SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ยุงน่ากลัวกว่าเสือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายธนนันท์ เชาว์ดี เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ยุงน่ากลัวกว่าเสือ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Mosquitoes are more dangerous than tigers
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสือเพื่อการศีกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน ธนนันท์ เชาว์ดี
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในประเทศไทย ปี 2553 ที่ผ่านมา มีผู้ป่วยมาลาเรียทั้งหมด 45,629 ราย เป็นชาวไทย18,371 ราย และ
ต่างชาติ 27,257 ราย จังหวัดที่พบผู้ป่วยมากที่สุด คือ ตาก ที่พบรองๆลงไป เช่น แม่ฮ่องสอน เชียงราย
กาญจนบุรี เพชรบุรี ตราด ระนอง ชุมพร พังงา ยะลา นราธิวาส สง ขลา และประจวบคีรีขันธ์ ส่วนจังหวัดอื่นๆ
พบได้น้อย และยังไม่พบการระบาดในกรุงเทพฯ
ให้โครงงานนี้เป็นความรู้ แก่ทุกคนเผื่อรู้ในวิธีการป้องกัน ไม่ให้มันระบาดไปมากกว่านี้
รู้อย่างนี้แล้วต้องรีบศีกษาก่อนที่มันจะระบาดไปมากว่านี้ ทาให้เราเสียประชากร เสียกาลังพลในการ
พัฒนาประเทศชาติ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกให้ลดน้อยลง
2.เผื่อให้ผู้ที่ยังไม่มีความรู้ได้ศึกษาป้องกันก่อนได้
3.เผื่อทราบสาเหตุและอาการของผู้ป่วย
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
กลุ่มในช่วงมัธยมศึกษาปีที่1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่6
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1. การควบคุมโดยวิธีชีววิทยา (Biological Control) การนาสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติมาควบคุมยุงพาหะให้ได้ผล
นั้น ต้องมีปริมาณมากพอที่จะควบคุมประชากรยุงได้ เช่น การใช้ปลากินลูกน้า ตัวห้า เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว
เป็นต้น
2. การควบคุมโดยใช้สารเคมี (Chemical Control) การใช้มาตรการควบคุมโดยใช้วัตถุอันตราย เช่น การใช้
สาร ไพรีทรอยด์สังเคราะห์สารสกัดจากธรรมชาติ สารออร์กาโนคลอรีน สารออร์กาโนฟอสเฟต สารคาร์บาร์เมต
การใช้มาตรการควบคุมโดยใช้วัตถุอันตรายนี้ จะต้องมีการว่างแผนอย่างรัดกุมโดยอาศัยความรู้ทางชีวนิสัยของ
ยุง พาหะ ระบาดวิทยาของโรค ความเป็นพิษของวัตถุอันตรายที่นามาใช้อย่างปลอดภัยในทางสาธารณะสุขนั้นมี
จานวนไม่ มากนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่นามาใช้ฉีดพ่น ชนิดที่มีฤทธิ์ตกค้างหรือนามาใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลา
ยาวนานทาง การเกษตร ซึ่งอาจทาให้ยุงพาหะเกิดความต้านทานต่อสารนั้นได้ ดังนั้น การควบคุมยุงพาหะโดย
การใช้วัตถุอันตรายจึง ควรใช้ร่วมกับมาตรการอื่นๆ
3. การควบคุมโดยวิธีกล (Mechanical Control) เช่น การใช้มุ้ง การสวมเสื้อมิดชิด ใช้มุ้งลวด ใช้ฝาปิด
4. การควบคุมโดยวิธีพันธุกรรม (Genetic Control) เช่น การทาให้โครโมโซมของยุงพาหะ เปลี่ยนไป ไม่
สามารถนาเชื้อ ได้ทาให้ยุงเป็นหมัน โดยใช้สารกัมมันตรังสีหรือใช้วัตถุอันตราย
5. การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของแมลง (Insect Growth Regulators ย่อว่า IGRs) เช่น สารคล้ายจูวิ
ไนล์ ฮอร์โมน สารยับยั้งการสร้างผนังลาตัว
6. การใช้กับดักยุงเพื่อสารวจประชากรยุง เครื่อสามารถล่อยุงได้ด้วยวิธีการ โฟโตคาตาไลซีส (Photo-catalysis)
และ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เพื่อล่อยุงตัวเมียและแมลงดูดเลือดให้มาติดกับดัก เหมาะสาหรับการ
ใช้งานใน พื้นที่ขนาดเล็ก กับดักชนิดนี้ จาเป็นต้องซื้ออุปกรณ์เสริมเพื่อผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
_________________________________________________________________
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
bank2808
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
Ratchasin Poomchor
 
2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้
Thanyathorn Somrup
 

What's hot (20)

แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
5555 อิสัส
5555 อิสัส5555 อิสัส
5555 อิสัส
 
2560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย22560 project ออกกำลังกาย2
2560 project ออกกำลังกาย2
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้
 

Similar to 2560 project

Similar to 2560 project (20)

โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
Rt
RtRt
Rt
 
โครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอมโครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอม
 
Natchalida
NatchalidaNatchalida
Natchalida
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2561 project -pachara
2561 project -pachara2561 project -pachara
2561 project -pachara
 
Dddddd
DdddddDddddd
Dddddd
 
Taokingkue
TaokingkueTaokingkue
Taokingkue
 
Rainbow six-siege
Rainbow six-siegeRainbow six-siege
Rainbow six-siege
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project (10) (2)
2561 project  (10) (2)2561 project  (10) (2)
2561 project (10) (2)
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
Music therapy
Music therapyMusic therapy
Music therapy
 
Ausanee
AusaneeAusanee
Ausanee
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2561 project com-02
2561 project  com-022561 project  com-02
2561 project com-02
 
switta
swittaswitta
switta
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ยุงน่ากลัวกว่าเสือ ชื่อผู้ทาโครงงาน นายธนนันท์ เชาว์ดี เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ยุงน่ากลัวกว่าเสือ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Mosquitoes are more dangerous than tigers ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสือเพื่อการศีกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน ธนนันท์ เชาว์ดี ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในประเทศไทย ปี 2553 ที่ผ่านมา มีผู้ป่วยมาลาเรียทั้งหมด 45,629 ราย เป็นชาวไทย18,371 ราย และ ต่างชาติ 27,257 ราย จังหวัดที่พบผู้ป่วยมากที่สุด คือ ตาก ที่พบรองๆลงไป เช่น แม่ฮ่องสอน เชียงราย กาญจนบุรี เพชรบุรี ตราด ระนอง ชุมพร พังงา ยะลา นราธิวาส สง ขลา และประจวบคีรีขันธ์ ส่วนจังหวัดอื่นๆ พบได้น้อย และยังไม่พบการระบาดในกรุงเทพฯ ให้โครงงานนี้เป็นความรู้ แก่ทุกคนเผื่อรู้ในวิธีการป้องกัน ไม่ให้มันระบาดไปมากกว่านี้ รู้อย่างนี้แล้วต้องรีบศีกษาก่อนที่มันจะระบาดไปมากว่านี้ ทาให้เราเสียประชากร เสียกาลังพลในการ พัฒนาประเทศชาติ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกให้ลดน้อยลง 2.เผื่อให้ผู้ที่ยังไม่มีความรู้ได้ศึกษาป้องกันก่อนได้ 3.เผื่อทราบสาเหตุและอาการของผู้ป่วย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) กลุ่มในช่วงมัธยมศึกษาปีที่1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่6
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. การควบคุมโดยวิธีชีววิทยา (Biological Control) การนาสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติมาควบคุมยุงพาหะให้ได้ผล นั้น ต้องมีปริมาณมากพอที่จะควบคุมประชากรยุงได้ เช่น การใช้ปลากินลูกน้า ตัวห้า เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว เป็นต้น 2. การควบคุมโดยใช้สารเคมี (Chemical Control) การใช้มาตรการควบคุมโดยใช้วัตถุอันตราย เช่น การใช้ สาร ไพรีทรอยด์สังเคราะห์สารสกัดจากธรรมชาติ สารออร์กาโนคลอรีน สารออร์กาโนฟอสเฟต สารคาร์บาร์เมต การใช้มาตรการควบคุมโดยใช้วัตถุอันตรายนี้ จะต้องมีการว่างแผนอย่างรัดกุมโดยอาศัยความรู้ทางชีวนิสัยของ ยุง พาหะ ระบาดวิทยาของโรค ความเป็นพิษของวัตถุอันตรายที่นามาใช้อย่างปลอดภัยในทางสาธารณะสุขนั้นมี จานวนไม่ มากนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่นามาใช้ฉีดพ่น ชนิดที่มีฤทธิ์ตกค้างหรือนามาใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลา ยาวนานทาง การเกษตร ซึ่งอาจทาให้ยุงพาหะเกิดความต้านทานต่อสารนั้นได้ ดังนั้น การควบคุมยุงพาหะโดย การใช้วัตถุอันตรายจึง ควรใช้ร่วมกับมาตรการอื่นๆ 3. การควบคุมโดยวิธีกล (Mechanical Control) เช่น การใช้มุ้ง การสวมเสื้อมิดชิด ใช้มุ้งลวด ใช้ฝาปิด 4. การควบคุมโดยวิธีพันธุกรรม (Genetic Control) เช่น การทาให้โครโมโซมของยุงพาหะ เปลี่ยนไป ไม่ สามารถนาเชื้อ ได้ทาให้ยุงเป็นหมัน โดยใช้สารกัมมันตรังสีหรือใช้วัตถุอันตราย 5. การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของแมลง (Insect Growth Regulators ย่อว่า IGRs) เช่น สารคล้ายจูวิ ไนล์ ฮอร์โมน สารยับยั้งการสร้างผนังลาตัว 6. การใช้กับดักยุงเพื่อสารวจประชากรยุง เครื่อสามารถล่อยุงได้ด้วยวิธีการ โฟโตคาตาไลซีส (Photo-catalysis) และ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เพื่อล่อยุงตัวเมียและแมลงดูดเลือดให้มาติดกับดัก เหมาะสาหรับการ ใช้งานใน พื้นที่ขนาดเล็ก กับดักชนิดนี้ จาเป็นต้องซื้ออุปกรณ์เสริมเพื่อผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ _________________________________________________________________
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________