว ให้ตุ้มร่มอยู่บนสลักคันร่ม ลวด สลักอยู่ในระยะที่ตรงกับตุ้มร่มให้กางอยู่โดยไม่เลื่อนหุบลง เมื่อใส่คันร่มแล้วต้องใช้ตะปูตอบที่หัวร่มจนทะลุถึง คันร่มเพื่อกันไม่ให้คันร่มเคลื่อนที่ จากนั้นก็ตัดปลายคันร่มที่โผล่ออกมาทางหัวร่มให้เรียบร้อย อาจกลึงเพื่อ เพิ่มความสวยงามก็ได้ ขั้นที่ 9 การปิดหัวร่ม วัสดุที่นามาปิดหัวร่มอาจใช้ใบลาน ใบตาล หรือกระดาษที่หนาสักหน่อย โดย นามาตัดให้มีลักษณะเป็นปลอกไว้ที่หัวร่ม ตัดกระดาษสาเป็นริ้วยาวพันรอบหัวร่ม 3-4 รอบ ทาน้ามัน ตะโกทับแล้วพันกระดาษสาทับอีกครั้ง แล้วนาไปตากแดดให้แห้ง เสร็จแล้วทาน้ามันมะเดื่อตรงหัวร่มเพื่อให้ กระดาษสาที่หุ้มอยู่มีความหนาเหนียวทนทาน ขั้นที่ 10 การเขียนลาย ใช้พู่กันจุ่มลงไปในสีน้ามันแล้วนามาเขียนลวดลายต่าง ๆ ลงไป ซึ่งส่วนใหญ่ แล้วจะใช้ความสามารถเฉพาะตัวบวกกับความชานาญ เขียนลายกันสด ๆ ไมต้องร่างหรือดูแบบเลย ร่ม
  • 7. กระดาษสาในสมัยก่อนนิยมทาสีแดงและสีดา ไม่มีการเขียนลายอย่างปัจจุบัน ที่มีทั้งลายดอกไม้ ทิวทัศน์ต่าง ๆ สัตว์ต่าง ๆ อย่างนก มังกร ฯลฯ เมื่อสาเร็จทุกขั้นตอนดังที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ก็เป็นอันเสร็จวิธีการทาร่มกระดาษสาบ่อสร้างที่ดูไปดูมากี่ตลบ ก็ยังคงมองเห็นความยากเย็นแสนเข็ญซ่อนอยู่ ได้เห็นขั้นตอนวิธีทาแล้วรู้สึกเห็นใจคนทาจริง ๆ ยังว่าการทาร่ม กระดาษสาบ่อสร้างทุกวันนี้ไม่ได้เป็นการทางานเบ็ดเสร็จเหมือนแต่ก่อน กล่าวคือ ชาวบ้านบ่อสร้างมีหน้าที่ ประกอบแต่ละส่วนเข้าด้วยกันให้เป็นร่มเท่านั้น เพราะอุปกรณ์แทบทุกชิ้นสั่งทาสั้ งซื้อจากที่อื่น ดังได้ทราบกัน ไปแล้วในตอนอื่น ๆ จนมีคนรุ่นเก่า ๆ ของบ่อสร้างปรารภว่า แต่ก่อนต้องทาเองหมดทุกอย่าง คนรุ่นใหม่ ๆ ทาโครงร่มกันแทบไม่เป็น คนดอยสะเก็ดก็จะทาเป็นแต่โครงร่มอย่างอื่นก็ทาไม่ได้เหมือนกัน www.edutoday.in.th 3. การทาน้าแอปเปิลปั่น ขั้นที่ 1 นาแอปเปิ้ลมาปอกเปลือก เอาแกนกลางออก ขั้นที่ 2 นาไปใส่เครื่องปั่น ตามด้วยน้าสุก และน้าเชื่อม ปั่นให้เข้ากัน ขั้นที่ 3 เทใส่แก้ว พร้อมเสิร์ฟ www.thaigoodview.com