SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน
ใบชา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายจักร์ภูริณัท เจริญเดชาวงศ์ เลขที่ 25 ชั้น 6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ใบชา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Tea leaves
ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาค้นคว้า
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายจักรภูริณัท เจริญเดชาวงศ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน
ชา มาจากพืชตระกูลคาเมเลีย ไซเนนซิส (Camellia sinensis) ถิ่นกาเนิดอยู่ในจีนและอินเดีย มีลักษณะเป็น
พุ่ม ใบเขียว หากปล่อยให้เติบโตเองในป่าจะให้ดอกสีขาวส่งกลิ่นหอมในฤดูใบไม้ผลิ เมื่อดอกชาโตเต็มที่ จะให้ผล
ชาที่ภายในมีเมล็ดเล็กๆ หนึ่งถึงสามเมล็ด ในการแพร่พันธุ์ ต้นชาต้องได้รับการผสมละอองเกสรกับต้นชาต้น
อื่นๆ เพื่อแลกเปลี่ยนยีนและโครโมโซมซึ่งกันและกัน เมื่อชาต้นใหม่เจริญงอกงามจะคงลักษณะที่แข็งแรงบางส่วน
ของพ่อแม่ ด้วยวิถีเช่นนี้ ต้นชาจึงเป็นพืชที่มีลักษณะเด่นเฉพาะตัวของมันเอง
ส่วนของต้นชาที่นามาเป็นเครื่องดื่มจะอยู่ส่วนบนสุดของต้น อันเป็นตาแหน่งของการผลิใบอ่อน และการ
แตกหน่อ ซึ่งเป็นส่วนที่มีคุณภาพดีที่สุดนั่นก็คือ ชาที่มีคุณภาพดีที่สุด คือ ชาที่ผลิตจากใบชาอ่อนและตานั่นเอง
และเครื่องมือในการเก็บใบชาที่ดีที่สุดก็คือ มือของมนุษย์ซึ่งปฏิบัติต่อกันมาอย่างนี้เป็นเวลานับหลายพันปี
การผลิตใบชา เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้จากประสบการณ์และความชานาญที่สั่งสมผ่านกาลเวลาถ่ายทอด
กันรุ่นแล้วรุ่นเล่า ผ่านปู่ถึงพ่อและลูกหลานเคล็ดลับของแต่ละตระกูล ล้วนเป็นความลับของครอบครัวที่ไม่ถ่ายทอด
ข้ามสายเลือด ใบชาที่ผลิตออกมาแต่ละไร่จึงมีรสชาติและคุณภาพที่แตกต่างกัน แต่ละขั้นตอนการผลิต เทคโนโลยี
ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นมีส่วนร่วมในการทางานหลายขั้นตอน แต่เคล็ดลับที่ทาให้ความสาเร็จเกิดขึ้นอยู่ที่สองมือและสมอง
ของมนุษย์นี่เอง
3
“ ชา” เป็นผลผลิตที่มาจากพืชชนิดเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นชาจีน ชาอินเดีย ชาศรีลังกา ชาญี่ปุ่น ชาอังกฤษ แต่
กลับปรากฏว่าการชงชาที่แตกต่างกันในหลายวัฒนธรรม ทาให้เกิดชารูปแบบต่างๆ กว่า 3,000ชนิด แตกต่างกันทั้ง
กรรมวิธีการผลิตใบชา การชงชาไปจนถึงการปรุงแต่งรสชาติของชา
คนจีนรู้จักดื่มชามาหลายพันปีแล้ว มีตานานเล่าว่า จักรพรรดิเสิน-หนง (Emperor Shen Nung) วันหนึ่ง
ขณะทรงต้มน้าร้อนได้มีใบชาปลิวตกลงในหม้อน้าเดือด ทรงชิมดูพบว่ามีรสชาติดีและมีกลิ่นหอมจากนั้นมาชาก็
เป็นที่รู้จักและนิยมดื่มกันทั่วไป
สมัยสุโขทัยช่วงที่มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับจีน น่าจะมีการดื่มชากันแล้ว แต่ที่ปรากฏหลักฐานชัดเจน
คือจาก จดหมายเหตุ
ลาลูแบร์ราชฑูตฝรั่งเศส ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พูดถึงการดื่มชาในสยามว่าดื่มเฉพาะในกรุง
ศรีอยุธยาเท่านั้น ถือเป็นมารยาทผู้ดีอันจาเป็นต้องนาน้าชามาเลี้ยงผู้มาเยี่ยม และคาว่า "ชา" คนไทยก็เรียกกันมา
ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางแล้ว
ชากับความเป็นอยู่และประเพณี
พระสงฆ์ฉันน้าชามาแต่โบราณ จึงมีประเพณีถวายน้าชาพระสืบต่อกันมาจนทุกวันนี้ มีหมายรับสั่งสมัย
รัชกาลที่ 1 เมื่อมีพิธีสงฆ์ในงานหลวงปรากฏเป็นหลักฐานว่า "ให้แต่งน้าชาถวายสงฆ์ทั้ง 4 เวลา…ให้หัวป่าก์พ่อ
ครัวรับ เครื่องชา ต่อวิเสทหมากพลู ต้มถวายพระสงฆ์ให้พอ 8 คืน"
สมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อมีทูตฝรั่งเข้ามา การต้อนรับของทางการไทยก็แข็งขันมาก นอกจากผลไม้พื้นเมืองแล้ว ก็มี
ใบชา กาแฟไปต้อนรับทูต"
ชาเป็นเครื่องดื่มที่ชงไปนั่งคุยกันไป คนจีนเวลามีผู้มาหาสู่ถึงบ้านจะต้องยกน้าชาออกมาต้อนรับ ถ้าไม่รักกัน
จริงจะไม่ยกน้าชามานั่งดื่ม เพราะจะได้คุยให้เสร็จๆ แล้วรีบออกไปจากบ้านซะ
คนไทยและจีนใส่ใบชาลงในโลงศพเพื่อใช้ประกอบพิธี บ้างว่าช่วยการดูดกลิ่น บ้างว่าไม่ให้มีน้าเหลืองไหลออกมา
พิธีไหว้บรรพบุรุษของจีน สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ น้าชาและเหล้าเวลาทาความสะอาดหลุมศพ(เช็งเม้ง)จะต้องไหว้
น้าชาทั้งที่สุสานและที่บ้าน วันสารทจีนก็ไหว้น้าชา แม้พิธีแต่งงานชาวจีนพิธียกน้าชาก็มีบทบาท ใช้เคารพผู้ใหญ่
ให้เมตตาคู่บ่าวสาว เพื่อการเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่สมบูรณ์
ญี่ปุ่นเองก็มีพิธีชงชาแบบชาโนยุ แต่เดิมเป็นพิธีทางศาสนาของนิกายเซน ปัจจุบันมีการฝึกหัดชงชาเพื่อรักษา
ไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมของคนญี่ปุ่น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ
1.เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของใบชา
4
2.รู้ประโยชน์จากใบชา
3.ต่อยอดธุรกิจเกี่ยวกับใบชา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน
ประวัติและความเป็นมาของใบชา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน
ระบวนการผลิตชาถือได้ว่าเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะด้วยความประณีต และการควบคุมการผลิตอย่างใกล้ชิด ทาให้ได้ชา
หลากหลายชนิดและรสชาติที่แตกต่างกันออกไป ก่อนจะได้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มาจากชา ต้องผ่านขั้นตอนและกระบวนต่างๆ ซึ่งชา
แต่ละชนิด แต่ละประเภทก็จะมีขั้นตอนที่ต่างกัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาาหนดหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2.วางแผนการดาาเนินงาน
3.ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
4.จัดทาาโครงร่างโครงงาน
5.จัดทาาโครงงาน
6.นาาเสนอโครงงาน
7.ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.กระดาษที่จะทาาแบบสาารวจเกี่ยวกับโครงงานนี้
งบประมาณ
-
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน
1.การผลิตใบชามาขายได้
2.ได้รู้เกี่ยวกับประโยชน์ของใบชา
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มพลศึกษและสุขศึกษา
-กลุ่มวิทยาศาสตร์
-กลุ่มเทคโลโนยีสารสนเทศ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน
http://www.refresherthai.com/article/teaMade.php

More Related Content

What's hot (20)

2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
Fruit juice
Fruit juiceFruit juice
Fruit juice
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkol
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
Com
ComCom
Com
 
Comm
CommComm
Comm
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
5555 อิสัส
5555 อิสัส5555 อิสัส
5555 อิสัส
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
5
55
5
 
Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3
 
Jj
JjJj
Jj
 

Similar to Project1

Similar to Project1 (20)

Rt
RtRt
Rt
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2561 project -pachara
2561 project -pachara2561 project -pachara
2561 project -pachara
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Dddddd
DdddddDddddd
Dddddd
 
Natchalida
NatchalidaNatchalida
Natchalida
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
Taokingkue
TaokingkueTaokingkue
Taokingkue
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
คอลลาเจนฟรุ้งฟริ้ง
คอลลาเจนฟรุ้งฟริ้งคอลลาเจนฟรุ้งฟริ้ง
คอลลาเจนฟรุ้งฟริ้ง
 
Workk
WorkkWorkk
Workk
 
2561 project com-02
2561 project  com-022561 project  com-02
2561 project com-02
 
2561 kosun-34
2561 kosun-342561 kosun-34
2561 kosun-34
 
Music therapy
Music therapyMusic therapy
Music therapy
 
switta
swittaswitta
switta
 
Thanchanok20
Thanchanok20Thanchanok20
Thanchanok20
 
Rainbow six-siege
Rainbow six-siegeRainbow six-siege
Rainbow six-siege
 
Ausanee
AusaneeAusanee
Ausanee
 
Job
JobJob
Job
 
โครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอมโครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอม
 

Project1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ใบชา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายจักร์ภูริณัท เจริญเดชาวงศ์ เลขที่ 25 ชั้น 6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ใบชา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Tea leaves ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาค้นคว้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นายจักรภูริณัท เจริญเดชาวงศ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน ชา มาจากพืชตระกูลคาเมเลีย ไซเนนซิส (Camellia sinensis) ถิ่นกาเนิดอยู่ในจีนและอินเดีย มีลักษณะเป็น พุ่ม ใบเขียว หากปล่อยให้เติบโตเองในป่าจะให้ดอกสีขาวส่งกลิ่นหอมในฤดูใบไม้ผลิ เมื่อดอกชาโตเต็มที่ จะให้ผล ชาที่ภายในมีเมล็ดเล็กๆ หนึ่งถึงสามเมล็ด ในการแพร่พันธุ์ ต้นชาต้องได้รับการผสมละอองเกสรกับต้นชาต้น อื่นๆ เพื่อแลกเปลี่ยนยีนและโครโมโซมซึ่งกันและกัน เมื่อชาต้นใหม่เจริญงอกงามจะคงลักษณะที่แข็งแรงบางส่วน ของพ่อแม่ ด้วยวิถีเช่นนี้ ต้นชาจึงเป็นพืชที่มีลักษณะเด่นเฉพาะตัวของมันเอง ส่วนของต้นชาที่นามาเป็นเครื่องดื่มจะอยู่ส่วนบนสุดของต้น อันเป็นตาแหน่งของการผลิใบอ่อน และการ แตกหน่อ ซึ่งเป็นส่วนที่มีคุณภาพดีที่สุดนั่นก็คือ ชาที่มีคุณภาพดีที่สุด คือ ชาที่ผลิตจากใบชาอ่อนและตานั่นเอง และเครื่องมือในการเก็บใบชาที่ดีที่สุดก็คือ มือของมนุษย์ซึ่งปฏิบัติต่อกันมาอย่างนี้เป็นเวลานับหลายพันปี การผลิตใบชา เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้จากประสบการณ์และความชานาญที่สั่งสมผ่านกาลเวลาถ่ายทอด กันรุ่นแล้วรุ่นเล่า ผ่านปู่ถึงพ่อและลูกหลานเคล็ดลับของแต่ละตระกูล ล้วนเป็นความลับของครอบครัวที่ไม่ถ่ายทอด ข้ามสายเลือด ใบชาที่ผลิตออกมาแต่ละไร่จึงมีรสชาติและคุณภาพที่แตกต่างกัน แต่ละขั้นตอนการผลิต เทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นมีส่วนร่วมในการทางานหลายขั้นตอน แต่เคล็ดลับที่ทาให้ความสาเร็จเกิดขึ้นอยู่ที่สองมือและสมอง ของมนุษย์นี่เอง
  • 3. 3 “ ชา” เป็นผลผลิตที่มาจากพืชชนิดเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นชาจีน ชาอินเดีย ชาศรีลังกา ชาญี่ปุ่น ชาอังกฤษ แต่ กลับปรากฏว่าการชงชาที่แตกต่างกันในหลายวัฒนธรรม ทาให้เกิดชารูปแบบต่างๆ กว่า 3,000ชนิด แตกต่างกันทั้ง กรรมวิธีการผลิตใบชา การชงชาไปจนถึงการปรุงแต่งรสชาติของชา คนจีนรู้จักดื่มชามาหลายพันปีแล้ว มีตานานเล่าว่า จักรพรรดิเสิน-หนง (Emperor Shen Nung) วันหนึ่ง ขณะทรงต้มน้าร้อนได้มีใบชาปลิวตกลงในหม้อน้าเดือด ทรงชิมดูพบว่ามีรสชาติดีและมีกลิ่นหอมจากนั้นมาชาก็ เป็นที่รู้จักและนิยมดื่มกันทั่วไป สมัยสุโขทัยช่วงที่มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับจีน น่าจะมีการดื่มชากันแล้ว แต่ที่ปรากฏหลักฐานชัดเจน คือจาก จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ราชฑูตฝรั่งเศส ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พูดถึงการดื่มชาในสยามว่าดื่มเฉพาะในกรุง ศรีอยุธยาเท่านั้น ถือเป็นมารยาทผู้ดีอันจาเป็นต้องนาน้าชามาเลี้ยงผู้มาเยี่ยม และคาว่า "ชา" คนไทยก็เรียกกันมา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางแล้ว ชากับความเป็นอยู่และประเพณี พระสงฆ์ฉันน้าชามาแต่โบราณ จึงมีประเพณีถวายน้าชาพระสืบต่อกันมาจนทุกวันนี้ มีหมายรับสั่งสมัย รัชกาลที่ 1 เมื่อมีพิธีสงฆ์ในงานหลวงปรากฏเป็นหลักฐานว่า "ให้แต่งน้าชาถวายสงฆ์ทั้ง 4 เวลา…ให้หัวป่าก์พ่อ ครัวรับ เครื่องชา ต่อวิเสทหมากพลู ต้มถวายพระสงฆ์ให้พอ 8 คืน" สมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อมีทูตฝรั่งเข้ามา การต้อนรับของทางการไทยก็แข็งขันมาก นอกจากผลไม้พื้นเมืองแล้ว ก็มี ใบชา กาแฟไปต้อนรับทูต" ชาเป็นเครื่องดื่มที่ชงไปนั่งคุยกันไป คนจีนเวลามีผู้มาหาสู่ถึงบ้านจะต้องยกน้าชาออกมาต้อนรับ ถ้าไม่รักกัน จริงจะไม่ยกน้าชามานั่งดื่ม เพราะจะได้คุยให้เสร็จๆ แล้วรีบออกไปจากบ้านซะ คนไทยและจีนใส่ใบชาลงในโลงศพเพื่อใช้ประกอบพิธี บ้างว่าช่วยการดูดกลิ่น บ้างว่าไม่ให้มีน้าเหลืองไหลออกมา พิธีไหว้บรรพบุรุษของจีน สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ น้าชาและเหล้าเวลาทาความสะอาดหลุมศพ(เช็งเม้ง)จะต้องไหว้ น้าชาทั้งที่สุสานและที่บ้าน วันสารทจีนก็ไหว้น้าชา แม้พิธีแต่งงานชาวจีนพิธียกน้าชาก็มีบทบาท ใช้เคารพผู้ใหญ่ ให้เมตตาคู่บ่าวสาว เพื่อการเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่สมบูรณ์ ญี่ปุ่นเองก็มีพิธีชงชาแบบชาโนยุ แต่เดิมเป็นพิธีทางศาสนาของนิกายเซน ปัจจุบันมีการฝึกหัดชงชาเพื่อรักษา ไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมของคนญี่ปุ่น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ 1.เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของใบชา
  • 4. 4 2.รู้ประโยชน์จากใบชา 3.ต่อยอดธุรกิจเกี่ยวกับใบชา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน ประวัติและความเป็นมาของใบชา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน ระบวนการผลิตชาถือได้ว่าเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะด้วยความประณีต และการควบคุมการผลิตอย่างใกล้ชิด ทาให้ได้ชา หลากหลายชนิดและรสชาติที่แตกต่างกันออกไป ก่อนจะได้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มาจากชา ต้องผ่านขั้นตอนและกระบวนต่างๆ ซึ่งชา แต่ละชนิด แต่ละประเภทก็จะมีขั้นตอนที่ต่างกัน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.กาาหนดหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2.วางแผนการดาาเนินงาน 3.ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 4.จัดทาาโครงร่างโครงงาน 5.จัดทาาโครงงาน 6.นาาเสนอโครงงาน 7.ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.กระดาษที่จะทาาแบบสาารวจเกี่ยวกับโครงงานนี้ งบประมาณ -
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน 1.การผลิตใบชามาขายได้ 2.ได้รู้เกี่ยวกับประโยชน์ของใบชา สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มพลศึกษและสุขศึกษา -กลุ่มวิทยาศาสตร์ -กลุ่มเทคโลโนยีสารสนเทศ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน http://www.refresherthai.com/article/teaMade.php