SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน โรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย ธนวัฒน์ ฝั้นคามา เลขที่ 36 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคหลงตัวเอง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Narcissistic Personality Disorder
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธนวัฒน์ ฝั้นคามา
ชื่อที่ปรึกษา
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันนี้เราต้องเคยเจอคนหลงตัวเองมาไม่มากก็น้อย เช่น หลงคิดว่าตัวเองสวย ดูดีแบบที่ใครก็สู้ไม่ได้ คิดว่า
เป็นคนเก่งระดับเทพที่ใครจะเทียบชั้นก็ยาก หรือในโลกโซเซียลกับคนที่อัพรูปตัวเองบ่อย ๆ นี่ก็เข้าข่ายหลงตัวเองไม่
น้อย ทว่าหากจะพูดถึงโรคหลงตัวเอง ยังมีข้อสังเกตถึงพฤติกรรมผู้ป่วยโรคหลงตัวเองอีกหลายอย่าง ซึ่งเราสามารถ
ตรวจอาการตัวเองไปพร้อม ๆ กับทาความรู้จักโรคนี้ และเข้าใจถึงสาเหตุของอาการได้มากขึ้น ผู้จัดทาจึงจัดทา
โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อให้ผู้ที่มีอาการที่เข้าข่ายโรคนี้ ได้ศึกษาเกี่ยวกับโรคนี้มากขึ้น
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลงตัวเอง
2. เพื่อให้เรียนรู้เกี่ยวกับอาการและสาเหตุของโรคนี้
3. เพื่อให้เรียนรู้วิธีป้องกันตนเองจากโรคนี้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
2. รูปแบบการนาเสนอ
3. ระยะเวลาตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder) คือ โรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดหนึ่ง โดยผู้ป่วยโรคนี้จะมี
ลักษณะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง ต้องการการยกยอชื่นชม และขาดความเห็นใจผู้อื่น มักหมกมุ่นอยู่กับการโอ้อวด
ตัวตนของตัวเอง เช่น ความสาเร็จ รูปร่างหน้าตา หรือฐานะทางการเงิน เชื่อว่าตัวเองนั้นเหนือกว่าผู้อื่น รวมทั้งมักคบ
ค้าสมาคมกับบุคคลที่เห็นว่ามีความพิเศษหรือสาคัญมาก การกระทาดังกล่าวจะช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นและเคารพนับถือ
ตัวเองให้มากขึ้น เนื่องจากผู้ป่วยโรคนี้มีความนับถือตัวเองต่า ไม่สามารถทนการวิพากษ์วิจารณ์ได้ และมักอับอายหรือ
รู้สึกอ้างว้างเมื่อถูกปฏิเสธหรือได้รับการวิจารณ์ข้อเสียของตัวเอง
อาการของโรคหลงตัวเอง
ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคหลงตัวเองจะปรากฏสัญญาณหรือพฤติกรรมของโรค 5 ลักษณะ หรือมากกว่านั้น
ดังนี้
1. มักยึดตัวเองเป็นสาคัญมากเกินไป เช่น หวังว่าผู้อื่นจะเห็นว่าตัวเองพิเศษหรือเหนือกว่าในด้านต่าง ๆ
2. มักหมกมุ่นกับการคิดถึงความสาเร็จ อานาจ ความร่ารวย ความงาม หรือความรักในอุดมคติของตัวเอง
3. เชื่อว่าตัวเองเป็นคนพิเศษ และบุคคลที่มีความพิเศษหรือสถานะทางสังคมที่สูงเทียบเท่ากันเท่านั้นถึงจะเข้าใจ
ตน
4. ต้องการความสนใจ การยอมรับ และความชื่นชมจากผู้อื่น
5. คิดว่าสมควรได้รับอภิสิทธิ์ต่าง ๆ อย่างไม่มีเหตุผล
6. แสวงหาประโยชน์จากผู้อื่น เพื่อให้ตนเองบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
7. ขาดความเห็นใจและนึกถึงผู้อื่น
8. มักริษยาผู้อื่น หรือเชื่อว่าคนรอบข้างอิจฉาตนเอง
9. มีความคิดหรือพฤติกรรมที่เย่อหยิ่ง จองหอง
สาเหตุของโรคหลงตัวเอง
โรคหลงตัวเองยังไม่ปรากฏสาเหตุอย่างชัดเจน โดยสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคนี้ค่อนข้างซับซ้อนเช่นเดียวกับปัญหา
สุขภาพจิตอื่น ๆ โรคหลงตัวเองอาจมีปัจจัยทางพันธุกรรม สภาพแวดล้อม และการเลี้ยงดู ซึ่งนาไปสู่ภาวะดังกล่าวเป็น
สาคัญ พ่อแม่ที่เลี้ยงลูกตามใจมากเกินไปหรือละเลยการเอาใจใส่ลูก อาจทาให้เด็กเกิดความคิดและพฤติกรรมที่นาไปสู่
โรคหลงตัวเองได้ รวมทั้งอาจเกิดความผิดปกติของสมองที่เกี่ยวเนื่องกับความคิดและพฤติกรรมดังกล่าว โรคหลง
ตัวเองนับเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่พบได้ไม่บ่อยนัก ส่วนใหญ่แล้ว เด็กเล็กและวัยรุ่นอาจแสดงพฤติกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ
โรคนี้ แต่ไม่ได้พัฒนากลายเป็นโรคหลงตัวเองเสมอไป เนื่องจากพฤติกรรมดังกล่าวเป็นการแสดงออกตามวัย ทั้งนี้
ผู้ชายมักป่วยเป็นโรคหลงตัวเองมากกว่าผู้หญิง และจะเริ่มเป็นเมื่อเข้าช่วงวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ตอนต้น
4
การรักษาโรคหลงตัวเอง
ผู้ป่วยโรคหลงตัวเองจะได้รับการรักษาด้วยวิธีจิตบาบัด ซึ่งเป็นการรักษาระยะยาวและทาโดยนักบาบัดที่เชี่ยวชาญ
เกี่ยวกับความผิดปกติของบุคลิกภาพโดยตรง ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจได้รับยาที่สั่งจ่ายจากแพทย์ควบคู่กับการทาจิตบาบัด ซึ่ง
มีรายละเอียด ดังนี้
1. จิตบาบัด วิธีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยสร้างสัมพันธ์อันดีกับผู้คนรอบข้าง เข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดความคิดและ
พฤติกรรมของโรคหลงตัวเอง เช่น สาเหตุที่ทาให้อยากแข่งขัน ไม่เชื่อใจผู้อื่น หรือดูถูกผู้อื่น การทาจิตบาบัด
ต้องใช้เวลาหลายปี เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของคนเป็นเรื่องที่ทาได้ยาก ผู้ป่วยที่เข้ารับการ
บาบัดจะได้รับประโยชน์จากการรักษา
2. ยอมรับและรักษาความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างตามความเป็นจริง รวมทั้งเรียนรู้การทางานร่วมกับผู้อื่น
3. ยอมรับความสามารถและศักยภาพที่แท้จริงของตนเอง ส่งผลให้สามารถรับคาวิจารณ์ผู้อื่นหรือเมื่อต้อง
ประสบความล้มเหลวได้
4. ทาให้เข้าใจและสามารถจัดการอารมณ์และความรู้สึกของตัวเองได้ดีขึ้น
5. เข้าใจและสามารถยอมรับเรื่องราวที่ส่งผลต่อความนับถือและความเชื่อมั่นตัวเอง
6. สามารถบอกได้ว่าต้องการบรรลุเป้าหมายที่ไม่สามารถเป็นไปได้ รวมทั้งยอมรับศักยภาพตัวเองที่สามารถ
บรรลุเป้าหมายได้ตามจริง
การรักษาด้วยวิธีทางการแพทย์ ผู้ป่วยโรคหลงตัวเองที่มีอาการรุนแรง โดยเกิดอาการหรือพฤติกรรมอื่นที่
นอกเหนือไปจากอาการป่วยโรคหลงตัวเอง จาเป็นต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลและดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด
เช่น มีอารมณ์เกรี้ยวกราด ทาร้ายตัวเอง หลงผิดไปจากความเป็นจริง ซึมเศร้า หรือวิตกกังวลเพื่อรับการรักษาอย่าง
เหมาะสม
การป้องกันโรคหลงตัวเอง
วิธีป้องกันโรคหลงตัวเองยังไม่ปรากฏแน่ชัด เนื่องจากไม่สามารถระบุสาเหตุของโรคนี้ได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม
ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีบุคคลรอบข้างป่วยเป็นโรคหลงตัวเองสามารถบาบัดให้หายได้ โดยพาผู้ป่วยไปพบแพทย์และรับการ
บาบัดในกรณีที่ผู้ป่วยอายุยังน้อย ส่วนพ่อแม่หรือผู้ใหญ่ที่ดูแลผู้ป่วยควรเข้ารับการบาบัดเพื่อเรียนรู้วิธีสื่อสารและ
รับมือกับอารมณ์ของผู้ป่วย รวมทั้งรับคาปรึกษาจากนักบาบัดเพิ่มเติมในกรณีที่จาเป็น
นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคหลงตัวเองที่คิดว่าไม่จาเป็นต้องเข้ารับการรักษา อาจลองเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมที่มีต่อ
การรักษา โดยปฏิบัติ ดังนี้
1. เปิดใจและมุ่งมั่นไปที่รางวัลอันเป็นเป้าหมายของการรักษา
2. ควรเข้ารับการบาบัดตามกาหนดและรับประทานยาตามแพทย์สั่งจ่ายอย่างเคร่งครัด
3. หาข้อมูลเกี่ยวกับโรคหลงตัวเอง เพื่อจะได้เข้าใจอาการ ปัจจัยเสี่ยง และวิธีรักษาโรคดังกล่าวมากขึ้น
4. ควรเข้ารับการรักษาปัญหาสุขภาพจิตและพฤติกรรมที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพซึ่งเกิดขึ้นร่วมด้วย เช่น การใช้สาร
เสพติด โรคซึมเศร้า อาการวิตกกังวล และความเครียด เนื่องจากอาจนาไปสู่สภาวะอารมณ์และสุขภาพที่ไม่ดี
ได้
5. พยายามผ่อนคลายเพื่อรับมือกับความเครียด เช่น นั่งสมาธิ หรือเล่นโยคะ เป็นต้น
6. ควรตั้งเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตหลังเข้ารับการรักษา เนื่องจากช่วงพักฟื้นต้องใช้
เวลานานจนกว่าจะหายเป็นปกติ การตั้งเป้าหมายจะช่วยให้ผู้ป่วยมีแรงกระตุ้น เพื่อตั้งใจทาตามเป้าหมาย
ดังกล่าว
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3. จัดทาโครงร่างงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5. ปรับปรุงทดสอบ
6. การทาเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ มือถือ
งบประมาณ
ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ทาให้รู้เกี่ยวกับสาเหตุและอาการของโรคหลงตัวเอง
2. ทาให้รู้วิธีป้องกันตัวเองจากโรคหลงตัวเอง
3. ทาให้รู้วิธีรักษาโรคหลงตัวเอง
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. วิทยาศาสตร์
2. สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%95
%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87

More Related Content

What's hot

อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
Ja Palm
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
Ja Palm
 

What's hot (20)

2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
5555 อิสัส
5555 อิสัส5555 อิสัส
5555 อิสัส
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
Pp
PpPp
Pp
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 

Similar to 2561 project

Similar to 2561 project (20)

Natchalida
NatchalidaNatchalida
Natchalida
 
Rt
RtRt
Rt
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
Dddddd
DdddddDddddd
Dddddd
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2561 project -pachara
2561 project -pachara2561 project -pachara
2561 project -pachara
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
2561 kosun-34
2561 kosun-342561 kosun-34
2561 kosun-34
 
Workk
WorkkWorkk
Workk
 
switta
swittaswitta
switta
 
Music therapy
Music therapyMusic therapy
Music therapy
 
2561 project (10) (2)
2561 project  (10) (2)2561 project  (10) (2)
2561 project (10) (2)
 
Taokingkue
TaokingkueTaokingkue
Taokingkue
 
Workkk
WorkkkWorkkk
Workkk
 
Good sleep
Good sleepGood sleep
Good sleep
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
Nattun 605 06
Nattun 605 06Nattun 605 06
Nattun 605 06
 
Ausanee
AusaneeAusanee
Ausanee
 

2561 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน โรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder) ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธนวัฒน์ ฝั้นคามา เลขที่ 36 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคหลงตัวเอง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Narcissistic Personality Disorder ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธนวัฒน์ ฝั้นคามา ชื่อที่ปรึกษา ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันนี้เราต้องเคยเจอคนหลงตัวเองมาไม่มากก็น้อย เช่น หลงคิดว่าตัวเองสวย ดูดีแบบที่ใครก็สู้ไม่ได้ คิดว่า เป็นคนเก่งระดับเทพที่ใครจะเทียบชั้นก็ยาก หรือในโลกโซเซียลกับคนที่อัพรูปตัวเองบ่อย ๆ นี่ก็เข้าข่ายหลงตัวเองไม่ น้อย ทว่าหากจะพูดถึงโรคหลงตัวเอง ยังมีข้อสังเกตถึงพฤติกรรมผู้ป่วยโรคหลงตัวเองอีกหลายอย่าง ซึ่งเราสามารถ ตรวจอาการตัวเองไปพร้อม ๆ กับทาความรู้จักโรคนี้ และเข้าใจถึงสาเหตุของอาการได้มากขึ้น ผู้จัดทาจึงจัดทา โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อให้ผู้ที่มีอาการที่เข้าข่ายโรคนี้ ได้ศึกษาเกี่ยวกับโรคนี้มากขึ้น
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลงตัวเอง 2. เพื่อให้เรียนรู้เกี่ยวกับอาการและสาเหตุของโรคนี้ 3. เพื่อให้เรียนรู้วิธีป้องกันตนเองจากโรคนี้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 2. รูปแบบการนาเสนอ 3. ระยะเวลาตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder) คือ โรคบุคลิกภาพผิดปกติชนิดหนึ่ง โดยผู้ป่วยโรคนี้จะมี ลักษณะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง ต้องการการยกยอชื่นชม และขาดความเห็นใจผู้อื่น มักหมกมุ่นอยู่กับการโอ้อวด ตัวตนของตัวเอง เช่น ความสาเร็จ รูปร่างหน้าตา หรือฐานะทางการเงิน เชื่อว่าตัวเองนั้นเหนือกว่าผู้อื่น รวมทั้งมักคบ ค้าสมาคมกับบุคคลที่เห็นว่ามีความพิเศษหรือสาคัญมาก การกระทาดังกล่าวจะช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นและเคารพนับถือ ตัวเองให้มากขึ้น เนื่องจากผู้ป่วยโรคนี้มีความนับถือตัวเองต่า ไม่สามารถทนการวิพากษ์วิจารณ์ได้ และมักอับอายหรือ รู้สึกอ้างว้างเมื่อถูกปฏิเสธหรือได้รับการวิจารณ์ข้อเสียของตัวเอง อาการของโรคหลงตัวเอง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยเป็นโรคหลงตัวเองจะปรากฏสัญญาณหรือพฤติกรรมของโรค 5 ลักษณะ หรือมากกว่านั้น ดังนี้ 1. มักยึดตัวเองเป็นสาคัญมากเกินไป เช่น หวังว่าผู้อื่นจะเห็นว่าตัวเองพิเศษหรือเหนือกว่าในด้านต่าง ๆ 2. มักหมกมุ่นกับการคิดถึงความสาเร็จ อานาจ ความร่ารวย ความงาม หรือความรักในอุดมคติของตัวเอง 3. เชื่อว่าตัวเองเป็นคนพิเศษ และบุคคลที่มีความพิเศษหรือสถานะทางสังคมที่สูงเทียบเท่ากันเท่านั้นถึงจะเข้าใจ ตน 4. ต้องการความสนใจ การยอมรับ และความชื่นชมจากผู้อื่น 5. คิดว่าสมควรได้รับอภิสิทธิ์ต่าง ๆ อย่างไม่มีเหตุผล 6. แสวงหาประโยชน์จากผู้อื่น เพื่อให้ตนเองบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ 7. ขาดความเห็นใจและนึกถึงผู้อื่น 8. มักริษยาผู้อื่น หรือเชื่อว่าคนรอบข้างอิจฉาตนเอง 9. มีความคิดหรือพฤติกรรมที่เย่อหยิ่ง จองหอง สาเหตุของโรคหลงตัวเอง โรคหลงตัวเองยังไม่ปรากฏสาเหตุอย่างชัดเจน โดยสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคนี้ค่อนข้างซับซ้อนเช่นเดียวกับปัญหา สุขภาพจิตอื่น ๆ โรคหลงตัวเองอาจมีปัจจัยทางพันธุกรรม สภาพแวดล้อม และการเลี้ยงดู ซึ่งนาไปสู่ภาวะดังกล่าวเป็น สาคัญ พ่อแม่ที่เลี้ยงลูกตามใจมากเกินไปหรือละเลยการเอาใจใส่ลูก อาจทาให้เด็กเกิดความคิดและพฤติกรรมที่นาไปสู่ โรคหลงตัวเองได้ รวมทั้งอาจเกิดความผิดปกติของสมองที่เกี่ยวเนื่องกับความคิดและพฤติกรรมดังกล่าว โรคหลง ตัวเองนับเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่พบได้ไม่บ่อยนัก ส่วนใหญ่แล้ว เด็กเล็กและวัยรุ่นอาจแสดงพฤติกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ โรคนี้ แต่ไม่ได้พัฒนากลายเป็นโรคหลงตัวเองเสมอไป เนื่องจากพฤติกรรมดังกล่าวเป็นการแสดงออกตามวัย ทั้งนี้ ผู้ชายมักป่วยเป็นโรคหลงตัวเองมากกว่าผู้หญิง และจะเริ่มเป็นเมื่อเข้าช่วงวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่ตอนต้น
  • 4. 4 การรักษาโรคหลงตัวเอง ผู้ป่วยโรคหลงตัวเองจะได้รับการรักษาด้วยวิธีจิตบาบัด ซึ่งเป็นการรักษาระยะยาวและทาโดยนักบาบัดที่เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับความผิดปกติของบุคลิกภาพโดยตรง ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจได้รับยาที่สั่งจ่ายจากแพทย์ควบคู่กับการทาจิตบาบัด ซึ่ง มีรายละเอียด ดังนี้ 1. จิตบาบัด วิธีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยสร้างสัมพันธ์อันดีกับผู้คนรอบข้าง เข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดความคิดและ พฤติกรรมของโรคหลงตัวเอง เช่น สาเหตุที่ทาให้อยากแข่งขัน ไม่เชื่อใจผู้อื่น หรือดูถูกผู้อื่น การทาจิตบาบัด ต้องใช้เวลาหลายปี เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของคนเป็นเรื่องที่ทาได้ยาก ผู้ป่วยที่เข้ารับการ บาบัดจะได้รับประโยชน์จากการรักษา 2. ยอมรับและรักษาความสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างตามความเป็นจริง รวมทั้งเรียนรู้การทางานร่วมกับผู้อื่น 3. ยอมรับความสามารถและศักยภาพที่แท้จริงของตนเอง ส่งผลให้สามารถรับคาวิจารณ์ผู้อื่นหรือเมื่อต้อง ประสบความล้มเหลวได้ 4. ทาให้เข้าใจและสามารถจัดการอารมณ์และความรู้สึกของตัวเองได้ดีขึ้น 5. เข้าใจและสามารถยอมรับเรื่องราวที่ส่งผลต่อความนับถือและความเชื่อมั่นตัวเอง 6. สามารถบอกได้ว่าต้องการบรรลุเป้าหมายที่ไม่สามารถเป็นไปได้ รวมทั้งยอมรับศักยภาพตัวเองที่สามารถ บรรลุเป้าหมายได้ตามจริง การรักษาด้วยวิธีทางการแพทย์ ผู้ป่วยโรคหลงตัวเองที่มีอาการรุนแรง โดยเกิดอาการหรือพฤติกรรมอื่นที่ นอกเหนือไปจากอาการป่วยโรคหลงตัวเอง จาเป็นต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลและดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด เช่น มีอารมณ์เกรี้ยวกราด ทาร้ายตัวเอง หลงผิดไปจากความเป็นจริง ซึมเศร้า หรือวิตกกังวลเพื่อรับการรักษาอย่าง เหมาะสม การป้องกันโรคหลงตัวเอง วิธีป้องกันโรคหลงตัวเองยังไม่ปรากฏแน่ชัด เนื่องจากไม่สามารถระบุสาเหตุของโรคนี้ได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีบุคคลรอบข้างป่วยเป็นโรคหลงตัวเองสามารถบาบัดให้หายได้ โดยพาผู้ป่วยไปพบแพทย์และรับการ บาบัดในกรณีที่ผู้ป่วยอายุยังน้อย ส่วนพ่อแม่หรือผู้ใหญ่ที่ดูแลผู้ป่วยควรเข้ารับการบาบัดเพื่อเรียนรู้วิธีสื่อสารและ รับมือกับอารมณ์ของผู้ป่วย รวมทั้งรับคาปรึกษาจากนักบาบัดเพิ่มเติมในกรณีที่จาเป็น นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคหลงตัวเองที่คิดว่าไม่จาเป็นต้องเข้ารับการรักษา อาจลองเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมที่มีต่อ การรักษา โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1. เปิดใจและมุ่งมั่นไปที่รางวัลอันเป็นเป้าหมายของการรักษา 2. ควรเข้ารับการบาบัดตามกาหนดและรับประทานยาตามแพทย์สั่งจ่ายอย่างเคร่งครัด 3. หาข้อมูลเกี่ยวกับโรคหลงตัวเอง เพื่อจะได้เข้าใจอาการ ปัจจัยเสี่ยง และวิธีรักษาโรคดังกล่าวมากขึ้น 4. ควรเข้ารับการรักษาปัญหาสุขภาพจิตและพฤติกรรมที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพซึ่งเกิดขึ้นร่วมด้วย เช่น การใช้สาร เสพติด โรคซึมเศร้า อาการวิตกกังวล และความเครียด เนื่องจากอาจนาไปสู่สภาวะอารมณ์และสุขภาพที่ไม่ดี ได้ 5. พยายามผ่อนคลายเพื่อรับมือกับความเครียด เช่น นั่งสมาธิ หรือเล่นโยคะ เป็นต้น 6. ควรตั้งเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตหลังเข้ารับการรักษา เนื่องจากช่วงพักฟื้นต้องใช้ เวลานานจนกว่าจะหายเป็นปกติ การตั้งเป้าหมายจะช่วยให้ผู้ป่วยมีแรงกระตุ้น เพื่อตั้งใจทาตามเป้าหมาย ดังกล่าว
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3. จัดทาโครงร่างงาน 4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5. ปรับปรุงทดสอบ 6. การทาเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ มือถือ งบประมาณ ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 6. 6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ทาให้รู้เกี่ยวกับสาเหตุและอาการของโรคหลงตัวเอง 2. ทาให้รู้วิธีป้องกันตัวเองจากโรคหลงตัวเอง 3. ทาให้รู้วิธีรักษาโรคหลงตัวเอง สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. วิทยาศาสตร์ 2. สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%95 %E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87