SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงานการ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวพิมพ์สุชา ปงลังกาพสิษฐ์ เลขที่ 2 ชั้น 6 ห้อง 6
2. นางสาวเมรินทร์ สิทธิบุญมี เลขที่ 3 ชั้น 6ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. น.ส.พิมพ์สุชา ปงลังกาพสิษฐ์ เลขที่ 2
2. น.ส.เมรินทร์ สิทธิบุญมี เลขที่ 3
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Guidelines for Forest Conservation
ประเภทโครงงาน
โครงงานการศึกษาและรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวพิมพ์สุชา ปงลังกาพสิษฐ์
2. นางสาวเมรินทร์ สิทธิบุญมี
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
17 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้ทาให้โลกมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วทั้งด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมซึ่งป็น
ปัจจัยที่ทาให้มนุษย์ได้นาทรัพยากรป่าไม้ที่มีอยู่อย่างจากัดมาใช้เพื่อสนองความต้องการของแต่ละบุคคล
จนทาให้ปริมาณทรัพยากรป่าไม้ลดลงอย่างมากเกิดเป็นปัญหาที่หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างช่วยกัน
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพราะทรัพยากรป่าไม้ถือเป็นแหล่งต้นน้าลาธารที่สาคัญ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
การที่ป่าไม้ลดลงทาให้เกิดผลกระทบต่อสภาพบรรยากาศ มลพิษทางอากาศจึงมากขึ้น
ซึ่งปัญหาที่ส่งผลมากในขณะนี้คือ ปัญหาภาวะโลกร้อน ทุกปัญหาที่เกิดล้วนเกิดจากการกระทาของมนุษย์
ดังนั้นมนุษย์ก็ควรจะแก้ปัญหา และฟื้นฟูสภาพป่าไม้ที่เสื่อมโทรมให้ดีขึ้น
ถือเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและยั่งยืนเกิดเป็นประโยชน์สูงสุดให้กับตนเองและบุคคลอื่น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาและดาเนินการสร้าง โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
2. เพื่อศึกษาสาเหตุการเกิดปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้ที่ลดลง
3. เพื่อแก้ปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้ลดลง
4. เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. สามารถหาสาเหตุการเกิดปัญหาทรัพยากรป่าไม้ลดลง
2. สามารถแก้ปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้ลดลง
3. สามารถอนุรักษ์รัพยากรป่าไม้ได้อย่างยั่งยืน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ในการจัดสร้าง โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ จาเป็นจะต้องศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังนี้
2.1 เรื่องที่ 1 สาเหตุที่ทาให้ป่าไม้ลดลง
1. การทาไม้ ความต้องการไม้เพื่อทากิจการต่าง ๆ เช่น ทาอุตสาหกรรม โรงเลื่อย
โรงงานกระดาษ สร้างที่อยู่อาศัยหรือร้านค้า
ทาให้ต้นไม้ถูกลอบตัดหรือตัดไม้อย่างถูกต้องตามกฏหมาย
2. การเพิ่มจานวนประชากรของประเทศ
ทาให้ความต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึ้น
ความจาเป็นที่ต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น
พื้นที่ป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของการขยายพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก
3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มันสาปะหลัง
ปอ ฯลฯ โดยไม่ส่งเสริมการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ
ที่พื้นที่ป่าบางแห่งไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในการเกษตรกรรมเพาะปลูก
4.การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทาไม่ชัดเจนหรือไม่กระทาเลยในหลายๆ ป่า
ทาให้ราษฏรเกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา
5.การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ อาทิ เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม
การสร้างเขื่อนขวางลาน้าจะทาให้พื้นที่เก็บน้าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัดโค่นมาใช้ประโยชน์
ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทาการย้ายออกมาไม่ทันจะถูกน้าท่วมตาย
6.ไฟไหม้ป่า ประเทศไทยมักเกิดไฟไหม้ป่าในฤดูร้อนเป็นประจาทุกปี
เพราะในฤดูร้อนพวกวัชพืชในป่าหรือจากการผลัดใบของต้นไม้ ใบไม้จะแห้งแล้งและติดไฟง่าย
7.การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบในบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่
มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดินก่อน จึงทาให้ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง
8.การทาลายของสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง
9.การทาลายของเชื้อโรคและแมลง
ต้นไม้ในป่าเป็นจานวนมากที่ถูกทาลายโดยเชื้อโรคและแมลง
จะเกิดการเหี่ยวเฉาแคระแกร็นไม่เจริญเติบโต บางชนิดต้องสูญพันธุ์
10.ความตระหนักและความร่วมมือของประชาชนต่อการอนุรักษ์ยังมีน้อย
2.2 เรื่องที่ 2 แนวทางในการรักษาทรัพยากรณ์ป่าไม้
1.การกาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติ ซึ่งมีจานวน 20 ข้อกาหนด
เพื่อให้ผู้คนในพื้นที่ได้รักษาทรัพยากรป่าไม้ให้อยู่กับธรรมชาติตลอดไป
โดยมีพื้นที่ทั่วประเทศอย่างน้อยในอัตราร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ
จะต้องมีแนวทางจัดการและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
4
2.การปลูกป่า คือ การดาเนินงานด้านการอนุรักษ์
ซึ่งสามารถนามาทดแทนป่าไม้ที่ถูกทาลายลงไปได้ ช่วยให้ป่าไม้ในเมืองมีมากขึ้นกว่าเดิม
โดยเฉพาะพื้นที่สาคัญที่ไม่ค่อยมีต้นไม้ ป่าไม้คือชีวิตของมนุษย์ที่ต้องอยู่ร่วมกันเสมอ
3.การป้องกันไฟไหม้ป่า เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ป่าไม้ลดลงในประเทศไทย
โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อน คนในพื้นที่จะต้องทาสวนทาไร่ และเผ่าป่า ควรจะต้องมีการช่วยกัน
รณรงค์ ไม่ให้มีการเผ่าป่าไม้ การเผ่าป่ายังส่งผงกระทบมากมาย เช่น สภาพพื้นดิน
มลพิษทางอากาศ เป็นต้น
4.การป้องกันอนุรักษ์ไม่ให้มนุษย์บุกรุกทาลายป่าไม้
เพื่อนาคนที่ทาผิดสาหรับการทาลายป่าไม้มาลงโทษ โดยการทาป้ายเตือน
เจ้าหน้าที่รัฐจะต้องเอาจริงเอาจัง เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี เจ้าหน้าไม่ควรทาผิดเสียเอง
ทาหน้าที่อย่างตรงไปตรงมา
5.การใช้วัสดุต่างๆมาทดแทนไม้ คือ
หนทางหนึ่งที่สามารถช่วยให้ป่าไม้ในประเทศไทยมีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งในอดีตคนจะสร้างบ้านด้วยไม้ซะเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบันสามารถทาบ้านด้วยเหล็กและปูน
ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่าเสียอีก แต่สาหรับบางคนยังบุกรุกในเขตอนุรักษ์ป่าไม้อยู่
จึงไม่สมควรอย่างยิ่ง เพราะต้นไม้กว่าจะเติบโตมา ต้องใช้เวลาที่นานพอสมควร
ควรช่วยกันสร้างบ้านเรือนหรือสิ่งก่อสร้างด้วยปูนเหล็กจะดีกว่า
6.การช่วยกันใช้ไม้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดที่สุด
ในการสร้างบ้านจะต้องใช้ไม้อยู่บ้าง เราควรจะใช้อย่างประโยชน์และคุ้มค่ามากที่สุด
เพื่อให้ป่าไม้มีเพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์ คิดไว้เสมอเลยว่า
ถ้าขาดป่าไม้ไปมนุษย์เราคงอยู่ไม้ได้แน่ ต้องช่วยกันอนุรักษ์ให้มีป่าไม้อยู่บนโลกนี้มากๆ
เพราะในปัจจุบันป่าไม้มีจานวนลงอย่างต่อเนื่อง
2.3 เรื่องที่ 3 การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับป่าไม้
ส่วนที่ 1 การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาในส่วนนี้เป็นข้อมูลจากแผนที่ และภาพถ่ายทางอากาศเป็นส่วนใหญ่
ในขึ้นตอนนี้จะเป็นการศึกษาเปรียบเทียบสภาพทางกายภาพในอดีตกับปัจจุบัน
ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้างและเนื่องจากการศึกษาในลักษณะนี้ไม่สามารถทาการศึกษาจา
กข้อมูลบันทึก หรือรายงานต่างๆ ได้อย่างละเอียดชัดเจน
และการที่จะศึกษาโดยการสัมภาษณ์บุคคลก็ไม่สามารถให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
เนื่องจากระยะเวลาที่เข้ามาอยู่อาศัยในพื้นที่มีความแตกต่างกัน การศึกษาในส่วนนี้
จึงทาโดยการแปรข้อมูลจากภาพถ่ายทางอากาศและแผนที่แสดงสภาพภูมิประเทศ
ลงบนแผนที่โป่งแสง ทั้งนี้โดยใช้ข้อมูล 3 ช่วง ปี คือ ข้อมูลปีปัจจุบัน (ล่าสุดเท่าที่จะหาได้)
ข้อมูลย้อนหลังจากปีปัจจุบันไป 10 ปี และ 20 ปี ตามลาดับ ข้อมูลทั้ง 3 ชุด
ที่ทาการแปรผลลงบนแผ่นที่โปร่งแสงแล้ว
จะนามาทาการวิเคราะห์ร่วมกันโดยการใช้วิธีการซ้อนภาพ (Overlay Technigue)
เพื่อวิเคราะห์ถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากนั้นจะใช้ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับปร
ะวัติการตั้งถิ่นฐานและการประกอบอาชีพ มาวิเคราะห์ร่วมกัน
เพื่อหาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ส่วนที่ 2 ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้ดงกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
5
การศึกษาในส่วนนี้จะดาเนินการดังนี้ คือ
ก. รวบรวมเอกสารต่างๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย บทความ
ตาราทางวิชาการและข้อมูลสถิติอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางให้ทราบว่า
มีปัจจัยอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม จากนั้น จะนาปัจจัยต่างๆ
ที่พบมาเป็นแนวทางในการกาหนดตัวแปรที่จะใช้ในการศึกษาเพื่อที่จะทราบว่าในพื้นที่ศึกษามีปั
จจัยอะไรบ้าง ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในพื้นที่
นอกจากนี้จะเป็นการศึกษาถึงนโยบายและแนวทางการพัฒนาทรัพยากรทั้งในระดับชาติ
ระดับกระทรวง และระดับปฏิบัติการ
ข. การสัมภาษณ์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล การสัมภาษณ์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจะแบ่งออกเป็น 2
ส่วน คือ
1. สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ที่ปฉิบัติงนในพื้นที่ เป็นการสัมภาษณ์ถึงลักษณะงานที่ปฏิบัติ
หน้าที่ที่รับผิดชอบ และปัญหาในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้น
2. สัมภาษณ์ประชากรที่อยู่อาศัยในเขตพื้นที่ การสัมภาษณ์ประชากรที่อยู่อาศัยในเขตพื้นที่
จะทาการสัมภาษณ์จากหัวหน้าครัวเรือนที่ตกเป็นตัวอย่าง ซึ่งมีจานวนทั้งสิ้น 171 ครัวเรือน
โดยครัวเรือนตัวอย่างจานวน 171 ครัวเรือนนี้ ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง โดยวิธี Systematic
Rardom Sampling โดยใช้จานวนครัวเรือนตัวอย่างร้อยละ 45 ของครัวเรือน
ทั้งหมดในพื้นที่สารวจ
ข้อมูลที่ทาการสัมภาษณ์จากประชากรตัวอย่างจะประกอบด้วย
ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการตั้งถิ่นฐาน ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากรของครัวเรือน
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ความรู้ ทัศนคติ
และการปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา และความต้องการของประชากร
ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ประชากร
จะนามาทาการแปรรหัสข้อมูลและประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยจะแสดงผลในรูปของตารางแจกแจงความถี่ และตารางความสัมพันธ์ของตัวแปร
รวมทั้งการวิเคราะห์ค่าทางสถิติต่างๆ
การวิเคราะห์ข้อมูล
2.4 เรื่องที่ 4 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ
1. วิธีการสัมภาษณ์จากผู้ให้คาตอบโดยตรง (Personal interview หรือ Face to
face interview) เป็นวิธีการที่ส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงานออกไปสัมภาษณ์ผู้ให้คาตอบ
และบันทึกคาตอบลงในแบบข้อถาม วิธีนี้นิยมใช้กันมากในการทาสามะโนและสารวจ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสภาพการณ์ของประเทศไทย เป็นวิธีการที่จะทาให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด
พนักงานสัมภาษณ์สามารถชี้แจงหรืออธิบายให้ ผู้ตอบเข้าใจในคาถามได้
ทาให้ได้รับคาตอบตรงตามวัตถุประสงค์ แต่การที่จะให้ได้คาตอบที่ดี ก็ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ
เช่น วิสัยสามารถของผู้ตอบที่จะเข้าใจคาถาม
ความตั้งใจของผู้ตอบและความสุจริตใจที่จะให้คาตอบ ความสามารถของพนักงาน
ที่จะสัมภาษณ์ได้อย่างละเอียดครบถ้วน และบันทึกคาตอบอย่างถูกต้อง และที่สาคัญที่สุดคือ
ความซื่อสัตย์สุจริตของพนักงานสัมภาษณ์ที่จะไม่กรอกข้อมูลเอง
ซึ่งในทางปฏิบัติก่อนที่จะส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงานออกไปปฏิบัติงาน
จะต้องทาการอบรมชี้แจงให้เข้าใจถึงขั้นตอนการสัมภาษณ์ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของโครงการ
6
คาจากัดความหรือความหมายของคาต่างๆ ที่ใช้ในแบบข้อถาม การกรอกแบบข้อถาม
ซึ่งรายละเอียดต่างๆ เหล่านี้ ได้กาหนดไว้ในคู่มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูล
2. วิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Enumeration by telephone)
เป็นวิธีการที่อาจทาได้อย่างรวดเร็ว และทุ่นค่าใช้จ่าย เพราะไม่ต้องเดินทาง แต่มีขอบเขตจากัด
คือใช้ได้เฉพาะผู้ที่มีโทรศัพท์เท่านั้น คาถามที่ถามจะต้องสั้นและเข้าใจง่าย
วิธีนี้จึงใช้ในการเก็บรวบรวมที่รายการข้อถามไม่มากนัก ประมาณ 1 – 2 รายการ
จึงมักใช้ร่วมกับวิธีอื่น หรือใช้ในการทวงถามใบแบบข้อถาม หรือสอบถามเพิ่มเติมเมื่อมีข้อสงสัย
เกี่ยวกับคาตอบ หรือไม่ได้รับคาตอบในบางรายการ
หรืออาจใช้ในการตรวจสอบการทางานของพนักงาน
3. วิธีการให้พนักงานไปทอดแบบไว้ให้ผู้ตอบกรอกข้อมูลเอง (Self enumeration)
วิธีนี้พนักงานจะนาแบบข้อถามไปมอบไว้ให้กับผู้ตอบ โดยอธิบายถึงวิธีการกรอกเท่าที่จาเป็น
ผู้ตอบจะต้องกรอกแบบ ข้อถามเอง
พนักงานจะกลับไปรับแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วในวันที่กาหนด
ในขณะเดียวกันพนักงานจะต้องทาการตรวจสอบความถูกต้อง
และความครบถ้วนของข้อมูลที่กรอกแล้ว ถ้าผิดพลาดหรือ ไม่ครบถ้วนจะต้องสัมภาษณ์เพิ่มเติม
วิธีนี้เหมาะที่จะใช้กับผู้ที่ มีการศึกษาพอที่จะอ่าน เขียน เข้าใจคาถามได้
สาหรับประเทศไทยระดับการศึกษาและการให้ความร่วมมือของประชากรยังแตกต่างกันมาก
ฉะนั้นจึงเหมาะสมที่จะใช้กับงานบางโครงการเท่านั้น
แบบข้อถามที่จะใช้วิธีนี้จะต้องมีคาถามที่เข้าใจง่าย มีคาอธิบายอย่างชัดเจน
และการกรอกแบบข้อถามต้องไม่ยุ่งยาก
4. วิธีการส่งแบบข้อถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ (Mailed questionnaire)
เป็นวิธีที่ส่งแบบข้อถาม ให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์
และให้ผู้ตอบส่งแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วกลับคืนมาทางไปรษณีย์เช่นเดียวกัน
วิธีนี้คล้ายกับการทอดแบบ แต่ต่างกันตรงที่ส่งแบบทางไปรษณีย์
เป็นวิธีการที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด เพราะเสียเพียงค่าแสตมป์แทนค่าใช้จ่ายของพนักงานสนาม
โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้ที่จะให้คาตอบอยู่กระจัดกระจายกันมาก
ซึ่งไม่อยู่ในวิสัยที่จะส่งพนักงานสนามไปทาการสัมภาษณ์ได้
ในกรณีที่ผู้ตอบเห็นความสาคัญของข้อมูล
ข้อมูลที่ได้อาจมีคุณภาพดีกว่าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เพราะผู้ตอบมีเวลาคิด ก่อนตอบ
และไม่ต้องตอบภายใต้สภาวะการณ์เร่งรีบของพนักงานสัมภาษณ์
แต่วิธีนี้ก็มีข้อเสียที่มักจะมีอัตราการไม่ตอบ (non-response rate) สูง
วิธีนี้มีข้อจากัดในการใช้คือ
• แบบต้องไม่ยากและไม่ยาวเกินไป
• ใช้ในประเทศที่มีบริการไปรษณีย์ดี
• ผู้ตอบต้องสามารถอ่านคาถาม และข้อสั่งชี้แจงได้เข้าใจ
• ต้องใช้เวลาคอยจนกว่าจะได้รับแบบครบจานวนที่ต้องการ
และบางทีต้องมีการทวงถามหลายครั้ง
7
• ถ้าคาตอบไม่ชัดเจน ต้องเสียเวลาถามซ้าโดยวิธีการอื่น
5. วิธีการสังเกตการณ์ (Observation) เป็นวิธีเก็บข้อมูลโดยการสังเกตโดยตรงจากปฏิกิริยา
ท่าทาง หรือเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง
และจดบันทึกไว้โดยไม่มีการสัมภาษณ์ วิธีนี้ใช้กันอย่างกว้างขวางในการวิจัย เช่น
จะศึกษาดูปฏิกิริยาของผู้ขับรถยนต์บนท้องถนนภายใต้ สภาพการณ์จราจรต่าง ๆ กัน
ก็อาจจะส่งเจ้าหน้าที่ไปยืนสังเกตการณ์ได้
การสังเกตจานวนลูกค้าและบันทึกปริมาณการขายของสถานประกอบการ
โดยพนักงานเก็บภาษีของกรมสรรพากร
เพราะการไปสัมภาษณ์ผู้ประกอบการถึงปริมาณการขาย ย่อมไม่ได้ข้อมูลที่แท้จริง
6.
วิธีการบันทึกข้อมูลจากการวัดหรือนับ วิธีนี้จะมีอุปกรณ์เพื่อใช้ในการวัดหรือนับตามความจาเป็
นและความเหมาะสม เช่น การนับจานวนรถยนต์ที่แล่นผ่านที่จุดใดจุดหนึ่ง
ก็อาจใช้เครื่องนับโดยให้รถ แล่นผ่านเครื่องดังกล่าว หรือ การเก็บข้อมูลด้วยการวัด เช่น
การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับขนาดของ แปลงเพาะปลูก พืช ทาได้โดยการวัดความยาวของแต่ละด้าน
เพื่อคานวณหาพื้นที่ตามหลักเกณฑ์การหาพื้นที่ เป็นต้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
ในการจัดสร้าง โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มีแผนการสร้างดังนี้
1. การวิเคราะห์ปัญหา
1.สาเหตุการลดลงของป่าไม้
- มนุษย์นาต้นไม้ไปสร้างที่อยู่อาศัย
- การบุกลุกพื้นที่ป่าเพื่อทาการเกษตร
- การขยายพื้นที่การเกษตร
- การสร้างสาธารณูปโภคของภาครัฐ เช่นการสร้างเขื่อน อ่างกักเก็บน้า
การทา เส้นทางคมนาคม
- ไฟไหม้ป่า
- การทาเหมืองแร่
2. หาปัญหาที่เกิดขึ้นจากสาเหตุการลดลงของป่าไม้
- วิกฤตการณ์ภาวะโลกร้อน
- สัตว์ป่าลดลงเพราะไม่มี่ที่อยู่อาศัย
- มลพิษทางอากาศมากขึ้น
- ภัยทางธรรมชาติ เช่น การเกิดวิกฤตการณ์น้าท่วม
ทาให้ฝนไม่ตกตามฤดูกาล เกิดวิกฤตการณ์ภัยแล้ง
- การพังทลายของภูเขา
2. หาวิธีการแก้ปัญหาการลดลงของป่าไม้
- ไม่ตัดไม้ทาลายป่า
8
- ไม่บุกลุกพื้นที่ป่า
- ไม่ทาไร่เลื่อนลอย
3. หาแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน
- ปลูกต้นไม้เพื่อทดแทนต้นไม้ที่ถูกทาลาย
- จัดสรรการใช้พื้นที่ทากิน
- การไม่ตัดไม้ทาลายป่า
- ไม่เผาป่า
- รณรงค์ให้ประชาชนรักและห่วงแหนป่าไม้
- ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเตอร์เน็ต
3. สมาร์ทโฟน
งบประมาณ
ค่าอินเทอร์เน็ตเฉลี่ย ชั่วโมงละ 5 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / / พิมพ์สุชา, เมรินทร์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / พิมพ์สุชา
3 จัดทาโครงร่างงาน / / เมรินทร์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงา
น
/ / / / พิมพ์สุชา, เมรินทร์
5 ปรับปรุงทดสอบ / / พิมพ์สุชา
6 การทาเอกสารรายงาน / / เมรินทร์
7 ประเมินผลงาน / พิมพ์สุชา, เมรินทร์
8 นาเสนอโครงงาน / พิมพ์สุชา, เมรินทร์
9
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ที่มีคุณภาพ
มีประโยชน์กับบุคคลทั่วไปสามารถนาความรู้ที่ได้ปรับใช้กับชีวิตประจาวัน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
- กลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- เว็บไซต์ของกรมอนุรักษ์ป่าไม้
- เว็บไซต์เกี่ยวกับการทาโครงงาน
- ฐานข้อมูลงานวิจัยกลุ่มงานท้องถิ่นและภูมิภาคการศึกษา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

More Related Content

What's hot

โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602Scott Tape
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดmaddemon madden
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project aomsin004
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supansa Tomdaeng
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4cardphone
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้งarisanoodee
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10buakhamlungkham
 

What's hot (19)

โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิด
 
spy
spyspy
spy
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
Chutimon-com-project
Chutimon-com-projectChutimon-com-project
Chutimon-com-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
Work.1
Work.1Work.1
Work.1
 
krongngan
krongngankrongngan
krongngan
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 

โครงงานคอมพิวเตอร์1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงานการ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวพิมพ์สุชา ปงลังกาพสิษฐ์ เลขที่ 2 ชั้น 6 ห้อง 6 2. นางสาวเมรินทร์ สิทธิบุญมี เลขที่ 3 ชั้น 6ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.พิมพ์สุชา ปงลังกาพสิษฐ์ เลขที่ 2 2. น.ส.เมรินทร์ สิทธิบุญมี เลขที่ 3 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Guidelines for Forest Conservation ประเภทโครงงาน โครงงานการศึกษาและรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวพิมพ์สุชา ปงลังกาพสิษฐ์ 2. นางสาวเมรินทร์ สิทธิบุญมี ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 17 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้ทาให้โลกมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วทั้งด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมซึ่งป็น ปัจจัยที่ทาให้มนุษย์ได้นาทรัพยากรป่าไม้ที่มีอยู่อย่างจากัดมาใช้เพื่อสนองความต้องการของแต่ละบุคคล จนทาให้ปริมาณทรัพยากรป่าไม้ลดลงอย่างมากเกิดเป็นปัญหาที่หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างช่วยกัน แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพราะทรัพยากรป่าไม้ถือเป็นแหล่งต้นน้าลาธารที่สาคัญ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า การที่ป่าไม้ลดลงทาให้เกิดผลกระทบต่อสภาพบรรยากาศ มลพิษทางอากาศจึงมากขึ้น ซึ่งปัญหาที่ส่งผลมากในขณะนี้คือ ปัญหาภาวะโลกร้อน ทุกปัญหาที่เกิดล้วนเกิดจากการกระทาของมนุษย์ ดังนั้นมนุษย์ก็ควรจะแก้ปัญหา และฟื้นฟูสภาพป่าไม้ที่เสื่อมโทรมให้ดีขึ้น ถือเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มั่นคงและยั่งยืนเกิดเป็นประโยชน์สูงสุดให้กับตนเองและบุคคลอื่น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาและดาเนินการสร้าง โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 2. เพื่อศึกษาสาเหตุการเกิดปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้ที่ลดลง 3. เพื่อแก้ปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้ลดลง 4. เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. สามารถหาสาเหตุการเกิดปัญหาทรัพยากรป่าไม้ลดลง 2. สามารถแก้ปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้ลดลง 3. สามารถอนุรักษ์รัพยากรป่าไม้ได้อย่างยั่งยืน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ในการจัดสร้าง โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ จาเป็นจะต้องศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังนี้ 2.1 เรื่องที่ 1 สาเหตุที่ทาให้ป่าไม้ลดลง 1. การทาไม้ ความต้องการไม้เพื่อทากิจการต่าง ๆ เช่น ทาอุตสาหกรรม โรงเลื่อย โรงงานกระดาษ สร้างที่อยู่อาศัยหรือร้านค้า ทาให้ต้นไม้ถูกลอบตัดหรือตัดไม้อย่างถูกต้องตามกฏหมาย 2. การเพิ่มจานวนประชากรของประเทศ ทาให้ความต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึ้น ความจาเป็นที่ต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น พื้นที่ป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของการขยายพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก 3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มันสาปะหลัง ปอ ฯลฯ โดยไม่ส่งเสริมการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ ที่พื้นที่ป่าบางแห่งไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในการเกษตรกรรมเพาะปลูก 4.การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทาไม่ชัดเจนหรือไม่กระทาเลยในหลายๆ ป่า ทาให้ราษฏรเกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา 5.การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ อาทิ เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลาน้าจะทาให้พื้นที่เก็บน้าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัดโค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทาการย้ายออกมาไม่ทันจะถูกน้าท่วมตาย 6.ไฟไหม้ป่า ประเทศไทยมักเกิดไฟไหม้ป่าในฤดูร้อนเป็นประจาทุกปี เพราะในฤดูร้อนพวกวัชพืชในป่าหรือจากการผลัดใบของต้นไม้ ใบไม้จะแห้งแล้งและติดไฟง่าย 7.การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบในบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดินก่อน จึงทาให้ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง 8.การทาลายของสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง 9.การทาลายของเชื้อโรคและแมลง ต้นไม้ในป่าเป็นจานวนมากที่ถูกทาลายโดยเชื้อโรคและแมลง จะเกิดการเหี่ยวเฉาแคระแกร็นไม่เจริญเติบโต บางชนิดต้องสูญพันธุ์ 10.ความตระหนักและความร่วมมือของประชาชนต่อการอนุรักษ์ยังมีน้อย 2.2 เรื่องที่ 2 แนวทางในการรักษาทรัพยากรณ์ป่าไม้ 1.การกาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติ ซึ่งมีจานวน 20 ข้อกาหนด เพื่อให้ผู้คนในพื้นที่ได้รักษาทรัพยากรป่าไม้ให้อยู่กับธรรมชาติตลอดไป โดยมีพื้นที่ทั่วประเทศอย่างน้อยในอัตราร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ จะต้องมีแนวทางจัดการและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  • 4. 4 2.การปลูกป่า คือ การดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ ซึ่งสามารถนามาทดแทนป่าไม้ที่ถูกทาลายลงไปได้ ช่วยให้ป่าไม้ในเมืองมีมากขึ้นกว่าเดิม โดยเฉพาะพื้นที่สาคัญที่ไม่ค่อยมีต้นไม้ ป่าไม้คือชีวิตของมนุษย์ที่ต้องอยู่ร่วมกันเสมอ 3.การป้องกันไฟไหม้ป่า เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ป่าไม้ลดลงในประเทศไทย โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อน คนในพื้นที่จะต้องทาสวนทาไร่ และเผ่าป่า ควรจะต้องมีการช่วยกัน รณรงค์ ไม่ให้มีการเผ่าป่าไม้ การเผ่าป่ายังส่งผงกระทบมากมาย เช่น สภาพพื้นดิน มลพิษทางอากาศ เป็นต้น 4.การป้องกันอนุรักษ์ไม่ให้มนุษย์บุกรุกทาลายป่าไม้ เพื่อนาคนที่ทาผิดสาหรับการทาลายป่าไม้มาลงโทษ โดยการทาป้ายเตือน เจ้าหน้าที่รัฐจะต้องเอาจริงเอาจัง เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี เจ้าหน้าไม่ควรทาผิดเสียเอง ทาหน้าที่อย่างตรงไปตรงมา 5.การใช้วัสดุต่างๆมาทดแทนไม้ คือ หนทางหนึ่งที่สามารถช่วยให้ป่าไม้ในประเทศไทยมีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในอดีตคนจะสร้างบ้านด้วยไม้ซะเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบันสามารถทาบ้านด้วยเหล็กและปูน ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่าเสียอีก แต่สาหรับบางคนยังบุกรุกในเขตอนุรักษ์ป่าไม้อยู่ จึงไม่สมควรอย่างยิ่ง เพราะต้นไม้กว่าจะเติบโตมา ต้องใช้เวลาที่นานพอสมควร ควรช่วยกันสร้างบ้านเรือนหรือสิ่งก่อสร้างด้วยปูนเหล็กจะดีกว่า 6.การช่วยกันใช้ไม้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดที่สุด ในการสร้างบ้านจะต้องใช้ไม้อยู่บ้าง เราควรจะใช้อย่างประโยชน์และคุ้มค่ามากที่สุด เพื่อให้ป่าไม้มีเพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์ คิดไว้เสมอเลยว่า ถ้าขาดป่าไม้ไปมนุษย์เราคงอยู่ไม้ได้แน่ ต้องช่วยกันอนุรักษ์ให้มีป่าไม้อยู่บนโลกนี้มากๆ เพราะในปัจจุบันป่าไม้มีจานวนลงอย่างต่อเนื่อง 2.3 เรื่องที่ 3 การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับป่าไม้ ส่วนที่ 1 การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาในส่วนนี้เป็นข้อมูลจากแผนที่ และภาพถ่ายทางอากาศเป็นส่วนใหญ่ ในขึ้นตอนนี้จะเป็นการศึกษาเปรียบเทียบสภาพทางกายภาพในอดีตกับปัจจุบัน ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้างและเนื่องจากการศึกษาในลักษณะนี้ไม่สามารถทาการศึกษาจา กข้อมูลบันทึก หรือรายงานต่างๆ ได้อย่างละเอียดชัดเจน และการที่จะศึกษาโดยการสัมภาษณ์บุคคลก็ไม่สามารถให้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากระยะเวลาที่เข้ามาอยู่อาศัยในพื้นที่มีความแตกต่างกัน การศึกษาในส่วนนี้ จึงทาโดยการแปรข้อมูลจากภาพถ่ายทางอากาศและแผนที่แสดงสภาพภูมิประเทศ ลงบนแผนที่โป่งแสง ทั้งนี้โดยใช้ข้อมูล 3 ช่วง ปี คือ ข้อมูลปีปัจจุบัน (ล่าสุดเท่าที่จะหาได้) ข้อมูลย้อนหลังจากปีปัจจุบันไป 10 ปี และ 20 ปี ตามลาดับ ข้อมูลทั้ง 3 ชุด ที่ทาการแปรผลลงบนแผ่นที่โปร่งแสงแล้ว จะนามาทาการวิเคราะห์ร่วมกันโดยการใช้วิธีการซ้อนภาพ (Overlay Technigue) เพื่อวิเคราะห์ถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากนั้นจะใช้ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับปร ะวัติการตั้งถิ่นฐานและการประกอบอาชีพ มาวิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อหาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ส่วนที่ 2 ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้ดงกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
  • 5. 5 การศึกษาในส่วนนี้จะดาเนินการดังนี้ คือ ก. รวบรวมเอกสารต่างๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย บทความ ตาราทางวิชาการและข้อมูลสถิติอื่นๆ เพื่อเป็นแนวทางให้ทราบว่า มีปัจจัยอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม จากนั้น จะนาปัจจัยต่างๆ ที่พบมาเป็นแนวทางในการกาหนดตัวแปรที่จะใช้ในการศึกษาเพื่อที่จะทราบว่าในพื้นที่ศึกษามีปั จจัยอะไรบ้าง ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในพื้นที่ นอกจากนี้จะเป็นการศึกษาถึงนโยบายและแนวทางการพัฒนาทรัพยากรทั้งในระดับชาติ ระดับกระทรวง และระดับปฏิบัติการ ข. การสัมภาษณ์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล การสัมภาษณ์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ที่ปฉิบัติงนในพื้นที่ เป็นการสัมภาษณ์ถึงลักษณะงานที่ปฏิบัติ หน้าที่ที่รับผิดชอบ และปัญหาในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้น 2. สัมภาษณ์ประชากรที่อยู่อาศัยในเขตพื้นที่ การสัมภาษณ์ประชากรที่อยู่อาศัยในเขตพื้นที่ จะทาการสัมภาษณ์จากหัวหน้าครัวเรือนที่ตกเป็นตัวอย่าง ซึ่งมีจานวนทั้งสิ้น 171 ครัวเรือน โดยครัวเรือนตัวอย่างจานวน 171 ครัวเรือนนี้ ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง โดยวิธี Systematic Rardom Sampling โดยใช้จานวนครัวเรือนตัวอย่างร้อยละ 45 ของครัวเรือน ทั้งหมดในพื้นที่สารวจ ข้อมูลที่ทาการสัมภาษณ์จากประชากรตัวอย่างจะประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการตั้งถิ่นฐาน ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากรของครัวเรือน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา และความต้องการของประชากร ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ประชากร จะนามาทาการแปรรหัสข้อมูลและประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะแสดงผลในรูปของตารางแจกแจงความถี่ และตารางความสัมพันธ์ของตัวแปร รวมทั้งการวิเคราะห์ค่าทางสถิติต่างๆ การวิเคราะห์ข้อมูล 2.4 เรื่องที่ 4 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ 1. วิธีการสัมภาษณ์จากผู้ให้คาตอบโดยตรง (Personal interview หรือ Face to face interview) เป็นวิธีการที่ส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงานออกไปสัมภาษณ์ผู้ให้คาตอบ และบันทึกคาตอบลงในแบบข้อถาม วิธีนี้นิยมใช้กันมากในการทาสามะโนและสารวจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสภาพการณ์ของประเทศไทย เป็นวิธีการที่จะทาให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด พนักงานสัมภาษณ์สามารถชี้แจงหรืออธิบายให้ ผู้ตอบเข้าใจในคาถามได้ ทาให้ได้รับคาตอบตรงตามวัตถุประสงค์ แต่การที่จะให้ได้คาตอบที่ดี ก็ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ เช่น วิสัยสามารถของผู้ตอบที่จะเข้าใจคาถาม ความตั้งใจของผู้ตอบและความสุจริตใจที่จะให้คาตอบ ความสามารถของพนักงาน ที่จะสัมภาษณ์ได้อย่างละเอียดครบถ้วน และบันทึกคาตอบอย่างถูกต้อง และที่สาคัญที่สุดคือ ความซื่อสัตย์สุจริตของพนักงานสัมภาษณ์ที่จะไม่กรอกข้อมูลเอง ซึ่งในทางปฏิบัติก่อนที่จะส่งเจ้าหน้าที่หรือพนักงานออกไปปฏิบัติงาน จะต้องทาการอบรมชี้แจงให้เข้าใจถึงขั้นตอนการสัมภาษณ์ ตลอดจนวัตถุประสงค์ของโครงการ
  • 6. 6 คาจากัดความหรือความหมายของคาต่างๆ ที่ใช้ในแบบข้อถาม การกรอกแบบข้อถาม ซึ่งรายละเอียดต่างๆ เหล่านี้ ได้กาหนดไว้ในคู่มือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูล 2. วิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Enumeration by telephone) เป็นวิธีการที่อาจทาได้อย่างรวดเร็ว และทุ่นค่าใช้จ่าย เพราะไม่ต้องเดินทาง แต่มีขอบเขตจากัด คือใช้ได้เฉพาะผู้ที่มีโทรศัพท์เท่านั้น คาถามที่ถามจะต้องสั้นและเข้าใจง่าย วิธีนี้จึงใช้ในการเก็บรวบรวมที่รายการข้อถามไม่มากนัก ประมาณ 1 – 2 รายการ จึงมักใช้ร่วมกับวิธีอื่น หรือใช้ในการทวงถามใบแบบข้อถาม หรือสอบถามเพิ่มเติมเมื่อมีข้อสงสัย เกี่ยวกับคาตอบ หรือไม่ได้รับคาตอบในบางรายการ หรืออาจใช้ในการตรวจสอบการทางานของพนักงาน 3. วิธีการให้พนักงานไปทอดแบบไว้ให้ผู้ตอบกรอกข้อมูลเอง (Self enumeration) วิธีนี้พนักงานจะนาแบบข้อถามไปมอบไว้ให้กับผู้ตอบ โดยอธิบายถึงวิธีการกรอกเท่าที่จาเป็น ผู้ตอบจะต้องกรอกแบบ ข้อถามเอง พนักงานจะกลับไปรับแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วในวันที่กาหนด ในขณะเดียวกันพนักงานจะต้องทาการตรวจสอบความถูกต้อง และความครบถ้วนของข้อมูลที่กรอกแล้ว ถ้าผิดพลาดหรือ ไม่ครบถ้วนจะต้องสัมภาษณ์เพิ่มเติม วิธีนี้เหมาะที่จะใช้กับผู้ที่ มีการศึกษาพอที่จะอ่าน เขียน เข้าใจคาถามได้ สาหรับประเทศไทยระดับการศึกษาและการให้ความร่วมมือของประชากรยังแตกต่างกันมาก ฉะนั้นจึงเหมาะสมที่จะใช้กับงานบางโครงการเท่านั้น แบบข้อถามที่จะใช้วิธีนี้จะต้องมีคาถามที่เข้าใจง่าย มีคาอธิบายอย่างชัดเจน และการกรอกแบบข้อถามต้องไม่ยุ่งยาก 4. วิธีการส่งแบบข้อถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ (Mailed questionnaire) เป็นวิธีที่ส่งแบบข้อถาม ให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ และให้ผู้ตอบส่งแบบข้อถามที่กรอกข้อมูลแล้วกลับคืนมาทางไปรษณีย์เช่นเดียวกัน วิธีนี้คล้ายกับการทอดแบบ แต่ต่างกันตรงที่ส่งแบบทางไปรษณีย์ เป็นวิธีการที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด เพราะเสียเพียงค่าแสตมป์แทนค่าใช้จ่ายของพนักงานสนาม โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้ที่จะให้คาตอบอยู่กระจัดกระจายกันมาก ซึ่งไม่อยู่ในวิสัยที่จะส่งพนักงานสนามไปทาการสัมภาษณ์ได้ ในกรณีที่ผู้ตอบเห็นความสาคัญของข้อมูล ข้อมูลที่ได้อาจมีคุณภาพดีกว่าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เพราะผู้ตอบมีเวลาคิด ก่อนตอบ และไม่ต้องตอบภายใต้สภาวะการณ์เร่งรีบของพนักงานสัมภาษณ์ แต่วิธีนี้ก็มีข้อเสียที่มักจะมีอัตราการไม่ตอบ (non-response rate) สูง วิธีนี้มีข้อจากัดในการใช้คือ • แบบต้องไม่ยากและไม่ยาวเกินไป • ใช้ในประเทศที่มีบริการไปรษณีย์ดี • ผู้ตอบต้องสามารถอ่านคาถาม และข้อสั่งชี้แจงได้เข้าใจ • ต้องใช้เวลาคอยจนกว่าจะได้รับแบบครบจานวนที่ต้องการ และบางทีต้องมีการทวงถามหลายครั้ง
  • 7. 7 • ถ้าคาตอบไม่ชัดเจน ต้องเสียเวลาถามซ้าโดยวิธีการอื่น 5. วิธีการสังเกตการณ์ (Observation) เป็นวิธีเก็บข้อมูลโดยการสังเกตโดยตรงจากปฏิกิริยา ท่าทาง หรือเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นในขณะใดขณะหนึ่ง และจดบันทึกไว้โดยไม่มีการสัมภาษณ์ วิธีนี้ใช้กันอย่างกว้างขวางในการวิจัย เช่น จะศึกษาดูปฏิกิริยาของผู้ขับรถยนต์บนท้องถนนภายใต้ สภาพการณ์จราจรต่าง ๆ กัน ก็อาจจะส่งเจ้าหน้าที่ไปยืนสังเกตการณ์ได้ การสังเกตจานวนลูกค้าและบันทึกปริมาณการขายของสถานประกอบการ โดยพนักงานเก็บภาษีของกรมสรรพากร เพราะการไปสัมภาษณ์ผู้ประกอบการถึงปริมาณการขาย ย่อมไม่ได้ข้อมูลที่แท้จริง 6. วิธีการบันทึกข้อมูลจากการวัดหรือนับ วิธีนี้จะมีอุปกรณ์เพื่อใช้ในการวัดหรือนับตามความจาเป็ นและความเหมาะสม เช่น การนับจานวนรถยนต์ที่แล่นผ่านที่จุดใดจุดหนึ่ง ก็อาจใช้เครื่องนับโดยให้รถ แล่นผ่านเครื่องดังกล่าว หรือ การเก็บข้อมูลด้วยการวัด เช่น การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับขนาดของ แปลงเพาะปลูก พืช ทาได้โดยการวัดความยาวของแต่ละด้าน เพื่อคานวณหาพื้นที่ตามหลักเกณฑ์การหาพื้นที่ เป็นต้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ในการจัดสร้าง โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มีแผนการสร้างดังนี้ 1. การวิเคราะห์ปัญหา 1.สาเหตุการลดลงของป่าไม้ - มนุษย์นาต้นไม้ไปสร้างที่อยู่อาศัย - การบุกลุกพื้นที่ป่าเพื่อทาการเกษตร - การขยายพื้นที่การเกษตร - การสร้างสาธารณูปโภคของภาครัฐ เช่นการสร้างเขื่อน อ่างกักเก็บน้า การทา เส้นทางคมนาคม - ไฟไหม้ป่า - การทาเหมืองแร่ 2. หาปัญหาที่เกิดขึ้นจากสาเหตุการลดลงของป่าไม้ - วิกฤตการณ์ภาวะโลกร้อน - สัตว์ป่าลดลงเพราะไม่มี่ที่อยู่อาศัย - มลพิษทางอากาศมากขึ้น - ภัยทางธรรมชาติ เช่น การเกิดวิกฤตการณ์น้าท่วม ทาให้ฝนไม่ตกตามฤดูกาล เกิดวิกฤตการณ์ภัยแล้ง - การพังทลายของภูเขา 2. หาวิธีการแก้ปัญหาการลดลงของป่าไม้ - ไม่ตัดไม้ทาลายป่า
  • 8. 8 - ไม่บุกลุกพื้นที่ป่า - ไม่ทาไร่เลื่อนลอย 3. หาแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน - ปลูกต้นไม้เพื่อทดแทนต้นไม้ที่ถูกทาลาย - จัดสรรการใช้พื้นที่ทากิน - การไม่ตัดไม้ทาลายป่า - ไม่เผาป่า - รณรงค์ให้ประชาชนรักและห่วงแหนป่าไม้ - ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. อินเตอร์เน็ต 3. สมาร์ทโฟน งบประมาณ ค่าอินเทอร์เน็ตเฉลี่ย ชั่วโมงละ 5 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / พิมพ์สุชา, เมรินทร์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / พิมพ์สุชา 3 จัดทาโครงร่างงาน / / เมรินทร์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงา น / / / / พิมพ์สุชา, เมรินทร์ 5 ปรับปรุงทดสอบ / / พิมพ์สุชา 6 การทาเอกสารรายงาน / / เมรินทร์ 7 ประเมินผลงาน / พิมพ์สุชา, เมรินทร์ 8 นาเสนอโครงงาน / พิมพ์สุชา, เมรินทร์
  • 9. 9 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้โครงงานการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ที่มีคุณภาพ มีประโยชน์กับบุคคลทั่วไปสามารถนาความรู้ที่ได้ปรับใช้กับชีวิตประจาวัน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ - กลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - เว็บไซต์ของกรมอนุรักษ์ป่าไม้ - เว็บไซต์เกี่ยวกับการทาโครงงาน - ฐานข้อมูลงานวิจัยกลุ่มงานท้องถิ่นและภูมิภาคการศึกษา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่