SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน Water therapy
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว ธันย์ชนก กุออ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1น.ส.ธันย์ชนก กุออ เลขที่ 20 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
น้าบาบัด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Water Therapy
ประเภทโครงงาน การศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ธันย์ชนก กุออ
ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคเรียน_
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากให้ปัจจุบันประเทศมีผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น และการที่เรามีผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ผู้ป่วยพาร์
กินสัน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยโรคไขข้อต่างๆ รวมถึงผู้ป่วยที่มีปัญหาในระบบกล้ามเนื้อและ
กระดูกสันหลังอีกด้วย นอกจากนี้เนื่องจากสภาวะการใช้ชีวิตประจาวันของผู้คนในปัจจุบันมีความตึงเครียดสูง มี
การใช้งานกล้ามเนื้อที่ไม่ถูกวิธี รวมถึงน้าหนักตัวที่มากเกิน โดยผู้สูงอายุและผู้ป่วยเหล่านี้จะต้องได้รับการบาบัด
ออกกาลัง แต่เนื่องจากการที่ออกกาลังที่มากจนเกินไป และการที่ออกแรงมากอาจทาให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยได้รับ
บาดเจ็บเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นสิ่งที่จะคอยช่วยในการพยุงร่างกายทาให้ไม่ต้องรับน้าหนักมาก ก็คือ “น้า” โดยเราจะ
ใช้สมบัติความหนาแน่นของน้าช่วยในการพยุงรองรับทุกส่วนของร่างกาย ทาให้สามารถเคลื่อนไหวได้อิสระและ
ง่ายขึ้น ช่วยลดแรงกระแทกและช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในขณะฝึกและออกกาลัง รวมทั้งใช้อุณหภูมิของน้าใน
การช่วยบาบัดอาการต่างๆได้อีกด้วย ซึ่งการบาบัดหรือรักษาด้วยน้าเป็นที่รู้จักในชื่อของ “ธาราบาบัด” ดังนั้น
ทางผู้จัดทาจึงต้องการที่จะศึกษาคุณสมบัติของน้า การใช้ประโยชน์จากน้า รวมทั้งวิธีการออกกาลังในน้าอย่าง
ถูกต้องและปลอดภัยเพื่อให้ผู้ที่เข้ามาศึกษาได้นาความรู้ที่ทางผู้จัดทาไปปรับใช้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ทราบถึงคุณประโยชน์ของน้า
2.เพื่อให้ทราบถึงหลักการทางานของร่างกาย
3.เพื่อให้ผู้ที่เกิดประโยชน์จากการนาทฤษฎีไปใช้
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.คุณประโยชน์ของน้า
2.การบาดเจ็บของร่างกายที่สามารถบาบัดด้วยน้าได้
3.ประโยชน์ธาราบาบัด
4.ข้อแนะนาก่อนการใช่ธาราบาบัด
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การออกกาลังกายในน้ามีอยู่หลายวิธีเช่น การว่ายน้า ,การเดินหรือการวิ่งในน้า ,การเต้น Aerobic ในน้า หรือ
ธาราบาบัด ในวันนี้เราจะมาทาความรู้จักการออกกาลังกายในน้าที่มุ่งเน้นในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บปวดกล้ามเนื้อ
และข้อต่อในส่วนต่างๆ รวมทั้งป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาท กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเรียกการออกกาลังกาย
ประเภทนี้ว่า “ธาราบาบัด”
วิธีออกกาลังกายในน้ามีอะไรบ้าง
- การเดินหรือการวิ่งในน้า น้าในระดับเอวหรือระดับหน้าอกจะช่วงพยุงน้าหนักของร่างกาย ที่กดลงบนเข่าเมื่ออก
กาลังจะทาให้มีอาการปวดเข่า หรือข้ออักเสบน้อยกว่าการวิ่งบนบก นอกจากนั้นแรงต้านของน้าจะทาให้กล้ามเนื้อ
แข็งแรง และใช้พลังงานมากกว่าการเดินบนบก
- การเต้น Aerobic ในน้า( Water aerobics ) เพียงครั้งละ 20 นาทีก็สามารถทาให้หัวใจแข็งแรง
4
- การเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ( Water toning/strengthening training) โดยการเคลื่อนไหวร่างกายต้าน
กระแสน้า หรืออุปกรณ์เพื่อเพิ่มกาลังของกล้ามเนื้อ และทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
- การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อ( Flexibility training)เพื่อให้ได้มีการเคลื่อนไหวได้อย่างเต็มที่
- ธาราบาบัด(Water therapy and rehabilitation) ใช้ในการบาบัดทางการแพทย์เช่นการฝึกเดิน การลดอาการปวด
- การทาโยคะในน้า (Water yoga and relaxation ) เป็นการฝึกโยคะในน้าเพื่อการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และประคอง
การทรงตัว
- การออกกาลังในน้าลึก( Deep-water exercise) เป็นการออกกาลังในน้าลึกโดยที่เท้าไม่สัมผัสพื้น โดยใช้อุปกรณ์
ช่วยลอยตัว
- การวิ่งในน้าลึก(Deep-water jogging/ running ) เหมือนกับการวิ่งบนบก แต่เท้าไม่สัมผัสพื้นโดยใช้อุปกรณ์ช่วย
ลอยตัว
- การออกกาลังโดยใช้กาแพง( Wall exercises)
- การว่ายน้า
ทาไมต้องออกกาลังในน้า
•กระแสน้าอุ่นจะช่วยลดอาการปวด และอาการข้อติด
•กระแสน้าอุ่นจะช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
•น้าจะช่วยลดแรงกระแทกข้อจากการออกกาลัง ทาให้ลดการเสื่อมของข้อ
•แรงต้านของน้าจะทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
5
•กระแสน้าจะช่วยนวดให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย
ธาราบาบัด คือการออกกาลังกายในน้าซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาทางกายภาพบาบัดโดยใช้น้าเป็นสื่อ
หรือตัวกลางในการรักษา โดยอาศัยคุณสมบัติของน้า ช่วยพยุงรองรับทุกส่วนของร่างกาย ทาให้สามารถเคลื่อนไหว
ได้อิสระและง่ายขึ้น ช่วยลดแรงกระแทก และช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในขณะฝึกและออกกาลังในน้า ธาราบาบัด
ทางกายภาพบาบัดนั้นเหมาะสาหรับ
1. ผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อหรือข้อต่อเรื้อรัง ส่งผลให้กาลังกล้ามเนื้อลดลงไม่สามารถกลับไป
ใช้งานได้อย่างปกติเป็นเหตุให้กลับมามีอาการอย่างเดิม การทาธาราบาบัดจะมีการออกแบบท่าออกกาลัง
กายให้เหมะสมกับส่วนที่มีปัญหาและเพิ่มกาลังกล้ามเนื้อที่หายไปเพื่อให้สามารถกลับไปใช้ชีวิตประจาวัน
ได้ทั้งนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นการรักษาอย่างหยั่งยืน เช่นผู้ป่วยที่มีอาการไหล่ติดเมื่อได้ทากายภาพบาบัดจน
ไหล่ที่ติดสามารถยกได้เกือบปกติแล้ว กาลังกล้ามเนื้ออาจยังไม่พร้อมที่จะกลับไปใช้งาน ธาราบาบัดจะ
ช่วยให้ผู้ป่วยมีกาลังเพียงพอและช่วยให้มุมของข้อต่อช่วงสุดท้ายเพิ่มจนกลับมาปกติได้โดยอาศัย
คุณสมบัติของน้า
2. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว เช่นเดินเซ ก้าวสั้น หรือเดินหลังค่อม ปัญหาเหล่านี้สามารถ
บรรเทาได้ด้วยการออกกาลังกาย ข้อแตกต่างของการออกกาลังกายปกติกับการทาธาราบาบัดคือ น้าจะเป็น
ตัวช่วยพยุงรอบตัวเพื่อให้ง่ายต่อการฝึกเดินหรือออกกาลังกายในท่าต่างๆโดยที่ท่าเหล่านี้อาจทาได้ลาบาก
ถ้าทาบนบก
3. ผู้ป่วยกระดูกหัก หลังผ่าตัดหรือหลังถอดเฝือกโดยเฉพาะในส่วนกระดูกสันหลังและกระดูกขา
การเริ่มฝึกเคลื่อนไหวให้กลับมาเป็นปกติจะมีข้อจากัดคือความเจ็บแผลผ่าตัดและข้อต่อที่ยึดติดทาให้ยาก
ต่อการฝึกฝน ธาราบาบัดจะมีส่วนช่วยในการพยุงเพื่อให้ง่ายต่อการเคลื่อนไหวและลดความเจ็บปวด
กล้ามเนื้อ มีผลทางด้านจิตใจคือช่วยลดความกลัวที่จะลงน้าหนักได้อย่างปกติ
4. ผู้ป่วยที่มีปัญหากล้ามเนื้ออ่อนแรง จากโรคอัมพฤกษ์หรืออัมพาต โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อทั้ง
เฉียบพลันและเรื้อรังต่างๆ การฝึกการเคลื่อนไหวในน้าจะช่วยให้ง่ายต่อการทรงตัว
5. นอกจากผู้ป่วยแล้วบุคคลปกติที่มีปัญหาเรื่อง น้าหนักตัว ความเครียด กล้ามเนื้อตึงจากการใช้งาน
ไม่ถูกวิธีและมากเกินไป การทาธาราบาบัดก็สามารถแก้ปัญหาในส่วนนี้ได้
กล่าวโดยสรุปคือประโยชน์ของธาราบาบัด คือช่วยลดแรงกระแทกของการออกกาลังกาย, แรงต้านของน้า
จะทาให้ต้องออกแรงมากทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น, ทาให้ข้อมีการเคลื่อนไหวดีขึ้น, การทรงตัวดีขึ้น ,ใช้
เป็นส่วนหนึ่งในการลดน้าหนัก และช่วยผ่อนคลายลดความเครียดอีกด้วย แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะ
เหนื่อยง่ายหรือมีความเจ็บปวดที่รุนแรงควรจะอยู่ในความดูแลของแพทย์หรือนักกายภาพบาบัด เพื่อ
ประโยชน์สูงสุดแก่ตัวผู้ป่วยเอง
6
ประโยชน์ของธาราบาบัด
◦ลดแรงกระแทกที่ข้อต่อและกล้ามเนื้อของร่างกาย ทาให้ไม่เจ็บปวดมาก
◦กระแสน้าอุ่นจะช่วยลดอาการปวดและทาให้เนื้อเยื่ออ่อนนุ่มเป็นการป้องกันข้อติด
◦กระแสน้าจะช่วยนวดให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย
◦กระแสน้าอุ่นจะเพิ่มการไหลเวียนเลือด
◦แรงต้านทานของน้าทาให้ต้องออกแรงมาก ทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
ข้อแนะนาสาหรับการออกกาลังในสระน้า
 ท่านต้องปรึกษาแพทย์ของท่านก่อนที่จะใช้น้าร้อนในการออกกาลังกาย
 น้าที่ใช้ควรมีอุณหภูมิระหว่าง 83 ถึง 88 F
 น้าที่ใช้สาหรับแช่ควรจะมีอุณหภูมิ 98ถึง 104 Fและแช่เป็นเวลา 10-15 นาที
 ควรจะเริ่มที่อุณหภูมิไม่สูงก่อน และค่อยเพิ่ม
 เด็กและผู้สูงอายุอาจจะเกิดปัญหาเรื่องอุณหภูมิในร่างกายสูงไป ต้องระวัง
 สาหรับผู้สูงอายุ หรือมีข้ออักเสบ จะต้องมีคนคอยช่วยเหลือ เวลาขึ้นหรือลงจากสระหรืออ่าง
 สาหรับผู้ที่มีโรคประจาตัว เช่นเบาหวาน โรคหัวใจ โรคปอด ต้องปรึกษาแพทย์ก่อน
 ควรตรวจอุณหภูมิของน้าก่อน และระหว่างอยู่ในน้า
 ไม่ควรใช้น้าร้อนหลังจากดื่มสุรา เพราะอาจจะทาให้ท่านหมดสติ
 คนท้องไม่ควรแช่น้าร้อน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ปรึกษาเลือกหัวข้อ
2.นาเสนอกับครูผู้สอน
3.ศึกษารวบรวมข้อมูล
4.จัดทารายงาน
5.นาเสนอครู
6.ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.อินเทอร์เน็ต
2.หนังสือที่เกี่ยวข้อง
3.ผู้รู้
4.คอมพิวเตอร์
5.โทรศัพท์
งบประมาณ
100 บาท
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีการนาความรู้ไปใช้ได้จริง
2.มีการนาความรู้ไปต่อยอดได้
3.ผู้ที่ปฏิบัติหายจากอาการป่วย
สถานที่ดาเนินการ
1.บ้าน
2.โรงเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.การงานและเทคโนโลยี
2.สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.pt.mahidol.ac.th/knowledge/?p=62
https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/aquatherapy
https://www.siamhealth.net/public_html/Health/good_health_living/exercise/waterexer.htm

More Related Content

What's hot

โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
Krittachok
KrittachokKrittachok
Krittachokisaka123
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)2_PiR
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนDp' Warissara
 
โครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนโครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนmsntomon2
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2bank2808
 

What's hot (20)

Com
ComCom
Com
 
Comm
CommComm
Comm
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
Krittachok
KrittachokKrittachok
Krittachok
 
Workk5
Workk5Workk5
Workk5
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
Work
WorkWork
Work
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
605 15projectcom
605 15projectcom605 15projectcom
605 15projectcom
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียน
 
โครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนโครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยน
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
Chutimon-com-project
Chutimon-com-projectChutimon-com-project
Chutimon-com-project
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 

Similar to Thanchanok20 (20)

Project1
Project1Project1
Project1
 
switta
swittaswitta
switta
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
โครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอมโครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอม
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
Com123456
Com123456Com123456
Com123456
 
Natchalida
NatchalidaNatchalida
Natchalida
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project 04
2561 project 042561 project 04
2561 project 04
 
2561 project -pachara
2561 project -pachara2561 project -pachara
2561 project -pachara
 
Rt
RtRt
Rt
 
Workk
WorkkWorkk
Workk
 
คอลลาเจนฟรุ้งฟริ้ง
คอลลาเจนฟรุ้งฟริ้งคอลลาเจนฟรุ้งฟริ้ง
คอลลาเจนฟรุ้งฟริ้ง
 
war2
war2war2
war2
 
Yuu
YuuYuu
Yuu
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวก
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 

More from asirwa04

Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesasirwa04
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16asirwa04
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathidaasirwa04
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 

More from asirwa04 (6)

Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work 2
Work 2Work 2
Work 2
 

Thanchanok20

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน Water therapy ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว ธันย์ชนก กุออ เลขที่ 20 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1น.ส.ธันย์ชนก กุออ เลขที่ 20 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) น้าบาบัด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Water Therapy ประเภทโครงงาน การศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ธันย์ชนก กุออ ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ภาคเรียน_ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากให้ปัจจุบันประเทศมีผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น และการที่เรามีผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ผู้ป่วยพาร์ กินสัน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยโรคไขข้อต่างๆ รวมถึงผู้ป่วยที่มีปัญหาในระบบกล้ามเนื้อและ กระดูกสันหลังอีกด้วย นอกจากนี้เนื่องจากสภาวะการใช้ชีวิตประจาวันของผู้คนในปัจจุบันมีความตึงเครียดสูง มี การใช้งานกล้ามเนื้อที่ไม่ถูกวิธี รวมถึงน้าหนักตัวที่มากเกิน โดยผู้สูงอายุและผู้ป่วยเหล่านี้จะต้องได้รับการบาบัด ออกกาลัง แต่เนื่องจากการที่ออกกาลังที่มากจนเกินไป และการที่ออกแรงมากอาจทาให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยได้รับ บาดเจ็บเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นสิ่งที่จะคอยช่วยในการพยุงร่างกายทาให้ไม่ต้องรับน้าหนักมาก ก็คือ “น้า” โดยเราจะ ใช้สมบัติความหนาแน่นของน้าช่วยในการพยุงรองรับทุกส่วนของร่างกาย ทาให้สามารถเคลื่อนไหวได้อิสระและ ง่ายขึ้น ช่วยลดแรงกระแทกและช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในขณะฝึกและออกกาลัง รวมทั้งใช้อุณหภูมิของน้าใน การช่วยบาบัดอาการต่างๆได้อีกด้วย ซึ่งการบาบัดหรือรักษาด้วยน้าเป็นที่รู้จักในชื่อของ “ธาราบาบัด” ดังนั้น ทางผู้จัดทาจึงต้องการที่จะศึกษาคุณสมบัติของน้า การใช้ประโยชน์จากน้า รวมทั้งวิธีการออกกาลังในน้าอย่าง ถูกต้องและปลอดภัยเพื่อให้ผู้ที่เข้ามาศึกษาได้นาความรู้ที่ทางผู้จัดทาไปปรับใช้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ทราบถึงคุณประโยชน์ของน้า 2.เพื่อให้ทราบถึงหลักการทางานของร่างกาย 3.เพื่อให้ผู้ที่เกิดประโยชน์จากการนาทฤษฎีไปใช้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.คุณประโยชน์ของน้า 2.การบาดเจ็บของร่างกายที่สามารถบาบัดด้วยน้าได้ 3.ประโยชน์ธาราบาบัด 4.ข้อแนะนาก่อนการใช่ธาราบาบัด หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การออกกาลังกายในน้ามีอยู่หลายวิธีเช่น การว่ายน้า ,การเดินหรือการวิ่งในน้า ,การเต้น Aerobic ในน้า หรือ ธาราบาบัด ในวันนี้เราจะมาทาความรู้จักการออกกาลังกายในน้าที่มุ่งเน้นในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บปวดกล้ามเนื้อ และข้อต่อในส่วนต่างๆ รวมทั้งป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาท กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเรียกการออกกาลังกาย ประเภทนี้ว่า “ธาราบาบัด” วิธีออกกาลังกายในน้ามีอะไรบ้าง - การเดินหรือการวิ่งในน้า น้าในระดับเอวหรือระดับหน้าอกจะช่วงพยุงน้าหนักของร่างกาย ที่กดลงบนเข่าเมื่ออก กาลังจะทาให้มีอาการปวดเข่า หรือข้ออักเสบน้อยกว่าการวิ่งบนบก นอกจากนั้นแรงต้านของน้าจะทาให้กล้ามเนื้อ แข็งแรง และใช้พลังงานมากกว่าการเดินบนบก - การเต้น Aerobic ในน้า( Water aerobics ) เพียงครั้งละ 20 นาทีก็สามารถทาให้หัวใจแข็งแรง
  • 4. 4 - การเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ( Water toning/strengthening training) โดยการเคลื่อนไหวร่างกายต้าน กระแสน้า หรืออุปกรณ์เพื่อเพิ่มกาลังของกล้ามเนื้อ และทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น - การฝึกการเคลื่อนไหวของข้อ( Flexibility training)เพื่อให้ได้มีการเคลื่อนไหวได้อย่างเต็มที่ - ธาราบาบัด(Water therapy and rehabilitation) ใช้ในการบาบัดทางการแพทย์เช่นการฝึกเดิน การลดอาการปวด - การทาโยคะในน้า (Water yoga and relaxation ) เป็นการฝึกโยคะในน้าเพื่อการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และประคอง การทรงตัว - การออกกาลังในน้าลึก( Deep-water exercise) เป็นการออกกาลังในน้าลึกโดยที่เท้าไม่สัมผัสพื้น โดยใช้อุปกรณ์ ช่วยลอยตัว - การวิ่งในน้าลึก(Deep-water jogging/ running ) เหมือนกับการวิ่งบนบก แต่เท้าไม่สัมผัสพื้นโดยใช้อุปกรณ์ช่วย ลอยตัว - การออกกาลังโดยใช้กาแพง( Wall exercises) - การว่ายน้า ทาไมต้องออกกาลังในน้า •กระแสน้าอุ่นจะช่วยลดอาการปวด และอาการข้อติด •กระแสน้าอุ่นจะช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด •น้าจะช่วยลดแรงกระแทกข้อจากการออกกาลัง ทาให้ลดการเสื่อมของข้อ •แรงต้านของน้าจะทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น
  • 5. 5 •กระแสน้าจะช่วยนวดให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ธาราบาบัด คือการออกกาลังกายในน้าซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาทางกายภาพบาบัดโดยใช้น้าเป็นสื่อ หรือตัวกลางในการรักษา โดยอาศัยคุณสมบัติของน้า ช่วยพยุงรองรับทุกส่วนของร่างกาย ทาให้สามารถเคลื่อนไหว ได้อิสระและง่ายขึ้น ช่วยลดแรงกระแทก และช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในขณะฝึกและออกกาลังในน้า ธาราบาบัด ทางกายภาพบาบัดนั้นเหมาะสาหรับ 1. ผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อหรือข้อต่อเรื้อรัง ส่งผลให้กาลังกล้ามเนื้อลดลงไม่สามารถกลับไป ใช้งานได้อย่างปกติเป็นเหตุให้กลับมามีอาการอย่างเดิม การทาธาราบาบัดจะมีการออกแบบท่าออกกาลัง กายให้เหมะสมกับส่วนที่มีปัญหาและเพิ่มกาลังกล้ามเนื้อที่หายไปเพื่อให้สามารถกลับไปใช้ชีวิตประจาวัน ได้ทั้งนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นการรักษาอย่างหยั่งยืน เช่นผู้ป่วยที่มีอาการไหล่ติดเมื่อได้ทากายภาพบาบัดจน ไหล่ที่ติดสามารถยกได้เกือบปกติแล้ว กาลังกล้ามเนื้ออาจยังไม่พร้อมที่จะกลับไปใช้งาน ธาราบาบัดจะ ช่วยให้ผู้ป่วยมีกาลังเพียงพอและช่วยให้มุมของข้อต่อช่วงสุดท้ายเพิ่มจนกลับมาปกติได้โดยอาศัย คุณสมบัติของน้า 2. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว เช่นเดินเซ ก้าวสั้น หรือเดินหลังค่อม ปัญหาเหล่านี้สามารถ บรรเทาได้ด้วยการออกกาลังกาย ข้อแตกต่างของการออกกาลังกายปกติกับการทาธาราบาบัดคือ น้าจะเป็น ตัวช่วยพยุงรอบตัวเพื่อให้ง่ายต่อการฝึกเดินหรือออกกาลังกายในท่าต่างๆโดยที่ท่าเหล่านี้อาจทาได้ลาบาก ถ้าทาบนบก 3. ผู้ป่วยกระดูกหัก หลังผ่าตัดหรือหลังถอดเฝือกโดยเฉพาะในส่วนกระดูกสันหลังและกระดูกขา การเริ่มฝึกเคลื่อนไหวให้กลับมาเป็นปกติจะมีข้อจากัดคือความเจ็บแผลผ่าตัดและข้อต่อที่ยึดติดทาให้ยาก ต่อการฝึกฝน ธาราบาบัดจะมีส่วนช่วยในการพยุงเพื่อให้ง่ายต่อการเคลื่อนไหวและลดความเจ็บปวด กล้ามเนื้อ มีผลทางด้านจิตใจคือช่วยลดความกลัวที่จะลงน้าหนักได้อย่างปกติ 4. ผู้ป่วยที่มีปัญหากล้ามเนื้ออ่อนแรง จากโรคอัมพฤกษ์หรืออัมพาต โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อทั้ง เฉียบพลันและเรื้อรังต่างๆ การฝึกการเคลื่อนไหวในน้าจะช่วยให้ง่ายต่อการทรงตัว 5. นอกจากผู้ป่วยแล้วบุคคลปกติที่มีปัญหาเรื่อง น้าหนักตัว ความเครียด กล้ามเนื้อตึงจากการใช้งาน ไม่ถูกวิธีและมากเกินไป การทาธาราบาบัดก็สามารถแก้ปัญหาในส่วนนี้ได้ กล่าวโดยสรุปคือประโยชน์ของธาราบาบัด คือช่วยลดแรงกระแทกของการออกกาลังกาย, แรงต้านของน้า จะทาให้ต้องออกแรงมากทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น, ทาให้ข้อมีการเคลื่อนไหวดีขึ้น, การทรงตัวดีขึ้น ,ใช้ เป็นส่วนหนึ่งในการลดน้าหนัก และช่วยผ่อนคลายลดความเครียดอีกด้วย แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะ เหนื่อยง่ายหรือมีความเจ็บปวดที่รุนแรงควรจะอยู่ในความดูแลของแพทย์หรือนักกายภาพบาบัด เพื่อ ประโยชน์สูงสุดแก่ตัวผู้ป่วยเอง
  • 6. 6 ประโยชน์ของธาราบาบัด ◦ลดแรงกระแทกที่ข้อต่อและกล้ามเนื้อของร่างกาย ทาให้ไม่เจ็บปวดมาก ◦กระแสน้าอุ่นจะช่วยลดอาการปวดและทาให้เนื้อเยื่ออ่อนนุ่มเป็นการป้องกันข้อติด ◦กระแสน้าจะช่วยนวดให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ◦กระแสน้าอุ่นจะเพิ่มการไหลเวียนเลือด ◦แรงต้านทานของน้าทาให้ต้องออกแรงมาก ทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น ข้อแนะนาสาหรับการออกกาลังในสระน้า  ท่านต้องปรึกษาแพทย์ของท่านก่อนที่จะใช้น้าร้อนในการออกกาลังกาย  น้าที่ใช้ควรมีอุณหภูมิระหว่าง 83 ถึง 88 F  น้าที่ใช้สาหรับแช่ควรจะมีอุณหภูมิ 98ถึง 104 Fและแช่เป็นเวลา 10-15 นาที  ควรจะเริ่มที่อุณหภูมิไม่สูงก่อน และค่อยเพิ่ม  เด็กและผู้สูงอายุอาจจะเกิดปัญหาเรื่องอุณหภูมิในร่างกายสูงไป ต้องระวัง  สาหรับผู้สูงอายุ หรือมีข้ออักเสบ จะต้องมีคนคอยช่วยเหลือ เวลาขึ้นหรือลงจากสระหรืออ่าง  สาหรับผู้ที่มีโรคประจาตัว เช่นเบาหวาน โรคหัวใจ โรคปอด ต้องปรึกษาแพทย์ก่อน  ควรตรวจอุณหภูมิของน้าก่อน และระหว่างอยู่ในน้า  ไม่ควรใช้น้าร้อนหลังจากดื่มสุรา เพราะอาจจะทาให้ท่านหมดสติ  คนท้องไม่ควรแช่น้าร้อน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ปรึกษาเลือกหัวข้อ 2.นาเสนอกับครูผู้สอน 3.ศึกษารวบรวมข้อมูล 4.จัดทารายงาน 5.นาเสนอครู 6.ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.อินเทอร์เน็ต 2.หนังสือที่เกี่ยวข้อง 3.ผู้รู้ 4.คอมพิวเตอร์ 5.โทรศัพท์ งบประมาณ 100 บาท
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีการนาความรู้ไปใช้ได้จริง 2.มีการนาความรู้ไปต่อยอดได้ 3.ผู้ที่ปฏิบัติหายจากอาการป่วย สถานที่ดาเนินการ 1.บ้าน 2.โรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.การงานและเทคโนโลยี 2.สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.pt.mahidol.ac.th/knowledge/?p=62 https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/aquatherapy https://www.siamhealth.net/public_html/Health/good_health_living/exercise/waterexer.htm