SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน......................................โรคฟันผุ..................................................
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.ชุติมณฑน์ พรมศร เลขที่ 41 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. น.ส.ชุติมณฑน์ พรมศร ชั้นม.6/2 เลขที่ 41
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : โรคฟันผุ
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) :All about caries
ประเภทโครงงาน : เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : น.ส.ชุติมณฑน์ พรมศร
ชื่อที่ปรึกษา: ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน: โรคฟันผุ
โรคฟันผุก็คือ โรคของฟันที่มีเนื้อฟันถูกทาลายไป
โดยมีการทาลายแร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสาคัขของเนื้อเยื่อเหล่านี้ จนทาให้เกิดเป็นรูหรือโพรงที่ตัวฟัน
ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะลุกลาม ขยายใหข่และลึกขึ้นเรื่อยๆ เกิดการเจ็บปวดทุกข์ทรมาน
และสุดท้ายอาจต้องสูขเสียฟัน โดยต้องถอนออกไป
โรคฟันผุจัดเป็นโรคติดต่อ เพราะเกิดจากเชื้อโรค และติดต่อกันได้ทางน้าลาย โดยกระบวนการเกิดโรค
จาเป็นจะต้องมีองค์ประกอบสาคัข 3อย่างด้วยกัน ได้แก่ตัวฟัน เชื้อจุลินทรีย์
และสภาวะความเป็นกรดภายในช่องปาก
โดยปกติ ภายในช่องปากจะมีกระบวนการแลกเปลี่ยนแร่ธาตุระหว่างตัวฟัน และแร่ธาตุที่มีอยู่ในน้าลายตลอดเวลา
โดยจะมีทั้งการสูขเสียแร่ธาตุจากตัวฟัน และการคืนกลับแร่ธาตุสู่ตัวฟัน ในสภาวะที่สภาพในช่องปากเป็นกลาง
3
วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ
2.เพื่อให้รู้สาเหตุของโรคฟันผุ
3.เพื่อให้รู้วิธีรักษาและป้องกันโรคฟันผุ
ขอบเขตโครงงาน
1. นิยามของโรคฟันผุ
2. ระยะของฟันผุ
3. อาการของโรคฟันผุ
4. การรักษาโรคฟันผุ
5. การป้องกันโรคฟันผุ
หลักการและทฤษฎี :
โรคฟันผุ
โรคฟันผุก็คือ โรคของฟันที่มีเนื้อฟันถูกทาลายไป
โดยมีการทาลายแร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสาคัขของเนื้อเยื่อเหล่านี้ จนทาให้เกิดเป็นรูหรือโพรงที่ตัวฟัน
ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะลุกลาม ขยายใหข่และลึกขึ้นเรื่อยๆ เกิดการเจ็บปวดทุกข์ทรมาน
และสุดท้ายอาจต้องสูขเสียฟัน โดยต้องถอนออกไป
โรคฟันผุจัดเป็นโรคติดต่อ เพราะเกิดจากเชื้อโรค และติดต่อกันได้ทางน้าลาย โดยกระบวนการเกิดโรค
จาเป็นจะต้องมีองค์ประกอบสาคัข 3อย่างด้วยกัน ได้แก่ตัวฟัน เชื้อจุลินทรีย์
และสภาวะความเป็นกรดภายในช่องปาก
โดยปกติ ภายในช่องปากจะมีกระบวนการแลกเปลี่ยนแร่ธาตุระหว่างตัวฟัน
และแร่ธาตุที่มีอยู่ในน้าลายตลอดเวลา โดยจะมีทั้งการสูขเสียแร่ธาตุจากตัวฟัน และการคืนกลับแร่ธาตุสู่ตัวฟัน
ในสภาวะที่สภาพในช่องปากเป็นกลาง ก่อนที่จะเกิดรูผุบนฟันที่มองเห็นได้ ในระยะเริ่มแรกที่มีการสูขเสียแร่ธาตุ
ออกจากผิวฟันนั้น หากสังเกตให้ดี จะเห็นว่าฟันเริ่มเสียความเงามัน มองเห็นเป็นสีขุ่นขาวคล้ายชอล์ก
เริ่มจากเป็นจุดขาว และขยายขนาดขึ้นได้ ซึ่งมักพบบริเวณที่เป็นหลุมร่องฟันลึก หรือบริเวณซอกฟัน คอฟัน
ที่มีคราบจุลินทรีย์ สะสมไว้มาก ซึ่งหากสังเกตเห็นได้ทัน จะสามารถหยุดยั้งการลุกลามของการเกิดฟันผุนี้ได้
ผลเสียของการเกิดโรคฟันผุ
4
โรคฟันผุระยะเริ่มต้นยังไม่ก่อให้เกิดอาการเสียวหรือเจ็บปวด มีการเปลี่ยนแปลงที่ผิวฟัน เห็นเป็นจุด
หรือฝ้าขาวขุ่นคล้ายชอล์ก ซึ่งถ้าสังเกตเห็น หรือตรวจพบแต่เนิ่นๆ แล้ว จะสามารถรักษาไม่ให้เกิดเป็นรูผุได้
แต่ถ้าต่อไปรักษาไม่ได้แล้วละก็ จะเกิดการทาลายของเนื้อฟันต่อไป ตามลาดับดังนี้คือ
ฟันผุระยะที่ 1 เริ่มเห็นเป็นรูผุที่ผิวฟันอาจมี สีเทาหรือดา มีสีขาวขุ่นรอบๆ ระยะนี้ยังไม่มีอาการใดๆ
ฟันผุระยะที่ 2 รูฟันผุลุกลามกว้าง และลึกขึ้นเข้าสู่ชั้นเนื้อฟัน ใกล้โพรงประสาทเกิดอาการเสียวฟัน
โดยเฉพาะเมื่อกินอาหารหวานหรือน้าเย็น
ฟันผุระยะที่ 3 รูฟันที่ผุลุกลามลึกลงไป ถึง โพรงประสาทฟัน ซึ่งเป็นที่อยู่ของประสาทรับความ รู้สึก ทาให้ปวด
เคี้ยวไม่ได้
ฟันผุระยะที่ 4 การอักเสบลุกลามออกไป รอบตัวฟัน ถึงอวัยวะรอบตัวฟัน อาจเกิดฝี หนอง ฟันโยก ปวด เคี้ยวไม่ได้
เมื่อไม่สามารถรักษาฟันซี่ที่ผุไว้ได้ ต้องถอนฟันซี่นั้นออก ทาให้เกิดการต้องสูขเสียฟัน และมีปัขหาอื่นๆ
ตามมาได้อีก
โรคฟันผุเกิดขึ้นได้อย่างไร
โรคฟันผุเกิดจากแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในช่องปากรวมตัวกับเศษอาหารและน้าลายสะสมกันจนเป็นคราบเห
นียวที่เรียกว่า คราบฟัน หรือคราบแบคทีเรีย
ซึ่งจะเกาะอยู่บนผิวของฟันแบคทีเรียเหล่านี้จะเปลี่ยนสภาพน้าตาลและแป้งให้เป็นกรด
มีฤทธิ์ทาลายแร่ธาตุที่ผิวฟัน จนก่อให้เกิดเป็นรู โดยเริ่มจากขนาดเล็กมากๆ ลุกลามใหข่ขึ้นเรื่อยๆ
จนกลายเป็นโรคฟันผุ
ใครบ้างที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุ
โรคฟันผุมักจะพบได้บ่อยในเด็ก แต่ผู้ใหข่ก็มีความเสี่ยงด้วยเช่นกัน โดยมีปัจจัยเหล่านี้เป็นส่วนประกอบ
– การบริโภคอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต (แป้งและน้าตาล
– การดื่มน้าที่ไม่มีฟลูออไรด์เป็นส่วนประกอบ
– อาการปากแห้ง
– การใช้ยาบางชนิด
– การดูแลรักษาความสะอาดช่องปากอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ
ส่วนใดของฟันที่ผุได้ง่ายที่สุด
อาการฟันผุมักเกิดใน 3 ตาแหน่งดังนี้
1. อาการฟันผุบริเวณพื้นเคลือบฟันที่ใช้ในการบดเคี้ยว
5
2. อาการฟันผุระหว่างซอกฟัน
3. อาการฟันผุที่บริเวณรากฟัน
อาการบ่งชี้ของโรคฟันผุมีอะไรบ้าง
– มีการพบรูหรือรอยผุที่ฟัน
– มีอาการเสียวฟันมากขึ้น (เมื่อดื่มหรือรับประทานอาหารหวาน ร้อนจัด หรือเย็นจัด
– มีอาการปวดฟัน
– มีเศษอาหารติดบริเวณซอกฟันบ่อยครั้งขึ้น
ระดับความรุนแรงของโรคฟันผุ
1. การเกิดคราบขาวแบคทีเรียจะทาปฏิกิริยากับแป้งหรือน้าตาล ก่อให้เกิดกรดที่สามารถทาลายผิวเคลือบฟัน
เป็นจุดเริ่มต้นของการสูขเสียแร่ธาตุ (แคลเซียม ซึ่งจะปรากฎให้เห็นเป็นคราบสีขาวขุ่นที่ฟัน
ระยะนี้ยังสามารถรักษาได้โดยง่าย
2. การผุที่ผิวเคลือบฟัน (enamel) การสูขเสีย แคลเซียมดาเนินต่อไปจนมี การเสื่อมสลายของผิวเคลือบฟัน
ระยะนี้ควรได้รับการดูแลรักษาโดยทันตแพทย์
3. การผุที่เนื้อฟัน (dentin) การผุจากผิวเคลือบฟันลุกลามลึกเข้าไปถึงเนื้อฟัน ซึ่งสามารถขยายการผุไปยังฟันซีอื่นๆ
ได้
4. การผุลุกลามไปยังโพรงประสาทฟัน (dentalpulp) หากอาการฟันผุไม่ได้รับการรักษา
การผุจะลุกลามลึกไปถึงโพรงประสาทฟัน ซึ่งเป็นแหล่งรวมของเส้นประสาทมากมาย
และหากโพรงประสาทฟันเกิดการติดเชื้ออาจเกิดฝีที่ปลายรากฟันได้
การรักษาโรคฟันผุ
ฟันผุมีการรักษาได้ต่างๆ กันไป ตามระยะการเกิดโรคก็คือ การใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่
หรือการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ จะช่วยรักษา ฟันที่เกือบจะผุให้กลับสู่ปกติได้
โดยแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เป็นประจา และทิ้งยาสีฟัน นั้นให้คงอยู่ในช่องปากนานขึ้นไม่น้อยกว่า 2
นาที แล้วค่อยบ้วนทิ้ง ก็จะช่วยให้ฟันไม่ผุต่อไปได้ (แต่สาหรับเด็กเล็กๆ ต้องระวังไม่ให้กลืนยาสีฟัน
เพราะอาจเกิดผลเสียได้ คนที่มีการใส่ฟันปลอมชนิดถอดได้ หรือติดแน่น หรือผู้ที่ใส่ เครื่องมือเพื่อการจัดฟัน
หากไม่ได้ดูแลทาความสะอาดฟันอย่างดี จะทาให้เกิดการสะสมของคราบจุลินทรีย์ได้ง่าย เกิดความเสี่ยงต่อ
การเป็นโรคฟันผุ เหงือกอักเสบ และโรคปริทันต์อักเสบได้เช่นเดียวกัน
อุดฟัน เมื่อฟันผุเห็นเป็นรูชัดเจน อยู่ในระยะที่มีการทาลายเฉพาะถึงส่วนเนื้อฟัน
6
รักษารากฟัน เป็นการรักษาโรคฟันผุ ที่มีการผุลุกลามเข้าไปถึงโพรงประสาทฟันแล้ว
ถอนฟัน เมื่อการอักเสบลุกลามไปมาก ไม่เหลือเนื้อฟันที่จะสามารถรักษาฟันซี่นั้น ไว้ได้ต่อไป
การป้องกันฟันผุ
– แปรงฟันวันละ 2
ครั้งด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์หรือมีคุณสมบัติช่วยลดการก่อตัวของคราบแบคทีเรีย
– การใช้ไหมขัดฟัน หรือ แปรงทาความสะอาดฟอกฟันเป็นประจา
เพื่อทาความสะอาดบริเวณซอกฟันหรือบริเวณที่การแปรงฟันเข้าไม่ถึง
– การบ้วนปากด้วยน้ายาบ้วนปากที่ออกฤทธิ์ในต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย
– บริโภคอาหารให้เหมาะสมตามหลักโภชนาการ และจากัดการบริโภคคาร์โบไฮเดรต
– เข้าพบทันตแพทย์ทุกๆ 6เดือน เป็นประจา
– การเคลือบหลุมร่องฟัน ก็เป็นอีกวิธีที่ ทันตแพทย์ส่วนใหข่แนะนา
- รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารหวานเหนียวติดฟันที่ทาให้เกิดโรคฟันผุ
- ดูแลรักษาความสะอาดช่องปากให้สะอาดอย่างทั่วถึง สม่าเสมอ โดยแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกครั้ง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
8
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

2562 final-project 19
2562 final-project 192562 final-project 19
2562 final-project 19
timehara
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
Nitikan2539
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
Pornpisuth Buranasatitwong
 
โครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรโครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอร
aromdjoy
 

What's hot (18)

2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
Work 1 Computer project
Work 1 Computer projectWork 1 Computer project
Work 1 Computer project
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
2562 final-project 19
2562 final-project 192562 final-project 19
2562 final-project 19
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
โครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรโครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอร
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Similar to Chutimon-com-project

Similar to Chutimon-com-project (20)

กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติดกิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
กิจกกรมที่ 1 ปัญหารถติด
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
2562 final-project -2
2562 final-project -22562 final-project -2
2562 final-project -2
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
606 13 kritayapor_project
606 13 kritayapor_project606 13 kritayapor_project
606 13 kritayapor_project
 
2562 final-project -22-610
2562 final-project -22-6102562 final-project -22-610
2562 final-project -22-610
 
Workk5
Workk5Workk5
Workk5
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
Comwork5
Comwork5Comwork5
Comwork5
 
2561 project -4
2561 project -42561 project -4
2561 project -4
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Taokingkue
TaokingkueTaokingkue
Taokingkue
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
2562 final-project norapat-12
2562 final-project norapat-122562 final-project norapat-12
2562 final-project norapat-12
 
604 19 nipitpon
604 19 nipitpon604 19 nipitpon
604 19 nipitpon
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project-chichayu
2561 project-chichayu2561 project-chichayu
2561 project-chichayu
 

Chutimon-com-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน......................................โรคฟันผุ.................................................. ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.ชุติมณฑน์ พรมศร เลขที่ 41 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.ชุติมณฑน์ พรมศร ชั้นม.6/2 เลขที่ 41 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : โรคฟันผุ ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) :All about caries ประเภทโครงงาน : เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : น.ส.ชุติมณฑน์ พรมศร ชื่อที่ปรึกษา: ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน: โรคฟันผุ โรคฟันผุก็คือ โรคของฟันที่มีเนื้อฟันถูกทาลายไป โดยมีการทาลายแร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสาคัขของเนื้อเยื่อเหล่านี้ จนทาให้เกิดเป็นรูหรือโพรงที่ตัวฟัน ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะลุกลาม ขยายใหข่และลึกขึ้นเรื่อยๆ เกิดการเจ็บปวดทุกข์ทรมาน และสุดท้ายอาจต้องสูขเสียฟัน โดยต้องถอนออกไป โรคฟันผุจัดเป็นโรคติดต่อ เพราะเกิดจากเชื้อโรค และติดต่อกันได้ทางน้าลาย โดยกระบวนการเกิดโรค จาเป็นจะต้องมีองค์ประกอบสาคัข 3อย่างด้วยกัน ได้แก่ตัวฟัน เชื้อจุลินทรีย์ และสภาวะความเป็นกรดภายในช่องปาก โดยปกติ ภายในช่องปากจะมีกระบวนการแลกเปลี่ยนแร่ธาตุระหว่างตัวฟัน และแร่ธาตุที่มีอยู่ในน้าลายตลอดเวลา โดยจะมีทั้งการสูขเสียแร่ธาตุจากตัวฟัน และการคืนกลับแร่ธาตุสู่ตัวฟัน ในสภาวะที่สภาพในช่องปากเป็นกลาง
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ 2.เพื่อให้รู้สาเหตุของโรคฟันผุ 3.เพื่อให้รู้วิธีรักษาและป้องกันโรคฟันผุ ขอบเขตโครงงาน 1. นิยามของโรคฟันผุ 2. ระยะของฟันผุ 3. อาการของโรคฟันผุ 4. การรักษาโรคฟันผุ 5. การป้องกันโรคฟันผุ หลักการและทฤษฎี : โรคฟันผุ โรคฟันผุก็คือ โรคของฟันที่มีเนื้อฟันถูกทาลายไป โดยมีการทาลายแร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสาคัขของเนื้อเยื่อเหล่านี้ จนทาให้เกิดเป็นรูหรือโพรงที่ตัวฟัน ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะลุกลาม ขยายใหข่และลึกขึ้นเรื่อยๆ เกิดการเจ็บปวดทุกข์ทรมาน และสุดท้ายอาจต้องสูขเสียฟัน โดยต้องถอนออกไป โรคฟันผุจัดเป็นโรคติดต่อ เพราะเกิดจากเชื้อโรค และติดต่อกันได้ทางน้าลาย โดยกระบวนการเกิดโรค จาเป็นจะต้องมีองค์ประกอบสาคัข 3อย่างด้วยกัน ได้แก่ตัวฟัน เชื้อจุลินทรีย์ และสภาวะความเป็นกรดภายในช่องปาก โดยปกติ ภายในช่องปากจะมีกระบวนการแลกเปลี่ยนแร่ธาตุระหว่างตัวฟัน และแร่ธาตุที่มีอยู่ในน้าลายตลอดเวลา โดยจะมีทั้งการสูขเสียแร่ธาตุจากตัวฟัน และการคืนกลับแร่ธาตุสู่ตัวฟัน ในสภาวะที่สภาพในช่องปากเป็นกลาง ก่อนที่จะเกิดรูผุบนฟันที่มองเห็นได้ ในระยะเริ่มแรกที่มีการสูขเสียแร่ธาตุ ออกจากผิวฟันนั้น หากสังเกตให้ดี จะเห็นว่าฟันเริ่มเสียความเงามัน มองเห็นเป็นสีขุ่นขาวคล้ายชอล์ก เริ่มจากเป็นจุดขาว และขยายขนาดขึ้นได้ ซึ่งมักพบบริเวณที่เป็นหลุมร่องฟันลึก หรือบริเวณซอกฟัน คอฟัน ที่มีคราบจุลินทรีย์ สะสมไว้มาก ซึ่งหากสังเกตเห็นได้ทัน จะสามารถหยุดยั้งการลุกลามของการเกิดฟันผุนี้ได้ ผลเสียของการเกิดโรคฟันผุ
  • 4. 4 โรคฟันผุระยะเริ่มต้นยังไม่ก่อให้เกิดอาการเสียวหรือเจ็บปวด มีการเปลี่ยนแปลงที่ผิวฟัน เห็นเป็นจุด หรือฝ้าขาวขุ่นคล้ายชอล์ก ซึ่งถ้าสังเกตเห็น หรือตรวจพบแต่เนิ่นๆ แล้ว จะสามารถรักษาไม่ให้เกิดเป็นรูผุได้ แต่ถ้าต่อไปรักษาไม่ได้แล้วละก็ จะเกิดการทาลายของเนื้อฟันต่อไป ตามลาดับดังนี้คือ ฟันผุระยะที่ 1 เริ่มเห็นเป็นรูผุที่ผิวฟันอาจมี สีเทาหรือดา มีสีขาวขุ่นรอบๆ ระยะนี้ยังไม่มีอาการใดๆ ฟันผุระยะที่ 2 รูฟันผุลุกลามกว้าง และลึกขึ้นเข้าสู่ชั้นเนื้อฟัน ใกล้โพรงประสาทเกิดอาการเสียวฟัน โดยเฉพาะเมื่อกินอาหารหวานหรือน้าเย็น ฟันผุระยะที่ 3 รูฟันที่ผุลุกลามลึกลงไป ถึง โพรงประสาทฟัน ซึ่งเป็นที่อยู่ของประสาทรับความ รู้สึก ทาให้ปวด เคี้ยวไม่ได้ ฟันผุระยะที่ 4 การอักเสบลุกลามออกไป รอบตัวฟัน ถึงอวัยวะรอบตัวฟัน อาจเกิดฝี หนอง ฟันโยก ปวด เคี้ยวไม่ได้ เมื่อไม่สามารถรักษาฟันซี่ที่ผุไว้ได้ ต้องถอนฟันซี่นั้นออก ทาให้เกิดการต้องสูขเสียฟัน และมีปัขหาอื่นๆ ตามมาได้อีก โรคฟันผุเกิดขึ้นได้อย่างไร โรคฟันผุเกิดจากแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในช่องปากรวมตัวกับเศษอาหารและน้าลายสะสมกันจนเป็นคราบเห นียวที่เรียกว่า คราบฟัน หรือคราบแบคทีเรีย ซึ่งจะเกาะอยู่บนผิวของฟันแบคทีเรียเหล่านี้จะเปลี่ยนสภาพน้าตาลและแป้งให้เป็นกรด มีฤทธิ์ทาลายแร่ธาตุที่ผิวฟัน จนก่อให้เกิดเป็นรู โดยเริ่มจากขนาดเล็กมากๆ ลุกลามใหข่ขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นโรคฟันผุ ใครบ้างที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุ โรคฟันผุมักจะพบได้บ่อยในเด็ก แต่ผู้ใหข่ก็มีความเสี่ยงด้วยเช่นกัน โดยมีปัจจัยเหล่านี้เป็นส่วนประกอบ – การบริโภคอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต (แป้งและน้าตาล – การดื่มน้าที่ไม่มีฟลูออไรด์เป็นส่วนประกอบ – อาการปากแห้ง – การใช้ยาบางชนิด – การดูแลรักษาความสะอาดช่องปากอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ส่วนใดของฟันที่ผุได้ง่ายที่สุด อาการฟันผุมักเกิดใน 3 ตาแหน่งดังนี้ 1. อาการฟันผุบริเวณพื้นเคลือบฟันที่ใช้ในการบดเคี้ยว
  • 5. 5 2. อาการฟันผุระหว่างซอกฟัน 3. อาการฟันผุที่บริเวณรากฟัน อาการบ่งชี้ของโรคฟันผุมีอะไรบ้าง – มีการพบรูหรือรอยผุที่ฟัน – มีอาการเสียวฟันมากขึ้น (เมื่อดื่มหรือรับประทานอาหารหวาน ร้อนจัด หรือเย็นจัด – มีอาการปวดฟัน – มีเศษอาหารติดบริเวณซอกฟันบ่อยครั้งขึ้น ระดับความรุนแรงของโรคฟันผุ 1. การเกิดคราบขาวแบคทีเรียจะทาปฏิกิริยากับแป้งหรือน้าตาล ก่อให้เกิดกรดที่สามารถทาลายผิวเคลือบฟัน เป็นจุดเริ่มต้นของการสูขเสียแร่ธาตุ (แคลเซียม ซึ่งจะปรากฎให้เห็นเป็นคราบสีขาวขุ่นที่ฟัน ระยะนี้ยังสามารถรักษาได้โดยง่าย 2. การผุที่ผิวเคลือบฟัน (enamel) การสูขเสีย แคลเซียมดาเนินต่อไปจนมี การเสื่อมสลายของผิวเคลือบฟัน ระยะนี้ควรได้รับการดูแลรักษาโดยทันตแพทย์ 3. การผุที่เนื้อฟัน (dentin) การผุจากผิวเคลือบฟันลุกลามลึกเข้าไปถึงเนื้อฟัน ซึ่งสามารถขยายการผุไปยังฟันซีอื่นๆ ได้ 4. การผุลุกลามไปยังโพรงประสาทฟัน (dentalpulp) หากอาการฟันผุไม่ได้รับการรักษา การผุจะลุกลามลึกไปถึงโพรงประสาทฟัน ซึ่งเป็นแหล่งรวมของเส้นประสาทมากมาย และหากโพรงประสาทฟันเกิดการติดเชื้ออาจเกิดฝีที่ปลายรากฟันได้ การรักษาโรคฟันผุ ฟันผุมีการรักษาได้ต่างๆ กันไป ตามระยะการเกิดโรคก็คือ การใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ หรือการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ จะช่วยรักษา ฟันที่เกือบจะผุให้กลับสู่ปกติได้ โดยแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เป็นประจา และทิ้งยาสีฟัน นั้นให้คงอยู่ในช่องปากนานขึ้นไม่น้อยกว่า 2 นาที แล้วค่อยบ้วนทิ้ง ก็จะช่วยให้ฟันไม่ผุต่อไปได้ (แต่สาหรับเด็กเล็กๆ ต้องระวังไม่ให้กลืนยาสีฟัน เพราะอาจเกิดผลเสียได้ คนที่มีการใส่ฟันปลอมชนิดถอดได้ หรือติดแน่น หรือผู้ที่ใส่ เครื่องมือเพื่อการจัดฟัน หากไม่ได้ดูแลทาความสะอาดฟันอย่างดี จะทาให้เกิดการสะสมของคราบจุลินทรีย์ได้ง่าย เกิดความเสี่ยงต่อ การเป็นโรคฟันผุ เหงือกอักเสบ และโรคปริทันต์อักเสบได้เช่นเดียวกัน อุดฟัน เมื่อฟันผุเห็นเป็นรูชัดเจน อยู่ในระยะที่มีการทาลายเฉพาะถึงส่วนเนื้อฟัน
  • 6. 6 รักษารากฟัน เป็นการรักษาโรคฟันผุ ที่มีการผุลุกลามเข้าไปถึงโพรงประสาทฟันแล้ว ถอนฟัน เมื่อการอักเสบลุกลามไปมาก ไม่เหลือเนื้อฟันที่จะสามารถรักษาฟันซี่นั้น ไว้ได้ต่อไป การป้องกันฟันผุ – แปรงฟันวันละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์หรือมีคุณสมบัติช่วยลดการก่อตัวของคราบแบคทีเรีย – การใช้ไหมขัดฟัน หรือ แปรงทาความสะอาดฟอกฟันเป็นประจา เพื่อทาความสะอาดบริเวณซอกฟันหรือบริเวณที่การแปรงฟันเข้าไม่ถึง – การบ้วนปากด้วยน้ายาบ้วนปากที่ออกฤทธิ์ในต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย – บริโภคอาหารให้เหมาะสมตามหลักโภชนาการ และจากัดการบริโภคคาร์โบไฮเดรต – เข้าพบทันตแพทย์ทุกๆ 6เดือน เป็นประจา – การเคลือบหลุมร่องฟัน ก็เป็นอีกวิธีที่ ทันตแพทย์ส่วนใหข่แนะนา - รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารหวานเหนียวติดฟันที่ทาให้เกิดโรคฟันผุ - ดูแลรักษาความสะอาดช่องปากให้สะอาดอย่างทั่วถึง สม่าเสมอ โดยแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ทุกครั้ง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 8. 8 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________