SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
การรั บ รู ้ (Perception) คือ อาการสัมผัสที่มีความหมาย
  (Sensation) เป็นการแปลหรือตีความแห่งการสัมผัสที่ได้รับ
ออกมาเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีความหมายเป็นที่รู้จักและเข้าใจ
      ซึ่งการแปล การสัมผัสนั้นจำาเป็นที่อินทรีย์ต้องใช้
                         ประสบการณ์เดิม
          ภาวะการรั บ รู ้ เมื่อเราได้รับสื่อดลใจ จะรู้สึกเป็น
อันดับแรก หลังจากนั้นจึงรับรู้ (To perceive) ผ่านกลไกของสมอง
         แล้วจึงสร้างภาพขึ้นในสมอง มนุษย์มี ‘ประตู’




                                        Optical Illusion Vase
การรั บ รู ้ ท างศิ ล ปะ การสร้างสรรค์ศิลปะจะขาดสิ่ง
สำาคัญประการหนึ่งไม่ได้ คือ จิตสำานึกสุนทรียะ (Aesthetic mind)
หรือมีความงามในจิตใจ ส่งผลให้สร้างงานได้ดีกว่า โดยอาจ
ศึกษาในสถาบันการศึกษาทางศิลปะหรือพัฒนาฝึกฝนด้วยตัว
 เอง ด้วยการพัฒนากระบวนการความรู้สึกสัมผัส ทั้งด้านการ
  เห็น การได้ยิน การสัมผัส การได้กลิ่น ซึ่งเชื่อว่าความรู้สึก
สัมผัสทั้งหมดนั้น ย่อมส่งผลไปสู่การรับรู้รส (Holistic sensibility)
การรั บ รู ้ ท างศิ ล ปะ การสร้างสรรค์ศิลปะจะขาดสิ่ง
สำาคัญประการหนึ่งไม่ได้ คือ จิตสำานึกสุนทรียะ (Aesthetic mind)
หรือมีความงามในจิตใจ ส่งผลให้สร้างงานได้ดีกว่า โดยอาจ
ศึกษาในสถาบันการศึกษาทางศิลปะหรือพัฒนาฝึกฝนด้วยตัว
 เอง ด้วยการพัฒนากระบวนการความรู้สึกสัมผัส ทั้งด้านการ
  เห็น การได้ยิน การสัมผัส การได้กลิ่น ซึ่งเชื่อว่าความรู้สึก
สัมผัสทั้งหมดนั้น ย่อมส่งผลไปสู่การรับรู้รส (Holistic sensibility)
การรั บ รู ้ ก ั บ จิ ต วิ ท ยา การรับรู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
    จิตวิทยาเป็นอย่างมาก เมื่อต้นศตวรรษที่ 20 ในประเทศ
เยอรมนี มีผู้วางรากฐานความคิดเกี่ยวกับขบวนการเกสตอลท์
 (Gestalt Movement) ได้แก่ แมกซี แอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer)
 วูลฟ์กาง โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) เคิร์ท คอฟฟ์คา (Kurt koffka)
             และรูดอล์ฟ อาร์นไฮม์ (Rudolf arnheim)
ทฤษฎีเกสตอลท์ กล่าวว่า การรับรู้ไม่ใช่การอนุมาน
หรือการคาดเดา ผู้รับรู้จะปรับข้อมูลเข้าไปสู่ความรู้สึกสัมผัส
ข้อมูลที่เข้ามามิได้ปรับด้วยความรู้ แต่ด้วยการทำางานบนหลัก
  การรับรู้ที่เรียกว่า “หลักของความง่าย” (Simplicity principle)
          นักจิตวิทยาเกสตอลท์ พบว่า การมองเห็นจะค้นหา
 สภาพส่วนรวมที่เป็นเอกภาพ (Unified whole) หรืออาจเรียกว่า
                            เกสตอลท์
หลักการของเกสตอลท์

   ท
   ความคล้ายคลึง (Similarity) เมื่อเรามองสิ่งต่าง ๆ ที่มีความ
 คล้ายคลึงกัน โดยปกติเราจะจัดกลุ่มมันเข้าด้วยกัน อาจจะเป็น
  สภาพคล้ายคลึงของรูปร่าง ขนาด สี ตำาแหน่งของทีว่าง มุม
                                                  ่
หลักการของเกสตอลท์

    2. ความใกล้เคียง (Proximity) การจัดกลุ่มสิ่งทีคล้ายคลึงกัน
                                                    ่
เข้าไว้ด้วยกัน เรียกว่า ความใกล้กัน สิ่งทีใกล้กัน 2 สิ่งขึ้นไป เราจะ
                                          ่
มองเห็นเป็นกลุ่ม
หลักการของเกสตอลท์
3. ความต่อเนื่อง (continuation) ตามธรรมชาติตาของมนุษย์จะดู
 ติดตามเส้นตรงหรือแนวโค้ง ความต่อเนื่องจะปรากฎเมื่อสายตา
ติดตามเส้นตรงหรือแนวโค้งไปอย่างนุ่มนวล ความต่อเนื่องจะช่วย
       เน้นการเคลื่อนไหวและพลังบนพื้นภาพได้อย่างดี
หลักการของเกสตอลท์
4. ความใกล้ชิด (Closure) รูปร่างหรือรูปทรงที่มี่ความคุ้นเคย ย่อม
ให้ความรู้สึกสมบูรณ์มากกว่ารูปร่างหรือรูปทรงที่ไม่คุ้นเคย ถ้าความ
ใกล้ชิดเกิดขึ้นอย่างง่ายดายหรือง่ายเกินไป ความรู้สึกน่าเบื่ออาจจะ
                          เกิดขึ้นด้วย
สัญลักษณ์และการแสดงออก
  ความหมายของสัญลักษณ์
    The Oxford English Dictionary ให้ความหมายคำาว่า Symbols ไว้
                        2 ความหมายคือ
     สิ่งซึ่งเป็นตัวแทนของสิ่งอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุซึ่ง
   เป็นตัวแทนของสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม
   า ตัวอักษรที่เขียนขึ้นหรือเครื่องหมาย (Mark) ที่ใช้เป็น
       ตัวแทนบางสิ่งบางอย่าง เช่น ตัวอักษร รูปร่าง หรือ
 เครืองหมาย (Sign) แทนวัตถุกระบวนการบางอย่าง เป็นต้น
     ่
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
       มนุษย์รู้จักการใช้สัญลักษณ์ในการสื่อสารมาตั้งแต่ยุค
หิน โดยการใช้ภาษาท่าทางเป็นสัญลักษณ์ เช่น การใช้ควัน
ไฟ การขีดเขียนบนก้อนหินบนผนังถำ้า และมีการเริ่มสร้างรูป
ร่างรูปทรงเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายต่าง ๆ เมื่อ 4,000 –
                    5,000 ปี ก่อนคริสตกาล
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
       ปี ต่อมาชาวอียิปต์ในสมัยราชวงค์ที่หนึ่ง เริ่มมีการใช้
ตัวอักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) และเฮียราติก (Hieratic) คือ
ใช้ภาพแทนความหมาย ใช้ภาพแทนตัวพยัญชนะ และใช้ภาพ
แทนความคิด (Ideography) เช่น ขาหน้าของสิงโตหมายถึง ความ
                         ยิ่งใหญ่




                                             Queen Nefertari's tomb
                                     has hieroglyphs and a picture of
                                                   her playing chess.
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
     ยุคมืดของยุโรปในศตวรรษที่ 14 การใช้สัญลักษณ์หาย
  ไปช่วงหนึ่ง แต่มีระบบการใช้สัญลักษณ์ในหมู่ทหารและ
                      บรรดาอัศวิน
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
      ในศตวรรษที่ 15 มีการสร้างระบบการพิมพ์ขึ้นในยุโรป
จึงมีการใช้เครื่องหมายผู้พิมพ์ (Publisher imprints) สำาหรับงาน
 พิมพ์บนหนังสือ ในศตวรรษที่ 16 -17 ถือว่าเป็นยุคทองของ
   สัญลักษณ์ทางงานฝีมือ มีการออกแบบเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ขึ้นใช้มากมายด้วยฝีมือที่สวยงามประณีต และใน
   ศตวรรษที่ 18 การเพิ่มจำานวนการติดต่อค้าขายระหว่าง
        ประเทศมากขึ้น การประทับตราจึงมีมากตาม
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
        จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ปีค.ศ. 1919 Walter Gropius ได้
ก่อตั้งโรงเรียน Bauhaus โดยมุ่งเน้นการหลอมรวมแนวคิดทาง
ศิลปะและหัตถกรรม ทำาให้การออกแบบสัญลักษณ์พัฒนาขึ้น
มาก เช่น กลุม Art and craft, Surrealism, Bauhaus, Art Deco, Pop Art
              ่
                           และ op Art




     Walter Gropius                                   Bauhaus institute
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
        จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ปีค.ศ. 1919 Walter Gropius ได้
ก่อตั้งโรงเรียน Bauhaus โดยมุ่งเน้นการหลอมรวมแนวคิดทาง
ศิลปะและหัตถกรรม ทำาให้การออกแบบสัญลักษณ์พัฒนาขึ้น
มาก เช่น กลุม Art and craft, Surrealism, Bauhaus, Art Deco, Pop Art
              ่
                           และ op Art
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
        จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ปีค.ศ. 1919 Walter Gropius ได้
ก่อตั้งโรงเรียน Bauhaus โดยมุ่งเน้นการหลอมรวมแนวคิดทาง
ศิลปะและหัตถกรรม ทำาให้การออกแบบสัญลักษณ์พัฒนาขึ้น
มาก เช่น กลุม Art and craft, Surrealism, Bauhaus, Art Deco, Pop Art
              ่
                           และ op Art




             Art Deco                Pop Art                  Op Art
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
       ด้านสัญลักษณ์ที่ปรากฏทางแถบเอเชีย ถือว่าจีนเป็น
 ประเทศแรกที่มีวัฒนธรรมการใช้สัญลักษณ์ก่อนประเทศใด
  เห็นได้จากอักษรจีนที่ดัดแปลงจากรูปภาพทั้งสิ้น ในราช
    สำานักจีนมีการใช้ตราประทับสำาหรับพระมหากษัตริย์




    Custom Seal Carving
       Dragon & Phoenix
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
        ด้านสัญลักษณ์ในประเทศไทย พบว่ามีการรูจักคิดค้น
                                              ้
สัญลักษณ์หญิงชายที่ถำ้าผาลาย จังหวัดสกลนคร ภาพคลื่นที่
 ผาแต้มโขงเจียม สมัยอาณาจักรลพบุรี มีรปลวดลายหลาก
                                        ู
   หลายปรากฏอยู่บนเงินตราที่ใช้แลกเปลี่ยนทางการค้า
สะท้อนให้เห็นสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติสภาพแวดล้อม ความเป็น
  อยู่ ความเชื่อ คติทางศาสนา มีสัญลักษณ์รูปพระอาทิตย์
             พระจันทร์ ปลา กระต่ายบนดอกบัว




       Phalai’s cave painting          Phatam’s cave painting
ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์
      ิ
       สัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่วิวฒนาการมาตั้งแต่สมัยทวา
                                ั
    ราวดี สุโขทัย อยุธยา จนสมัยรัตนโกสินทร์ คือรอย
 พระพุทธบาท เป็นการสร้างสัญลักษณ์มงคล 108 หมายถึง
  ความเจริญโชคลาภ ความอุดมสมบูรณ์หรือเกียวข้องกับ
                                            ่
                        จักรวาล




                                                      Buddha's footprint
                                Buddha's footprint
                                                      Kamol Tasanarelai
                      Buddhapada 17th -18th century
เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ
    ่
      นับตั้งแต่จักรพรรดิคอนสแตนตินทรงประกาศให้คริสต์
ศาสนาเป็นศาสนาหนึ่งในจักรวรรดิโรมันที่ได้รับการยอมรับ
อย่างเป็นทางการตั้งแต่ ค.ศ. 325 เป็นต้นมา ศาสนาคริสต์กมี
                                                      ็
  อิทธิพลครอบงำาชีวิต วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ปรัชญา
       วรรณคดีและศิลปะของโลกตะวันตกตลอดมา




Emperor Constantine
เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ
    ่
       จนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อันเป็นยุคทองของศิลปะและ
วัฒนธรรมทุกแขนงของโลกตะวันตก จัดได้ว่ายุคนี้เป็นยุครวม
ศิลปินอัจฉริยะ เช่น จอตโต (Giotto) มาซาชโช (Masaccio) บอตตี
 เชลลี (Botticelli) เลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) มีเกลัน
เจโล (Michelangel) ราฟาเอล (Raphael) เป็นต้น ผลงานของศิลปิน
 เหล่านี้ส่วนใหญ่ถ่ายทอดเรื่องราวหรือได้แรงบันดาลใจจาก
   พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ได้รับการยกย่องให้เป็นงานชันครู    ้




                                         Maurice : Madonna and Child
      Giotto : e Lamentation (aka         with St. Stephen Jerome and
               Mourning of Christ                             by Titian
เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ
    ่
       จนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อันเป็นยุคทองของศิลปะและ
วัฒนธรรมทุกแขนงของโลกตะวันตก จัดได้ว่ายุคนี้เป็นยุครวม
ศิลปินอัจฉริยะ เช่น จอตโต (Giotto) มาซาชโช (Masaccio) บอตตี
 เชลลี (Botticelli) เลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) มีเกลัน
เจโล (Michelangel) ราฟาเอล (Raphael) เป็นต้น ผลงานของศิลปิน
 เหล่านี้ส่วนใหญ่ถ่ายทอดเรื่องราวหรือได้แรงบันดาลใจจาก
   พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ได้รับการยกย่องให้เป็นงานชันครู    ้




              Botticelli : Young-woman     Ginevra : Leonardo da Vinci
เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ
    ่
       จนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อันเป็นยุคทองของศิลปะและ
วัฒนธรรมทุกแขนงของโลกตะวันตก จัดได้ว่ายุคนี้เป็นยุครวม
ศิลปินอัจฉริยะ เช่น จอตโต (Giotto) มาซาชโช (Masaccio) บอตตี
 เชลลี (Botticelli) เลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) มีเกลัน
   เจโล (Michelangelo) ราฟาเอล (Raphael) เป็นต้น ผลงานของ
ศิลปินเหล่านี้ส่วนใหญ่ถายทอดเรื่องราวหรือได้แรงบันดาลใจ
                          ่
จากพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ได้รับการยกย่องให้เป็นงานชั้นครู




              Michelangelo : Death Of Socrates   Raphael : Raphael and Pintoricchi
สัญลักษณ์และความหมายในคริสต์ศลป์
                             ิ
       ผี เ สื ้ อ (Butterfly) หมายถึง การเกิดใหม่
       ของมวลมนุษย์ สัญลักษณ์ของวัฎจักร
      แห่งชีวิต ได้แก่ ชีวิต ความตายและการ
                            เกิดใหม่
            สิ ง โต (Lion) โดยทัวไปสิงโตเป็น
                                   ่
      สัญลักษณ์ของอำานาจ ความเป็นกษัตริย์
          ความกล้าหาญและความแข็งแกร่ง
      นกฟี น ิ ก ส์ (Phoenix) เป็นนกในปกรณัม ซึงมี ่
          ลักษณะงดงามมาก นกฟีนกซ์มช่วงอายุ
                                         ิ   ี
         ประมาณ 300 – 500 ปี มันจะเผาตนเองบน
       กองกูณฑ์ทใช้เผาศพเป็นครั้งคราว แล้วจะ
                        ี่
      แมงมุ มดใหม่จากกองขี้เถ้าของตนเอง
               เกิ (Spider) เป็น
      สัญลักษณ์ของคน
      ตระหนีที่คอยสูบเลือดผู้
                  ่
      อื่น
สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละความหมายของดอกไม้
ต้ น และพื ช      (Flowers, Trees and Plants)

        แอปเปิ ล (Apple) ในภาษาละตินคำาทีมความหมาย    ่ ี
           ว่า แอปเปิลและความชั่วร้ายสะกดเหมือนกัน
             แอปเปิลเป็นผลของต้นไม้แห่งความรอบรู้
         ลิ ล ี แ ห่ ง หุ บ เขา (Lily of the Valley) เป็นดอกไม้ที่
        ประกาศถึงการกลับมาของฤดูใบไม้ผลิ เนื่องจาก
        เป็นหนึ่งในดอกไม้ทผลิบานก่อนดอกไม้ชนิดอื่น
                                   ี่
        เป็นดอกไม้ทมกลิ่นหอมและมีสีขาวบริสุทธิ์ จึงใช้
                           ี่ ี
             เป็นสัญลักษณ์ของพระแม่มารีย์ผู้บริสุทธิ์
         กุ ห ลาบ (Rose) ตามคติของชาวโรมัน ดอก
          กุหลาบเป็นสัญลักษณ์ของชัยชนะ ความ
          หยิงผยองและชัยชนะทีมต่อความรัก เป็น
                ่                         ่ ี
         ดอกไม้องค์เทวีวีนสผู้เป็นเทวีแห่งความรัก
                                 ั
ไข่ ม ุ ก (Pearl) เครื่องประดับทีมค่าทีสุด ใช้เป็น
                                     ่ ี ่
สัญลักษณ์ของการหลุดพ้นจากบาป ซึ่งถือว่า
        มีค่ายิ่งกว่าทรัพย์สินทังปวงทางโลก
                                   ้
รุ ้ ง กิ น นำ ้ า (Rainbow) เป็นสัญลักษณ์ของการ
รวมเป็นอันหนึย์อันเดียวกัน น ทร์ (Sun and
      ดวงอาทิ ต ง แ ละดวงจั
                      ่
Moon) ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์มกปรากฏใน
                             ั
 รูปการตรึงกางเขน เพื่อแสดงถึงความโศก
 เศร้าของสรรพสิ่งทั้งมวลต่อความตายของ
                 พระคริสต์
 ทอง (Gold) เป็นวัตถุที่มแสงเรืองรอง
                         ี
  จึงใช้เป็นสัญลักษณ์ของแสงสว่าง
       ความมันคงในทางโลก
               ่
คำ า ถามท้ า ยบท
(Quiz)
Faculty of arts and Design
Rangsit University
บทที่ 2

More Related Content

What's hot

ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้SeeGrundy
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)Heritagecivil Kasetsart
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์sasi SAsi
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะBordin Sirikase
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงHeeroyuy Heero
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์พัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาPuchida Saingchin
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
สมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยา
สมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยาสมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยา
สมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยาPattharapong Sirisuwan
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาPadvee Academy
 

What's hot (19)

ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
สมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยา
สมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยาสมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยา
สมัยล้านนา หรือ เชียงแสน, สุโขทัย, อยุธยา
 
Content06
Content06Content06
Content06
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 

Viewers also liked

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
Failure, frustration, insight
Failure, frustration, insightFailure, frustration, insight
Failure, frustration, insightTaras Korol
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์PomPam Comsci
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
ทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltNusaiMath
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้name_bwn
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryearlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์Roiyan111
 

Viewers also liked (10)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
Failure, frustration, insight
Failure, frustration, insightFailure, frustration, insight
Failure, frustration, insight
 
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีจิตวิทยาของกลุ่มเกสตัลท์
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
ทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestaltทฤษฎีของGestalt
ทฤษฎีของGestalt
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเกสตัลท์
 

Similar to บทที่ 2

ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4peter dontoom
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
9789740333524
97897403335249789740333524
9789740333524CUPress
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3peter dontoom
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640CUPress
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์Mim Papatchaya
 

Similar to บทที่ 2 (20)

Content06
Content06Content06
Content06
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
Content04
Content04Content04
Content04
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
9789740333524
97897403335249789740333524
9789740333524
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
Content05
Content05Content05
Content05
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
Content 05final
Content 05finalContent 05final
Content 05final
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
Thai Fresh Wreath
Thai Fresh WreathThai Fresh Wreath
Thai Fresh Wreath
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
Representation
RepresentationRepresentation
Representation
 
บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์บิดาศาสตร์
บิดาศาสตร์
 

More from ครุศิลปะสร้างสรรค์งานศิลป์ กับศิลป (8)

Content11
Content11Content11
Content11
 
Content08 part02
Content08 part02Content08 part02
Content08 part02
 
Content08 part01
Content08 part01Content08 part01
Content08 part01
 
Content07
Content07Content07
Content07
 
Content08 part02
Content08 part02Content08 part02
Content08 part02
 
Content08 part01
Content08 part01Content08 part01
Content08 part01
 
Content07
Content07Content07
Content07
 
Content03
Content03Content03
Content03
 

บทที่ 2

  • 1.
  • 2.
  • 3. การรั บ รู ้ (Perception) คือ อาการสัมผัสที่มีความหมาย (Sensation) เป็นการแปลหรือตีความแห่งการสัมผัสที่ได้รับ ออกมาเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีความหมายเป็นที่รู้จักและเข้าใจ ซึ่งการแปล การสัมผัสนั้นจำาเป็นที่อินทรีย์ต้องใช้ ประสบการณ์เดิม ภาวะการรั บ รู ้ เมื่อเราได้รับสื่อดลใจ จะรู้สึกเป็น อันดับแรก หลังจากนั้นจึงรับรู้ (To perceive) ผ่านกลไกของสมอง แล้วจึงสร้างภาพขึ้นในสมอง มนุษย์มี ‘ประตู’ Optical Illusion Vase
  • 4. การรั บ รู ้ ท างศิ ล ปะ การสร้างสรรค์ศิลปะจะขาดสิ่ง สำาคัญประการหนึ่งไม่ได้ คือ จิตสำานึกสุนทรียะ (Aesthetic mind) หรือมีความงามในจิตใจ ส่งผลให้สร้างงานได้ดีกว่า โดยอาจ ศึกษาในสถาบันการศึกษาทางศิลปะหรือพัฒนาฝึกฝนด้วยตัว เอง ด้วยการพัฒนากระบวนการความรู้สึกสัมผัส ทั้งด้านการ เห็น การได้ยิน การสัมผัส การได้กลิ่น ซึ่งเชื่อว่าความรู้สึก สัมผัสทั้งหมดนั้น ย่อมส่งผลไปสู่การรับรู้รส (Holistic sensibility)
  • 5. การรั บ รู ้ ท างศิ ล ปะ การสร้างสรรค์ศิลปะจะขาดสิ่ง สำาคัญประการหนึ่งไม่ได้ คือ จิตสำานึกสุนทรียะ (Aesthetic mind) หรือมีความงามในจิตใจ ส่งผลให้สร้างงานได้ดีกว่า โดยอาจ ศึกษาในสถาบันการศึกษาทางศิลปะหรือพัฒนาฝึกฝนด้วยตัว เอง ด้วยการพัฒนากระบวนการความรู้สึกสัมผัส ทั้งด้านการ เห็น การได้ยิน การสัมผัส การได้กลิ่น ซึ่งเชื่อว่าความรู้สึก สัมผัสทั้งหมดนั้น ย่อมส่งผลไปสู่การรับรู้รส (Holistic sensibility)
  • 6. การรั บ รู ้ ก ั บ จิ ต วิ ท ยา การรับรู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ จิตวิทยาเป็นอย่างมาก เมื่อต้นศตวรรษที่ 20 ในประเทศ เยอรมนี มีผู้วางรากฐานความคิดเกี่ยวกับขบวนการเกสตอลท์ (Gestalt Movement) ได้แก่ แมกซี แอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) วูลฟ์กาง โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) เคิร์ท คอฟฟ์คา (Kurt koffka) และรูดอล์ฟ อาร์นไฮม์ (Rudolf arnheim)
  • 7. ทฤษฎีเกสตอลท์ กล่าวว่า การรับรู้ไม่ใช่การอนุมาน หรือการคาดเดา ผู้รับรู้จะปรับข้อมูลเข้าไปสู่ความรู้สึกสัมผัส ข้อมูลที่เข้ามามิได้ปรับด้วยความรู้ แต่ด้วยการทำางานบนหลัก การรับรู้ที่เรียกว่า “หลักของความง่าย” (Simplicity principle) นักจิตวิทยาเกสตอลท์ พบว่า การมองเห็นจะค้นหา สภาพส่วนรวมที่เป็นเอกภาพ (Unified whole) หรืออาจเรียกว่า เกสตอลท์
  • 8. หลักการของเกสตอลท์ ท ความคล้ายคลึง (Similarity) เมื่อเรามองสิ่งต่าง ๆ ที่มีความ คล้ายคลึงกัน โดยปกติเราจะจัดกลุ่มมันเข้าด้วยกัน อาจจะเป็น สภาพคล้ายคลึงของรูปร่าง ขนาด สี ตำาแหน่งของทีว่าง มุม ่
  • 9. หลักการของเกสตอลท์ 2. ความใกล้เคียง (Proximity) การจัดกลุ่มสิ่งทีคล้ายคลึงกัน ่ เข้าไว้ด้วยกัน เรียกว่า ความใกล้กัน สิ่งทีใกล้กัน 2 สิ่งขึ้นไป เราจะ ่ มองเห็นเป็นกลุ่ม
  • 10. หลักการของเกสตอลท์ 3. ความต่อเนื่อง (continuation) ตามธรรมชาติตาของมนุษย์จะดู ติดตามเส้นตรงหรือแนวโค้ง ความต่อเนื่องจะปรากฎเมื่อสายตา ติดตามเส้นตรงหรือแนวโค้งไปอย่างนุ่มนวล ความต่อเนื่องจะช่วย เน้นการเคลื่อนไหวและพลังบนพื้นภาพได้อย่างดี
  • 11. หลักการของเกสตอลท์ 4. ความใกล้ชิด (Closure) รูปร่างหรือรูปทรงที่มี่ความคุ้นเคย ย่อม ให้ความรู้สึกสมบูรณ์มากกว่ารูปร่างหรือรูปทรงที่ไม่คุ้นเคย ถ้าความ ใกล้ชิดเกิดขึ้นอย่างง่ายดายหรือง่ายเกินไป ความรู้สึกน่าเบื่ออาจจะ เกิดขึ้นด้วย
  • 12. สัญลักษณ์และการแสดงออก ความหมายของสัญลักษณ์ The Oxford English Dictionary ให้ความหมายคำาว่า Symbols ไว้ 2 ความหมายคือ สิ่งซึ่งเป็นตัวแทนของสิ่งอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุซึ่ง เป็นตัวแทนของสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม า ตัวอักษรที่เขียนขึ้นหรือเครื่องหมาย (Mark) ที่ใช้เป็น ตัวแทนบางสิ่งบางอย่าง เช่น ตัวอักษร รูปร่าง หรือ เครืองหมาย (Sign) แทนวัตถุกระบวนการบางอย่าง เป็นต้น ่
  • 13. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ มนุษย์รู้จักการใช้สัญลักษณ์ในการสื่อสารมาตั้งแต่ยุค หิน โดยการใช้ภาษาท่าทางเป็นสัญลักษณ์ เช่น การใช้ควัน ไฟ การขีดเขียนบนก้อนหินบนผนังถำ้า และมีการเริ่มสร้างรูป ร่างรูปทรงเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายต่าง ๆ เมื่อ 4,000 – 5,000 ปี ก่อนคริสตกาล
  • 14. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ ปี ต่อมาชาวอียิปต์ในสมัยราชวงค์ที่หนึ่ง เริ่มมีการใช้ ตัวอักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) และเฮียราติก (Hieratic) คือ ใช้ภาพแทนความหมาย ใช้ภาพแทนตัวพยัญชนะ และใช้ภาพ แทนความคิด (Ideography) เช่น ขาหน้าของสิงโตหมายถึง ความ ยิ่งใหญ่ Queen Nefertari's tomb has hieroglyphs and a picture of her playing chess.
  • 15. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ ยุคมืดของยุโรปในศตวรรษที่ 14 การใช้สัญลักษณ์หาย ไปช่วงหนึ่ง แต่มีระบบการใช้สัญลักษณ์ในหมู่ทหารและ บรรดาอัศวิน
  • 16. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ ในศตวรรษที่ 15 มีการสร้างระบบการพิมพ์ขึ้นในยุโรป จึงมีการใช้เครื่องหมายผู้พิมพ์ (Publisher imprints) สำาหรับงาน พิมพ์บนหนังสือ ในศตวรรษที่ 16 -17 ถือว่าเป็นยุคทองของ สัญลักษณ์ทางงานฝีมือ มีการออกแบบเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ขึ้นใช้มากมายด้วยฝีมือที่สวยงามประณีต และใน ศตวรรษที่ 18 การเพิ่มจำานวนการติดต่อค้าขายระหว่าง ประเทศมากขึ้น การประทับตราจึงมีมากตาม
  • 17. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ปีค.ศ. 1919 Walter Gropius ได้ ก่อตั้งโรงเรียน Bauhaus โดยมุ่งเน้นการหลอมรวมแนวคิดทาง ศิลปะและหัตถกรรม ทำาให้การออกแบบสัญลักษณ์พัฒนาขึ้น มาก เช่น กลุม Art and craft, Surrealism, Bauhaus, Art Deco, Pop Art ่ และ op Art Walter Gropius Bauhaus institute
  • 18. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ปีค.ศ. 1919 Walter Gropius ได้ ก่อตั้งโรงเรียน Bauhaus โดยมุ่งเน้นการหลอมรวมแนวคิดทาง ศิลปะและหัตถกรรม ทำาให้การออกแบบสัญลักษณ์พัฒนาขึ้น มาก เช่น กลุม Art and craft, Surrealism, Bauhaus, Art Deco, Pop Art ่ และ op Art
  • 19. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ จนกระทั่งในศตวรรษที่ 20 ปีค.ศ. 1919 Walter Gropius ได้ ก่อตั้งโรงเรียน Bauhaus โดยมุ่งเน้นการหลอมรวมแนวคิดทาง ศิลปะและหัตถกรรม ทำาให้การออกแบบสัญลักษณ์พัฒนาขึ้น มาก เช่น กลุม Art and craft, Surrealism, Bauhaus, Art Deco, Pop Art ่ และ op Art Art Deco Pop Art Op Art
  • 20. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ ด้านสัญลักษณ์ที่ปรากฏทางแถบเอเชีย ถือว่าจีนเป็น ประเทศแรกที่มีวัฒนธรรมการใช้สัญลักษณ์ก่อนประเทศใด เห็นได้จากอักษรจีนที่ดัดแปลงจากรูปภาพทั้งสิ้น ในราช สำานักจีนมีการใช้ตราประทับสำาหรับพระมหากษัตริย์ Custom Seal Carving Dragon & Phoenix
  • 21. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ ด้านสัญลักษณ์ในประเทศไทย พบว่ามีการรูจักคิดค้น ้ สัญลักษณ์หญิงชายที่ถำ้าผาลาย จังหวัดสกลนคร ภาพคลื่นที่ ผาแต้มโขงเจียม สมัยอาณาจักรลพบุรี มีรปลวดลายหลาก ู หลายปรากฏอยู่บนเงินตราที่ใช้แลกเปลี่ยนทางการค้า สะท้อนให้เห็นสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติสภาพแวดล้อม ความเป็น อยู่ ความเชื่อ คติทางศาสนา มีสัญลักษณ์รูปพระอาทิตย์ พระจันทร์ ปลา กระต่ายบนดอกบัว Phalai’s cave painting Phatam’s cave painting
  • 22. ประวัตความเป็นมาของสัญลักษณ์ ิ สัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่วิวฒนาการมาตั้งแต่สมัยทวา ั ราวดี สุโขทัย อยุธยา จนสมัยรัตนโกสินทร์ คือรอย พระพุทธบาท เป็นการสร้างสัญลักษณ์มงคล 108 หมายถึง ความเจริญโชคลาภ ความอุดมสมบูรณ์หรือเกียวข้องกับ ่ จักรวาล Buddha's footprint Buddha's footprint Kamol Tasanarelai Buddhapada 17th -18th century
  • 23. เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ ่ นับตั้งแต่จักรพรรดิคอนสแตนตินทรงประกาศให้คริสต์ ศาสนาเป็นศาสนาหนึ่งในจักรวรรดิโรมันที่ได้รับการยอมรับ อย่างเป็นทางการตั้งแต่ ค.ศ. 325 เป็นต้นมา ศาสนาคริสต์กมี ็ อิทธิพลครอบงำาชีวิต วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ปรัชญา วรรณคดีและศิลปะของโลกตะวันตกตลอดมา Emperor Constantine
  • 24. เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ ่ จนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อันเป็นยุคทองของศิลปะและ วัฒนธรรมทุกแขนงของโลกตะวันตก จัดได้ว่ายุคนี้เป็นยุครวม ศิลปินอัจฉริยะ เช่น จอตโต (Giotto) มาซาชโช (Masaccio) บอตตี เชลลี (Botticelli) เลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) มีเกลัน เจโล (Michelangel) ราฟาเอล (Raphael) เป็นต้น ผลงานของศิลปิน เหล่านี้ส่วนใหญ่ถ่ายทอดเรื่องราวหรือได้แรงบันดาลใจจาก พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ได้รับการยกย่องให้เป็นงานชันครู ้ Maurice : Madonna and Child Giotto : e Lamentation (aka with St. Stephen Jerome and Mourning of Christ by Titian
  • 25. เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ ่ จนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อันเป็นยุคทองของศิลปะและ วัฒนธรรมทุกแขนงของโลกตะวันตก จัดได้ว่ายุคนี้เป็นยุครวม ศิลปินอัจฉริยะ เช่น จอตโต (Giotto) มาซาชโช (Masaccio) บอตตี เชลลี (Botticelli) เลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) มีเกลัน เจโล (Michelangel) ราฟาเอล (Raphael) เป็นต้น ผลงานของศิลปิน เหล่านี้ส่วนใหญ่ถ่ายทอดเรื่องราวหรือได้แรงบันดาลใจจาก พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ได้รับการยกย่องให้เป็นงานชันครู ้ Botticelli : Young-woman Ginevra : Leonardo da Vinci
  • 26. เครืองหมายและสัญลักษณ์ในงานศิลปะ ่ จนถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา อันเป็นยุคทองของศิลปะและ วัฒนธรรมทุกแขนงของโลกตะวันตก จัดได้ว่ายุคนี้เป็นยุครวม ศิลปินอัจฉริยะ เช่น จอตโต (Giotto) มาซาชโช (Masaccio) บอตตี เชลลี (Botticelli) เลโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) มีเกลัน เจโล (Michelangelo) ราฟาเอล (Raphael) เป็นต้น ผลงานของ ศิลปินเหล่านี้ส่วนใหญ่ถายทอดเรื่องราวหรือได้แรงบันดาลใจ ่ จากพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ได้รับการยกย่องให้เป็นงานชั้นครู Michelangelo : Death Of Socrates Raphael : Raphael and Pintoricchi
  • 27. สัญลักษณ์และความหมายในคริสต์ศลป์ ิ ผี เ สื ้ อ (Butterfly) หมายถึง การเกิดใหม่ ของมวลมนุษย์ สัญลักษณ์ของวัฎจักร แห่งชีวิต ได้แก่ ชีวิต ความตายและการ เกิดใหม่ สิ ง โต (Lion) โดยทัวไปสิงโตเป็น ่ สัญลักษณ์ของอำานาจ ความเป็นกษัตริย์ ความกล้าหาญและความแข็งแกร่ง นกฟี น ิ ก ส์ (Phoenix) เป็นนกในปกรณัม ซึงมี ่ ลักษณะงดงามมาก นกฟีนกซ์มช่วงอายุ ิ ี ประมาณ 300 – 500 ปี มันจะเผาตนเองบน กองกูณฑ์ทใช้เผาศพเป็นครั้งคราว แล้วจะ ี่ แมงมุ มดใหม่จากกองขี้เถ้าของตนเอง เกิ (Spider) เป็น สัญลักษณ์ของคน ตระหนีที่คอยสูบเลือดผู้ ่ อื่น
  • 28. สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละความหมายของดอกไม้ ต้ น และพื ช (Flowers, Trees and Plants) แอปเปิ ล (Apple) ในภาษาละตินคำาทีมความหมาย ่ ี ว่า แอปเปิลและความชั่วร้ายสะกดเหมือนกัน แอปเปิลเป็นผลของต้นไม้แห่งความรอบรู้ ลิ ล ี แ ห่ ง หุ บ เขา (Lily of the Valley) เป็นดอกไม้ที่ ประกาศถึงการกลับมาของฤดูใบไม้ผลิ เนื่องจาก เป็นหนึ่งในดอกไม้ทผลิบานก่อนดอกไม้ชนิดอื่น ี่ เป็นดอกไม้ทมกลิ่นหอมและมีสีขาวบริสุทธิ์ จึงใช้ ี่ ี เป็นสัญลักษณ์ของพระแม่มารีย์ผู้บริสุทธิ์ กุ ห ลาบ (Rose) ตามคติของชาวโรมัน ดอก กุหลาบเป็นสัญลักษณ์ของชัยชนะ ความ หยิงผยองและชัยชนะทีมต่อความรัก เป็น ่ ่ ี ดอกไม้องค์เทวีวีนสผู้เป็นเทวีแห่งความรัก ั
  • 29. ไข่ ม ุ ก (Pearl) เครื่องประดับทีมค่าทีสุด ใช้เป็น ่ ี ่ สัญลักษณ์ของการหลุดพ้นจากบาป ซึ่งถือว่า มีค่ายิ่งกว่าทรัพย์สินทังปวงทางโลก ้ รุ ้ ง กิ น นำ ้ า (Rainbow) เป็นสัญลักษณ์ของการ รวมเป็นอันหนึย์อันเดียวกัน น ทร์ (Sun and ดวงอาทิ ต ง แ ละดวงจั ่ Moon) ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์มกปรากฏใน ั รูปการตรึงกางเขน เพื่อแสดงถึงความโศก เศร้าของสรรพสิ่งทั้งมวลต่อความตายของ พระคริสต์ ทอง (Gold) เป็นวัตถุที่มแสงเรืองรอง ี จึงใช้เป็นสัญลักษณ์ของแสงสว่าง ความมันคงในทางโลก ่
  • 30. คำ า ถามท้ า ยบท (Quiz)
  • 31. Faculty of arts and Design Rangsit University