SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ใบงานที่ 11 เรื่อง กําหนดและลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ
           ใหนักเรียนเรียงลําดับขั้นตอนการทํางาน จากกิจกรรมที่กําหนดใหตอไปนี้



1. การสํารวจสภาพน้ําที่คูเมือง
      ขั้นที่ 1 เตรียมเครื่องมือที่ใชในสํารวจ ไดแก

                    ตัวชี้วัด                             วิธีการตรวจวัดที่แนะนํา
        ลักษณะทางกายภาพ เชน สี กลิ่น                              สังเกต
         แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม                ชุดทดสอบ ว.111 ของกรมอนามัย
            ความขุน/ความโปรงแสง                               Secchi Disc
                    อุณหภูมิ                            เทอรโมมิเตอรแบบกระเปาะ
              ความเปนกรด-ดาง                        กระดาษลิตมัส (วิธีเปรียบเทียบสี)
      ความนําไฟฟา/สารที่ละลายไดทั้งหมด                 Electrical Conductivity
                   ความเค็ม                                     Hydrometer
               ออกซิเจนละลาย                            ชุดทดสอบออกซิเจนละลาย
                                                          (ว.312) ของกรมอนามัย
                    ฟอสฟอรัส                      ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี)
                     ไนเตรท                       ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี)
                    โลหะหนัก                      ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี)

        ขั้นที่ 2 เดินทางไปที่คูเมือง ตําแหนงที่ 1 ดานทิศเหนือดวยรถจักรยานพรอมเครื่องมือ
สํารวจเพื่อลดปญหามลภาวะทางอากาศ
            ขั้นที่ 3 สังเกตสีของน้ําจากแหลงน้ําโดยตรง หรือตักน้ําขึ้นมาอยางนอย 2 ลิตร
โดยตักลึกลงไปประมาณครึ่งหนึ่งของความลึก นําขึ้นมาใสขวดแกวใสแลวจึงสังเกตสี โดยสีที่
เกิดขึ้นของน้ําเปนตัวชี้ใหเห็นถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดสีไดอยางคราวๆ ดังแสดงในตารางดานลาง
อยางไรก็ตามถึง แมวาน้ําจะใสไมมีสี ก็ไมอาจรับรองไดวาแหลงน้ํานั้นมีคุณภาพดีไมมีการ
ปนเปอนเลย ควรจะมีการติดตามตรวจสอบตอไป
สีปรากฏ                                      สาเหตุที่ทําใหเกิดสี

ไมมีสี                                      ยังไมควรสรุปวาน้ําสะอาดเพราะอาจมี
                                             สิ่งเจือปนอยู

สีเขียว                                      แพลงคตอนพืช

สีเหลืองหรือสีน้ําตาลหรือสีชาใส              มีซากพืชยอยสลาย

สีแดงหรือสีเหลืองหรือ สีมะฮอกกานี            เปนสีของสาหรายอีกจําพวกหนึ่ง
                                             (dinoflagellates)

สีน้ําตาลขุนหรือสีแดง                       มีตะกอนดินเจือปน อาจเกิดจากการกัดเซาะ
                                             หนาดิน หรือชายฝง

สีรุง                                       มีคราบน้ํามันที่ผิวหนา

สีเทาหรือสีดํา                               น้ําเนาจากสิ่งปฏิกูล หรืออาจมีแรธาตุ
                                             จากธรรมชาติเจือปน

การตรวจวัดคุณภาพน้ําทางชีวภาพ

          การตรวจวัดคุณภาพน้ํานอกจากจะใชตัวชี้วัดทางกายภาพ เคมี และแบคทีเรียใน
การวิเคราะหคุณภาพน้ําแลว ยังสามารถใชสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลงน้ํานั้น เชน แพลงค
ตอนพืช แพลงคตอนสัตว สาหรายขนาดใหญ สัตวหนาดิน พืชน้ํา
และปลา เปนตน เปนตัวชี้วัดคุณภาพน้ํารวมไดอีกทางหนึ่ง
สัตวหนาดิน

            เนื่องจากสัตวหนาดินมีความหลากหลายและแพรกระจายในบริเวณกวาง สามารถ
เคลื่อนที่ไดนอย และไวตอการถูกรบกวน ดังนั้นจึงไดรับผลกระทบโดยตรงจากมลพิษ และแม
เวลาผานไปก็ยังตรวจสอบผลกระทบที่มีตอแหลงน้ําบริเวณนั้นๆ ได เนื่องจากสัตวหนาดิน
สามารถฟนตัวไดชา นอกจากนี้แลวยังมีความสําคัญในหวงโซอาหาร เนื่องจากเปนผูผลิตหรือ
ผูบริโภคในระดับตนๆ จึงมีผลตอความชุกชุมของผูบริโภค
ในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้นชนิดและจํานวนของสัตวหนาดิน จึงสามารถนํามาใชเปนดัชนีชี้วัด
คุณภาพแหลงน้ําได
สามารถแบงชนิดของสัตวหนาดินที่พบกับคุณภาพน้ําได 4 ระดับ คือ

คุณภาพน้ําดีมาก สัตวที่พบมากสุดไดแกตัวออนแมลงชีปะขาวและตัวออนแมลงเกาะหิน



   แมลงชีปะขาว             แมลงเกาะหิน
คุณภาพน้ําดี สัตวที่พบมากสุด ไดแก ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ํา



  แมลงหนอนปลอกน้ํา



คุณภาพน้ําปานกลาง สัตวที่พบมากสุด ไดแก ตัวออนแมลงปอ กุงและปูน้ําจืด




      แมลงปอ ปู
คุณภาพน้ําไมดี สัตวที่พบมากสุด ไดแก หนอนแดง ไสเดือนน้ําจืด




    หนอนแดง                ไสเดือนน้ําจืด

2. การทํารมกระดาษสาที่บอสราง
      ขั้นที่ 1 เดินทางไปยังอ.สันกําแพง ศูนยทํารมบอสราง
      ขั้นที่ 2 ศึกษาวิธีการทําจากผูรู
      ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติและจดบันทึก
3. การทําขาวแตนน้ําแตงโม
      ขั้นที่ 1 เดินทางไปยังกลุมผูผลิต กลุมวิสาหกิจชุมชนขาวแตนน้ําแตงโมอําพันบานทุง
มานเหนือ หมูที่ 2 ตําบลบานเปา อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง
      ขั้นที่ 2 ศึกษาสอบถาม วิธีทํา วัตถุดิบและ ความพิเศษของ ขาวแตนน้ําแตงโม
      ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติและจดบันทึกประสบการณการเรียนรู

More Related Content

What's hot

What's hot (12)

Pwastandard50 1
Pwastandard50 1Pwastandard50 1
Pwastandard50 1
 
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2เตรียมสอบ O net 57  วิทย์ชุด2
เตรียมสอบ O net 57 วิทย์ชุด2
 
Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3Sc103 fanal#3
Sc103 fanal#3
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
Sc103 final#1
Sc103 final#1Sc103 final#1
Sc103 final#1
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Pdf online
Pdf onlinePdf online
Pdf online
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2
 
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshowWeek 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
 
PPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPK
PPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPKPPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPK
PPK_เบส(base)กลุ่มคนคี่ ม.1/13 PPK
 
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshowWeek 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
 

More from Namphon Srikham

แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Namphon Srikham
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Namphon Srikham
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”Namphon Srikham
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทNamphon Srikham
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”Namphon Srikham
 
ใบงานแบบสำรวจตนเอง
ใบงานแบบสำรวจตนเองใบงานแบบสำรวจตนเอง
ใบงานแบบสำรวจตนเองNamphon Srikham
 
แบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของแบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของNamphon Srikham
 
ใบงานสำรวจตนเอง :)
ใบงานสำรวจตนเอง :)ใบงานสำรวจตนเอง :)
ใบงานสำรวจตนเอง :)Namphon Srikham
 

More from Namphon Srikham (13)

แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
Untitled1
Untitled1Untitled1
Untitled1
 
Untitled1
Untitled1Untitled1
Untitled1
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานแบบสำรวจตนเอง
ใบงานแบบสำรวจตนเองใบงานแบบสำรวจตนเอง
ใบงานแบบสำรวจตนเอง
 
แบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของแบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของ
 
ใบงานสำรวจตนเอง :)
ใบงานสำรวจตนเอง :)ใบงานสำรวจตนเอง :)
ใบงานสำรวจตนเอง :)
 

11

  • 1. ใบงานที่ 11 เรื่อง กําหนดและลําดับขั้นตอนการปฏิบัติ ใหนักเรียนเรียงลําดับขั้นตอนการทํางาน จากกิจกรรมที่กําหนดใหตอไปนี้ 1. การสํารวจสภาพน้ําที่คูเมือง ขั้นที่ 1 เตรียมเครื่องมือที่ใชในสํารวจ ไดแก ตัวชี้วัด วิธีการตรวจวัดที่แนะนํา ลักษณะทางกายภาพ เชน สี กลิ่น สังเกต แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม ชุดทดสอบ ว.111 ของกรมอนามัย ความขุน/ความโปรงแสง Secchi Disc อุณหภูมิ เทอรโมมิเตอรแบบกระเปาะ ความเปนกรด-ดาง กระดาษลิตมัส (วิธีเปรียบเทียบสี) ความนําไฟฟา/สารที่ละลายไดทั้งหมด Electrical Conductivity ความเค็ม Hydrometer ออกซิเจนละลาย ชุดทดสอบออกซิเจนละลาย (ว.312) ของกรมอนามัย ฟอสฟอรัส ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี) ไนเตรท ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี) โลหะหนัก ชุดทดสอบ (Test Kits) (วิธีเปรียบเทียบสี) ขั้นที่ 2 เดินทางไปที่คูเมือง ตําแหนงที่ 1 ดานทิศเหนือดวยรถจักรยานพรอมเครื่องมือ สํารวจเพื่อลดปญหามลภาวะทางอากาศ ขั้นที่ 3 สังเกตสีของน้ําจากแหลงน้ําโดยตรง หรือตักน้ําขึ้นมาอยางนอย 2 ลิตร โดยตักลึกลงไปประมาณครึ่งหนึ่งของความลึก นําขึ้นมาใสขวดแกวใสแลวจึงสังเกตสี โดยสีที่ เกิดขึ้นของน้ําเปนตัวชี้ใหเห็นถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดสีไดอยางคราวๆ ดังแสดงในตารางดานลาง อยางไรก็ตามถึง แมวาน้ําจะใสไมมีสี ก็ไมอาจรับรองไดวาแหลงน้ํานั้นมีคุณภาพดีไมมีการ ปนเปอนเลย ควรจะมีการติดตามตรวจสอบตอไป
  • 2. สีปรากฏ สาเหตุที่ทําใหเกิดสี ไมมีสี ยังไมควรสรุปวาน้ําสะอาดเพราะอาจมี สิ่งเจือปนอยู สีเขียว แพลงคตอนพืช สีเหลืองหรือสีน้ําตาลหรือสีชาใส มีซากพืชยอยสลาย สีแดงหรือสีเหลืองหรือ สีมะฮอกกานี เปนสีของสาหรายอีกจําพวกหนึ่ง (dinoflagellates) สีน้ําตาลขุนหรือสีแดง มีตะกอนดินเจือปน อาจเกิดจากการกัดเซาะ หนาดิน หรือชายฝง สีรุง มีคราบน้ํามันที่ผิวหนา สีเทาหรือสีดํา น้ําเนาจากสิ่งปฏิกูล หรืออาจมีแรธาตุ จากธรรมชาติเจือปน การตรวจวัดคุณภาพน้ําทางชีวภาพ การตรวจวัดคุณภาพน้ํานอกจากจะใชตัวชี้วัดทางกายภาพ เคมี และแบคทีเรียใน การวิเคราะหคุณภาพน้ําแลว ยังสามารถใชสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลงน้ํานั้น เชน แพลงค ตอนพืช แพลงคตอนสัตว สาหรายขนาดใหญ สัตวหนาดิน พืชน้ํา และปลา เปนตน เปนตัวชี้วัดคุณภาพน้ํารวมไดอีกทางหนึ่ง
  • 3. สัตวหนาดิน เนื่องจากสัตวหนาดินมีความหลากหลายและแพรกระจายในบริเวณกวาง สามารถ เคลื่อนที่ไดนอย และไวตอการถูกรบกวน ดังนั้นจึงไดรับผลกระทบโดยตรงจากมลพิษ และแม เวลาผานไปก็ยังตรวจสอบผลกระทบที่มีตอแหลงน้ําบริเวณนั้นๆ ได เนื่องจากสัตวหนาดิน สามารถฟนตัวไดชา นอกจากนี้แลวยังมีความสําคัญในหวงโซอาหาร เนื่องจากเปนผูผลิตหรือ ผูบริโภคในระดับตนๆ จึงมีผลตอความชุกชุมของผูบริโภค ในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้นชนิดและจํานวนของสัตวหนาดิน จึงสามารถนํามาใชเปนดัชนีชี้วัด คุณภาพแหลงน้ําได สามารถแบงชนิดของสัตวหนาดินที่พบกับคุณภาพน้ําได 4 ระดับ คือ คุณภาพน้ําดีมาก สัตวที่พบมากสุดไดแกตัวออนแมลงชีปะขาวและตัวออนแมลงเกาะหิน แมลงชีปะขาว แมลงเกาะหิน คุณภาพน้ําดี สัตวที่พบมากสุด ไดแก ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ํา แมลงหนอนปลอกน้ํา คุณภาพน้ําปานกลาง สัตวที่พบมากสุด ไดแก ตัวออนแมลงปอ กุงและปูน้ําจืด แมลงปอ ปู
  • 4. คุณภาพน้ําไมดี สัตวที่พบมากสุด ไดแก หนอนแดง ไสเดือนน้ําจืด หนอนแดง ไสเดือนน้ําจืด 2. การทํารมกระดาษสาที่บอสราง ขั้นที่ 1 เดินทางไปยังอ.สันกําแพง ศูนยทํารมบอสราง ขั้นที่ 2 ศึกษาวิธีการทําจากผูรู ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติและจดบันทึก
  • 5. 3. การทําขาวแตนน้ําแตงโม ขั้นที่ 1 เดินทางไปยังกลุมผูผลิต กลุมวิสาหกิจชุมชนขาวแตนน้ําแตงโมอําพันบานทุง มานเหนือ หมูที่ 2 ตําบลบานเปา อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง ขั้นที่ 2 ศึกษาสอบถาม วิธีทํา วัตถุดิบและ ความพิเศษของ ขาวแตนน้ําแตงโม ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติและจดบันทึกประสบการณการเรียนรู