SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
7. ความจริงเสมือนเพื่อการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ แนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ขนาดใหญ่ 
นวรัตน์ แซ่โค้ว 
บทคัดย่อ 
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหาคุณภาพและประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบ ความจริง เสมือน เรื่องการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยตั้งสมมติฐานไว้ว่า บทเรียน มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพในระดับดี และมีประสิทธิภาพไม่ต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 ประชากรที่ใช้ใน การวิจัยนี้ เป็นนักศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเอกชน 2 สถาบัน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง จากการสุ่มกลุ่ม ประชากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จานวน 160 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จานวน 4 หน่วย รวม 40 ข้อ โดย ผ่านการหาค่าความสอดคล้องและค่าความยากง่าย รวมทั้งอานาจการจาแนก ผลการวิจัย พบว่า 1. การพัฒนาบทเรียน มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบความจริงเสมือน เรื่องแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.92 / 84.44 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลัง เรียนด้วยมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบ ความจริงเสมือนสูงกว่าก่อนเรียน 3. การหาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี ต่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบความจริง เสมือนอยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยต่อความพึงพอใจร้อยละ 60.8 %. 
ABSTRACT 
The purposes of this research were to develop and study for determining quality and efficiency of Computer - Assisted Instruction (CAI) Interactive Multimedia Virtual Courseware program in teaching “Introduction Hardware For Personal Computer”. The research hypotheses were set to determine the lesson’s quality to be in a good level and the efficiency of the lesson would not be lower than the criteria of 80/80. Populations in this research were 160 students of undergraduate at 2 big Private universities by the selected samples from the distribution of population big size Private universities is in the first semester of 2011 academic year. The instruments of the research were 4 units of lesson and Pretest-Posttest 40 choice by the 
researcher. The instruments were evaluated for the validity, difficulty and discrimination. The results of the research were as follows: 1. The efficiency of Assisted Instruction (CAI) Interactive Multimedia Virtual Courseware program in teaching “Introduction Hardware Personal Computer” was 87.92 / 84.44. 2. Learning achievement improvement of the after learning was higher than the before. Mostly of students satisfied the lesson at the high level with the average score was 60.8 %. 
บทนา 
เทคโนโลยีความจริงเสมือน (Virtual Reality) เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้ผู้ใช้เกิดความรู้สึกของการเข้าร่วมอยู่ภายใน สิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้มีอยู่จริงที่สร้างขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ สามารถเลียนการรับรู้สัมผัสของโลกทางกายภาพได้โดยสร้างการ รับรู้หลายทางในสิ่งแวดล้อมสามมิติขึ้นมา โดยใช้จอภาพคอมพิวเตอร์ธรรมดาเพื่อแสดงโลกเสมือนจริง ด้วยเทคนิค ภาพเสมือนจริงในรูปแบบ 3 มิติ ที่มีความแตกต่างเล็กน้อยกับโลกแห่งการมองเห็น จากความสามารถของเทคโนโลยีความ
จริงเสมือนจึงทาให้เกิดแนวคิดเพื่อการผลิตเครื่องมือใช้ในการเรียนการสอนโดนนามาสร้างบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ และจากความสาคัญในการผลิตเครื่องมือเพื่อนามาใช้เป็นบทเรียนดังกล่าวผู้วิจัย ได้เห็นความสาคัญของการพัฒนาสื่อการ สอนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia)ในรูปแบบความจริงเสมือน (Virtual Reality) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ผ่าน อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นสาระสาคัญในการออกแบบและพัฒนาเครื่องมือช่วยการสอน ซึ่งสื่อที่ออกแบบมาจะแตกต่างจาก สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในรูปแบบเดิมที่ส่วนใหญ่มีการนาเสนอในรูปแบบ Presentation หรือ นาเสนอในรูปแบบ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดีโอและเสียง ถึงแม้จะครบตามความเป็นสื่อมัลติมีเดีย แต่ยังขาดการนาเสนอในลักษณะ ความจริงเสมือนที่ผู้ใช้สามารถกาหนดสิ่งต่าง ๆ ของกระบวนการเรียนรู้ที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์ในสิ่งซึ่งผู้ใช้รู้สึกว่าแสดง อยู่ เทคโนโลยีนี้ถูกประดิษฐ์เพื่อทาให้ผู้ใช้สามารถจะจัดการกระบวนการเรียนรู้ได้โดยง่าย การจัดการกราฟิก เสียงและการ สัมผัส รวมทั้งการมองเห็นการปรากฏ จะถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพในการนาเสนอข้อมูล รวมถึงความรู้สึกร่วมกับระบบ ของผู้ใช้ อย่างเช่นการแนะนาให้รู้จักอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในโลกกราฟิก ผู้ใช้จะสามารถจับต้องวัตถุกราฟิก สามารถ เคลื่อนย้ายวัตถุ สามารถเล่นกับวัตถุ ซึ่งทาให้ผู้ใช้เกิดความรู้สึกเหมือนกับว่าได้เข้าไปอยู่ในสถานการณ์นั้นจริง 
จากเหตุผลดังกล่าวเบื้องต้นผู้วิจัยจึงคิดใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสร้างเครื่องมือสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษาด้วยตนเองตามที่ตนเองต้องการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ตลอดเวลา การนาความรู้มาใช้ประโยชน์สูงสุด จึงมีผลในทางที่ดีกับบุคคลนั้น หรือแทนที่นักศึกษาต้องศึกษาหา ความรู้ด้วยตนเองจากหนังสือเรียน ผู้วิจัยจึงใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสร้างเครื่องมือสื่อการเรียนการสอน โดย การศึกษาคุณภาพ ประสิทธิภาพ และผลสัมฤทธิ์จากการใช้เครื่องมือช่วยสอนที่ได้สร้างขึ้นเพื่อจะได้มีเครื่องมือช่วยสอนใน รายวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง การแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตและหากมี บุคคลากรที่เรียนรู้เป็นในองค์กรก็จะนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งถือเป็นองค์ความรู้ที่สาคัญที่จะต้องมีการพัฒนาสื่อ เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และให้มีแนวทางในการพัฒนาเครื่องมือสอนต่อไป 
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาเครื่องมือสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของการใช้สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสื่อการเรียน 
วิธีดาเนินการวิจัย 
ในการดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยมีวิธีการ 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ 
พัฒนาสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริง เสมือน 1. ทาการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รวมทั้งรูปแบบ และองค์ประกอบในการสร้างสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือน จริง หนังสือ ตารา ผลงานวิจัยต่าง ๆ และข้อมูลจากการสืบค้นในฐานข้อมูล รวมทั้งตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ เสมือนจริงที่มีการเผยแพร่อยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แล้วนาข้อมูลที่ได้ไปทาการวิเคราะห์ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การสร้างสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ออกแบบและ เขียนสตอรี่บร์อด สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แล้วนา ไปให้ผู้เชี่ยวชาญทาการประเมิน ทางด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จานวน 3 ท่านเพื่อกาหนดรายละเอียดของเนื้อหา รูปภาพ กราฟิก และภาพเคลื่อนไหว ในการจัดสร้างบทเรียนในสื่อการ เรียนการ สอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ 
หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดีย ปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน 
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จานวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน
เมื่อได้ทาการปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้วมาทาการทดสอบหาประสิทธิภาพของสื่อการ เรียนการ สอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยได้ดาเนินการทดสอบ ตามลาดับขั้น ดังนี้ 
การทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง เป็นการทดสอบรายบุคคลและหลังจากนั้นผู้วิจัยได้ทาการทดสอบกับนักศึกษา กลุ่มย่อยที่มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 1 คน มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบหาข้อบกพร่องของสื่อการเรียน การสอนเสมือนจริงที่สร้างขึ้น โดยจะประเมินผลจากการสังเกต และสัมภาษณ์ความคิดเห็นนักศึกษาในเรื่องปัญหา หรือข้อ สงสัยในขณะที่ทาการฝึกปฏิบัติในสื่อการเรียนการสอนเสมือนจริง เพื่อนาผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง เหมาะสมมากยิ่งขึ้นเพื่อสาหรับใช้ทดลองในขั้นต่อไป 
การทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นกลุ่มย่อย เป็นการทดสอบกับนักศึกษากลุ่มย่อย ที่มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนเสมือนจริงตามที่ได้แก้ไข ข้อบกพร่องจากการทดสอบหาประสิทธิภาพ ขั้นหนึ่งต่อหนึ่งแล้ว โดยได้ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นกลุ่มเล็ก E1/E2 คือ 83.92 / 84.44 แล้วนาผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขเพื่อใช้ในการทดลองขั้นต่อไป 
การทดสอบหาประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยได้นาสื่อการเรียนการสอนเสมือนจริงที่ได้ทาการทดสอบหา ประสิทธิภาพขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง และการทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นกลุ่มย่อย โดยได้รับการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง เรียบร้อยแล้ว ไปทาการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ เสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สร้างขึ้นโดยได้ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพกับกลุ่ม ตัวอย่างเท่ากับ 87.92 / 84.44 ซึ่ง 
การหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอน จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จานวน 3 ท่าน และ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน และหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนจากการทดสอบสื่อกับกลุ่มทดสอบ ดาเนินการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนดังนี้ 
ผู้วิจัยได้ทาการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนที่ได้ผ่านการประเมินความเหมาะสม จาก 
การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริง เสมือนกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 160 คน จากมหาวิทยาลัยเอกชนขนาดใหญ่ จานวน 2 สถาบัน 
ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับ การแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน ได้นาแบบสอบถามความพึงพอใจ ที่ได้สร้างขึ้น ให้นักศึกษาทาการ ประเมิน 
หลังจากที่ได้ศึกษาเนื้อหาจากสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือนจริงครบทุกเนื้อหาแล้ว 
ผลการวิจัย 
ผู้วิจัยแบ่งการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ 
ตอนที่ 1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนสาหรับนักศึกษาปริญญาตรีที่ เรียนในรายวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 
สรุปและวิจารณ์ผล 
ผู้วิจัยมีประเด็นที่นามาเป็นอภิปรายผลโดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน ได้ดังนี้ 
ตอนที่ 1 ผลการพัฒนาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนผ่านเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตด้านคอมพิวเตอร์
ผลการพัฒนาพัฒนาบทเรียนด้านเนื้อหา และด้านการผลิตสื่ออยู่ในระดับ ดี โดยผู้เรียนให้ความสนใจในการศึกษาด้วย บทเรียนการสอนผ่านเว็บ ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะว่าผู้วิจัยได้วิเคราะห์ตามแนวคิดของ (Khan, 1997) ในเรื่องหลักสูตร และ เนื้อหาบทเรียนให้มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และผ่านการกลั่นกรองชี้แนะจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ สอนด้านคอมพิวเตอร์ ทาให้เนื้อหาที่จัดทามีความชัดเจนเรียนรู้ได้เข้าใจง่ายและสอดคล้องกับระดับของผู้เรียน และได้มีการ สอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ จึงได้มีการออกแบบ และจัดสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ ผลการวิจัยของ (กรกชและ สุจิตรา, 2543) ขณะที่คุณภาพด้านเทคนิคการผลิตสื่อ ผู้วิจัยได้ศึกษาและออกแบบบทเรียนตาม หลักทฤษฎีของการออกแบบสื่อการเรียนการสอน ทาให้การวางรูปแบบหน้าจอ และนาเสนอบทเรียนมีความโดดเด่น สามารถเร้าใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนจากเว็บ ที่ศึกษาพบว่าเว็บที่ประสิทธิภาพที่ดีควรเป็นการออกแบบเพื่อ ความสะดวกแก่ผู้เรียนในการเพิ่มพูนความรู้ และเจตคติเชิงบวก 
และผู้วิจัยยังพบว่าผู้เรียนให้ความสนใจในการเข้าเรียน ได้รับความสะดวก ซึ่งไม่จากัดเวลาสถานที่ รวมทั้งผู้เรียนสามารถ ใช้บทเรียนในการทบทวนเนื้อหา และทาแบบทดสอบซ้าจนเกิดความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ (กิดานันท์, 2535) ส่วนเรื่องของการวิเคราะห์การออกแบบลักษณะบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ งานวิจัย (Huan-Wen and Chin-Ming, 2000) ซึ่งพบว่าการกาหนดการมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน ควรที่จะมีวิธีการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ มีปฏิสัมพันธ์การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ควรจะกาหนดให้ผู้เรียนได้มีการปฏิสัมพันธ์ไว้ทั้งหมด 3 รูปแบบ คือ การ ติดต่อกันระหว่างครูและผู้เรียน การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับโปรแกรมที่จัดไว้ 
ตอนที่ 2 ผลการหาประสิทธิภาพของพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนผ่าน เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตด้านคอมพิวเตอร์ 
มีประสิทธิภาพโดยรวมเป็น 87.92 / 84.44 ซึ่งอยู่สูงกว่าเกณฑ์ที่ผู้วิจัยกาหนดไว้คือ 80/80 ทั้งนี้เนื่องจากบทเรียนมัลติมีเดีย ปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นได้มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รวมทั้งรูปแบบและองค์ประกอบของบทเรียน มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน จากเอกสาร ตารา และผลงานวิจัยต่าง ๆ แล้วจึงได้ทาการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ข้อมูลเพื่อนามาสร้างเป็นบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนเพื่อจะใช้เป็นทางเลือกให้เกิดเครื่องมือทาง การศึกษารูปแบบใหม่ด้วยเทคนิคการโลกเสมือนจริงที่นับว่ามีประสิทธิภาพและประโยชน์ต่อการศึกษาโดยอาศัย เทคโนโลยีของความเสมือนจริง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ (ศันสนีย์, 2548) 
ส่วนประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนที่สูงกว่าเกณฑ์เป็นไปตามกระบวนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับ งานวิจัย (อุไรวรรณและคณะ, 2548; นพศักดิ์, 2544) ที่ศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ที่ใช้กับ ระบบอินเทอร์เน็ต ในการเรียนรู้แก่ประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาโดยไม่จากัดด้านเวลา สถานที่ และให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ ทบทวน เนื้อหาได้บ่อยครั้งที่ต้องการ ซึ่งปรากฏ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (E1/E2) สูงกว่าที่กาหนดไว้ในสมมติฐาน ทั้งสิ้น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพภาพของสื่อดังกล่าวว่าสามารถพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง 
ตอนที่ 3 จากผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริง เสมือนผ่านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตด้านคอมพิวเตอร์
เอกสารอ้างอิง 
กรกช วนสวัสดิ์และ สุจิตรา มังคละไชยา. 2543. การสร้างแบบจาลองเสมือนจริงโดยใช้ภาษา VRML (Virtual Reality Model by VRML). ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้า พระนครเหนือ. 
กิดานันท์ มลิทอง. 2535. เทคโนโลยีการศึกษา ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ. ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ. ดวงกมลโพรดักชั่น. 2541. 
ประเสริฐ เคนพันค้อ. 2546. Virtual Laboratory Remotely Controlled via the Internet. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. 3(1): 40 – 43. 
นพศักดิ์ ตันติสัตยานนท์. 2544. การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดีย (MMCAI) วิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตามหลักสูตรสถาบัน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 
นภาภรณ์ ยอดสิน. 2547. ผลของการใช้ภาพพาโนรามาเสมือนในการศึกษานอกสถานที่บนเว็บที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 
นฤมล รอดเนียม. 2546. บทเรียนการสอนผ่านเว็บ เรื่องอินเทอร์เน็ต วิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 
ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์. 2548. การพัฒนาแบบจาลองห้องปฏิบัติการเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบ เครือข่าย อินเทอร์เน็ตในวิชาฟิสิกส์ สาหรับนักศึกษาด้านวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยี การศึกษา) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 
สุมาลี ชัยเจริญ. 2547. ผลการใช้สื่อบนเครือข่ายร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ วิชา 212 501 เทคโนโลยีการสอน ของ นักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารนวัตกรรมการเรียนการ สอน. (กันยายน - ธันวาคม 2547). 13-21. 
เสกสรร สายสีสด. 2545. การพัฒนารูปแบบระบบ การเรียนการสอนโดยใช้อินเทอร์เน็ต สาหรับสถาบันราชภัฎ. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 
อุไรวรรณ วรกุลรังสรรค์ มาลินี สนธิพร และปทุมารียา ธัมมราชิกา. 2548. รายงานการวิจัย เรื่องบทเรียนการสอนผ่านเว็บ วิชาสารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ชุมพร. สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร. 
James L.M. 1999. Utilizing desktop virtual reality to enhance visualization: applied projects from the department of computer Graphics, IV. Third International Conference on Information Visualisation (IV'99). 363 
Khan, B.H. 1997. Web-based instruction. Englewood Cliffs. New Jersey. Educational Technology Publications. 
Huan-Wen, T. and Chin-Ming, T. 2000. Design of a virtual laboratory for teaching electric machinery. Systems, Man, and Cybernetics, 2000 IEEE International Conference

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8aomsin33834
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์peetchinnathan
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์sutham lrp
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2TanakornKhamwang
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาPennapa Boopphacharoensok
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้Nichaya100376
 
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์nobnab_rk
 

What's hot (17)

ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pranpriya605
Pranpriya605Pranpriya605
Pranpriya605
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
 
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Top 5 Tests for Tablet PCs
Top 5 Tests for Tablet PCsTop 5 Tests for Tablet PCs
Top 5 Tests for Tablet PCsJohn Niggl
 
Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014
Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014
Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014pmsheikhhasina
 
18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasina
18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasina18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasina
18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasinapmsheikhhasina
 

Viewers also liked (9)

Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
Top 5 Tests for Tablet PCs
Top 5 Tests for Tablet PCsTop 5 Tests for Tablet PCs
Top 5 Tests for Tablet PCs
 
2
22
2
 
10
1010
10
 
8
88
8
 
3
33
3
 
SIDDESH H S
SIDDESH H SSIDDESH H S
SIDDESH H S
 
Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014
Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014
Publication: Bangladesh on The International Stage in 2014
 
18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasina
18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasina18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasina
18th SAARC summit full Speech By PM Sheikh Hasina
 

Similar to 7

ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4aom08
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4juice1414
 

Similar to 7 (20)

ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
Ratchadaporn605
Ratchadaporn605Ratchadaporn605
Ratchadaporn605
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
02
0202
02
 
Ebook31
Ebook31Ebook31
Ebook31
 
02
0202
02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 

7

  • 1. 7. ความจริงเสมือนเพื่อการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ แนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ขนาดใหญ่ นวรัตน์ แซ่โค้ว บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหาคุณภาพและประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบ ความจริง เสมือน เรื่องการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยตั้งสมมติฐานไว้ว่า บทเรียน มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพในระดับดี และมีประสิทธิภาพไม่ต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 ประชากรที่ใช้ใน การวิจัยนี้ เป็นนักศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเอกชน 2 สถาบัน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง จากการสุ่มกลุ่ม ประชากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จานวน 160 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จานวน 4 หน่วย รวม 40 ข้อ โดย ผ่านการหาค่าความสอดคล้องและค่าความยากง่าย รวมทั้งอานาจการจาแนก ผลการวิจัย พบว่า 1. การพัฒนาบทเรียน มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบความจริงเสมือน เรื่องแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.92 / 84.44 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลัง เรียนด้วยมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบ ความจริงเสมือนสูงกว่าก่อนเรียน 3. การหาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี ต่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบความจริง เสมือนอยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยต่อความพึงพอใจร้อยละ 60.8 %. ABSTRACT The purposes of this research were to develop and study for determining quality and efficiency of Computer - Assisted Instruction (CAI) Interactive Multimedia Virtual Courseware program in teaching “Introduction Hardware For Personal Computer”. The research hypotheses were set to determine the lesson’s quality to be in a good level and the efficiency of the lesson would not be lower than the criteria of 80/80. Populations in this research were 160 students of undergraduate at 2 big Private universities by the selected samples from the distribution of population big size Private universities is in the first semester of 2011 academic year. The instruments of the research were 4 units of lesson and Pretest-Posttest 40 choice by the researcher. The instruments were evaluated for the validity, difficulty and discrimination. The results of the research were as follows: 1. The efficiency of Assisted Instruction (CAI) Interactive Multimedia Virtual Courseware program in teaching “Introduction Hardware Personal Computer” was 87.92 / 84.44. 2. Learning achievement improvement of the after learning was higher than the before. Mostly of students satisfied the lesson at the high level with the average score was 60.8 %. บทนา เทคโนโลยีความจริงเสมือน (Virtual Reality) เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้ผู้ใช้เกิดความรู้สึกของการเข้าร่วมอยู่ภายใน สิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้มีอยู่จริงที่สร้างขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ สามารถเลียนการรับรู้สัมผัสของโลกทางกายภาพได้โดยสร้างการ รับรู้หลายทางในสิ่งแวดล้อมสามมิติขึ้นมา โดยใช้จอภาพคอมพิวเตอร์ธรรมดาเพื่อแสดงโลกเสมือนจริง ด้วยเทคนิค ภาพเสมือนจริงในรูปแบบ 3 มิติ ที่มีความแตกต่างเล็กน้อยกับโลกแห่งการมองเห็น จากความสามารถของเทคโนโลยีความ
  • 2. จริงเสมือนจึงทาให้เกิดแนวคิดเพื่อการผลิตเครื่องมือใช้ในการเรียนการสอนโดนนามาสร้างบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ และจากความสาคัญในการผลิตเครื่องมือเพื่อนามาใช้เป็นบทเรียนดังกล่าวผู้วิจัย ได้เห็นความสาคัญของการพัฒนาสื่อการ สอนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia)ในรูปแบบความจริงเสมือน (Virtual Reality) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ผ่าน อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นสาระสาคัญในการออกแบบและพัฒนาเครื่องมือช่วยการสอน ซึ่งสื่อที่ออกแบบมาจะแตกต่างจาก สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในรูปแบบเดิมที่ส่วนใหญ่มีการนาเสนอในรูปแบบ Presentation หรือ นาเสนอในรูปแบบ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดีโอและเสียง ถึงแม้จะครบตามความเป็นสื่อมัลติมีเดีย แต่ยังขาดการนาเสนอในลักษณะ ความจริงเสมือนที่ผู้ใช้สามารถกาหนดสิ่งต่าง ๆ ของกระบวนการเรียนรู้ที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์ในสิ่งซึ่งผู้ใช้รู้สึกว่าแสดง อยู่ เทคโนโลยีนี้ถูกประดิษฐ์เพื่อทาให้ผู้ใช้สามารถจะจัดการกระบวนการเรียนรู้ได้โดยง่าย การจัดการกราฟิก เสียงและการ สัมผัส รวมทั้งการมองเห็นการปรากฏ จะถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพในการนาเสนอข้อมูล รวมถึงความรู้สึกร่วมกับระบบ ของผู้ใช้ อย่างเช่นการแนะนาให้รู้จักอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในโลกกราฟิก ผู้ใช้จะสามารถจับต้องวัตถุกราฟิก สามารถ เคลื่อนย้ายวัตถุ สามารถเล่นกับวัตถุ ซึ่งทาให้ผู้ใช้เกิดความรู้สึกเหมือนกับว่าได้เข้าไปอยู่ในสถานการณ์นั้นจริง จากเหตุผลดังกล่าวเบื้องต้นผู้วิจัยจึงคิดใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสร้างเครื่องมือสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษาด้วยตนเองตามที่ตนเองต้องการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ตลอดเวลา การนาความรู้มาใช้ประโยชน์สูงสุด จึงมีผลในทางที่ดีกับบุคคลนั้น หรือแทนที่นักศึกษาต้องศึกษาหา ความรู้ด้วยตนเองจากหนังสือเรียน ผู้วิจัยจึงใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการสร้างเครื่องมือสื่อการเรียนการสอน โดย การศึกษาคุณภาพ ประสิทธิภาพ และผลสัมฤทธิ์จากการใช้เครื่องมือช่วยสอนที่ได้สร้างขึ้นเพื่อจะได้มีเครื่องมือช่วยสอนใน รายวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง การแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตและหากมี บุคคลากรที่เรียนรู้เป็นในองค์กรก็จะนาไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งถือเป็นองค์ความรู้ที่สาคัญที่จะต้องมีการพัฒนาสื่อ เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และให้มีแนวทางในการพัฒนาเครื่องมือสอนต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาเครื่องมือสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของการใช้สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสื่อการเรียน วิธีดาเนินการวิจัย ในการดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยมีวิธีการ 4 ขั้นตอน ดังนี้คือ พัฒนาสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริง เสมือน 1. ทาการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รวมทั้งรูปแบบ และองค์ประกอบในการสร้างสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือน จริง หนังสือ ตารา ผลงานวิจัยต่าง ๆ และข้อมูลจากการสืบค้นในฐานข้อมูล รวมทั้งตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ เสมือนจริงที่มีการเผยแพร่อยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แล้วนาข้อมูลที่ได้ไปทาการวิเคราะห์ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การสร้างสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ออกแบบและ เขียนสตอรี่บร์อด สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แล้วนา ไปให้ผู้เชี่ยวชาญทาการประเมิน ทางด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จานวน 3 ท่านเพื่อกาหนดรายละเอียดของเนื้อหา รูปภาพ กราฟิก และภาพเคลื่อนไหว ในการจัดสร้างบทเรียนในสื่อการ เรียนการ สอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญ หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดีย ปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จานวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน
  • 3. เมื่อได้ทาการปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้วมาทาการทดสอบหาประสิทธิภาพของสื่อการ เรียนการ สอนในรูปแบบเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยได้ดาเนินการทดสอบ ตามลาดับขั้น ดังนี้ การทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง เป็นการทดสอบรายบุคคลและหลังจากนั้นผู้วิจัยได้ทาการทดสอบกับนักศึกษา กลุ่มย่อยที่มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 1 คน มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบหาข้อบกพร่องของสื่อการเรียน การสอนเสมือนจริงที่สร้างขึ้น โดยจะประเมินผลจากการสังเกต และสัมภาษณ์ความคิดเห็นนักศึกษาในเรื่องปัญหา หรือข้อ สงสัยในขณะที่ทาการฝึกปฏิบัติในสื่อการเรียนการสอนเสมือนจริง เพื่อนาผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง เหมาะสมมากยิ่งขึ้นเพื่อสาหรับใช้ทดลองในขั้นต่อไป การทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นกลุ่มย่อย เป็นการทดสอบกับนักศึกษากลุ่มย่อย ที่มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนเสมือนจริงตามที่ได้แก้ไข ข้อบกพร่องจากการทดสอบหาประสิทธิภาพ ขั้นหนึ่งต่อหนึ่งแล้ว โดยได้ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นกลุ่มเล็ก E1/E2 คือ 83.92 / 84.44 แล้วนาผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขเพื่อใช้ในการทดลองขั้นต่อไป การทดสอบหาประสิทธิภาพกับกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยได้นาสื่อการเรียนการสอนเสมือนจริงที่ได้ทาการทดสอบหา ประสิทธิภาพขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง และการทดสอบหาประสิทธิภาพขั้นกลุ่มย่อย โดยได้รับการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง เรียบร้อยแล้ว ไปทาการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ เสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สร้างขึ้นโดยได้ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพกับกลุ่ม ตัวอย่างเท่ากับ 87.92 / 84.44 ซึ่ง การหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอน จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จานวน 3 ท่าน และ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน และหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนจากการทดสอบสื่อกับกลุ่มทดสอบ ดาเนินการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนดังนี้ ผู้วิจัยได้ทาการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนที่ได้ผ่านการประเมินความเหมาะสม จาก การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริง เสมือนกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 160 คน จากมหาวิทยาลัยเอกชนขนาดใหญ่ จานวน 2 สถาบัน ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับ การแนะนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน ได้นาแบบสอบถามความพึงพอใจ ที่ได้สร้างขึ้น ให้นักศึกษาทาการ ประเมิน หลังจากที่ได้ศึกษาเนื้อหาจากสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเสมือนจริงครบทุกเนื้อหาแล้ว ผลการวิจัย ผู้วิจัยแบ่งการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนสาหรับนักศึกษาปริญญาตรีที่ เรียนในรายวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น สรุปและวิจารณ์ผล ผู้วิจัยมีประเด็นที่นามาเป็นอภิปรายผลโดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน ได้ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการพัฒนาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนผ่านเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตด้านคอมพิวเตอร์
  • 4. ผลการพัฒนาพัฒนาบทเรียนด้านเนื้อหา และด้านการผลิตสื่ออยู่ในระดับ ดี โดยผู้เรียนให้ความสนใจในการศึกษาด้วย บทเรียนการสอนผ่านเว็บ ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะว่าผู้วิจัยได้วิเคราะห์ตามแนวคิดของ (Khan, 1997) ในเรื่องหลักสูตร และ เนื้อหาบทเรียนให้มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และผ่านการกลั่นกรองชี้แนะจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ สอนด้านคอมพิวเตอร์ ทาให้เนื้อหาที่จัดทามีความชัดเจนเรียนรู้ได้เข้าใจง่ายและสอดคล้องกับระดับของผู้เรียน และได้มีการ สอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ จึงได้มีการออกแบบ และจัดสภาพแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ ผลการวิจัยของ (กรกชและ สุจิตรา, 2543) ขณะที่คุณภาพด้านเทคนิคการผลิตสื่อ ผู้วิจัยได้ศึกษาและออกแบบบทเรียนตาม หลักทฤษฎีของการออกแบบสื่อการเรียนการสอน ทาให้การวางรูปแบบหน้าจอ และนาเสนอบทเรียนมีความโดดเด่น สามารถเร้าใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนจากเว็บ ที่ศึกษาพบว่าเว็บที่ประสิทธิภาพที่ดีควรเป็นการออกแบบเพื่อ ความสะดวกแก่ผู้เรียนในการเพิ่มพูนความรู้ และเจตคติเชิงบวก และผู้วิจัยยังพบว่าผู้เรียนให้ความสนใจในการเข้าเรียน ได้รับความสะดวก ซึ่งไม่จากัดเวลาสถานที่ รวมทั้งผู้เรียนสามารถ ใช้บทเรียนในการทบทวนเนื้อหา และทาแบบทดสอบซ้าจนเกิดความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ (กิดานันท์, 2535) ส่วนเรื่องของการวิเคราะห์การออกแบบลักษณะบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ งานวิจัย (Huan-Wen and Chin-Ming, 2000) ซึ่งพบว่าการกาหนดการมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน ควรที่จะมีวิธีการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ มีปฏิสัมพันธ์การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ควรจะกาหนดให้ผู้เรียนได้มีการปฏิสัมพันธ์ไว้ทั้งหมด 3 รูปแบบ คือ การ ติดต่อกันระหว่างครูและผู้เรียน การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับโปรแกรมที่จัดไว้ ตอนที่ 2 ผลการหาประสิทธิภาพของพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนผ่าน เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตด้านคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพโดยรวมเป็น 87.92 / 84.44 ซึ่งอยู่สูงกว่าเกณฑ์ที่ผู้วิจัยกาหนดไว้คือ 80/80 ทั้งนี้เนื่องจากบทเรียนมัลติมีเดีย ปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นได้มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รวมทั้งรูปแบบและองค์ประกอบของบทเรียน มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือน จากเอกสาร ตารา และผลงานวิจัยต่าง ๆ แล้วจึงได้ทาการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ข้อมูลเพื่อนามาสร้างเป็นบทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริงเสมือนเพื่อจะใช้เป็นทางเลือกให้เกิดเครื่องมือทาง การศึกษารูปแบบใหม่ด้วยเทคนิคการโลกเสมือนจริงที่นับว่ามีประสิทธิภาพและประโยชน์ต่อการศึกษาโดยอาศัย เทคโนโลยีของความเสมือนจริง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ (ศันสนีย์, 2548) ส่วนประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนที่สูงกว่าเกณฑ์เป็นไปตามกระบวนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับ งานวิจัย (อุไรวรรณและคณะ, 2548; นพศักดิ์, 2544) ที่ศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ที่ใช้กับ ระบบอินเทอร์เน็ต ในการเรียนรู้แก่ประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาโดยไม่จากัดด้านเวลา สถานที่ และให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ ทบทวน เนื้อหาได้บ่อยครั้งที่ต้องการ ซึ่งปรากฏ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (E1/E2) สูงกว่าที่กาหนดไว้ในสมมติฐาน ทั้งสิ้น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพภาพของสื่อดังกล่าวว่าสามารถพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ตอนที่ 3 จากผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ความจริง เสมือนผ่านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตด้านคอมพิวเตอร์
  • 5. เอกสารอ้างอิง กรกช วนสวัสดิ์และ สุจิตรา มังคละไชยา. 2543. การสร้างแบบจาลองเสมือนจริงโดยใช้ภาษา VRML (Virtual Reality Model by VRML). ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้า พระนครเหนือ. กิดานันท์ มลิทอง. 2535. เทคโนโลยีการศึกษา ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ. ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ. ดวงกมลโพรดักชั่น. 2541. ประเสริฐ เคนพันค้อ. 2546. Virtual Laboratory Remotely Controlled via the Internet. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. 3(1): 40 – 43. นพศักดิ์ ตันติสัตยานนท์. 2544. การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดีย (MMCAI) วิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตามหลักสูตรสถาบัน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. นภาภรณ์ ยอดสิน. 2547. ผลของการใช้ภาพพาโนรามาเสมือนในการศึกษานอกสถานที่บนเว็บที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นฤมล รอดเนียม. 2546. บทเรียนการสอนผ่านเว็บ เรื่องอินเทอร์เน็ต วิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์. 2548. การพัฒนาแบบจาลองห้องปฏิบัติการเสมือนจริงเพื่อการเรียนการสอนผ่านระบบ เครือข่าย อินเทอร์เน็ตในวิชาฟิสิกส์ สาหรับนักศึกษาด้านวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยี การศึกษา) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. สุมาลี ชัยเจริญ. 2547. ผลการใช้สื่อบนเครือข่ายร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ วิชา 212 501 เทคโนโลยีการสอน ของ นักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารนวัตกรรมการเรียนการ สอน. (กันยายน - ธันวาคม 2547). 13-21. เสกสรร สายสีสด. 2545. การพัฒนารูปแบบระบบ การเรียนการสอนโดยใช้อินเทอร์เน็ต สาหรับสถาบันราชภัฎ. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุไรวรรณ วรกุลรังสรรค์ มาลินี สนธิพร และปทุมารียา ธัมมราชิกา. 2548. รายงานการวิจัย เรื่องบทเรียนการสอนผ่านเว็บ วิชาสารนิเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. ชุมพร. สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร. James L.M. 1999. Utilizing desktop virtual reality to enhance visualization: applied projects from the department of computer Graphics, IV. Third International Conference on Information Visualisation (IV'99). 363 Khan, B.H. 1997. Web-based instruction. Englewood Cliffs. New Jersey. Educational Technology Publications. Huan-Wen, T. and Chin-Ming, T. 2000. Design of a virtual laboratory for teaching electric machinery. Systems, Man, and Cybernetics, 2000 IEEE International Conference