SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
บทเรียนสําเร็จรูป
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
วิชาสังคมศึกษาฯ ส 15101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน
โดย
นายประสงค์ ปุกคํา
ตําแหน่ง ครู
โรงเรียนเทศบาล 1 (วัดพรหมวิหาร) อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
กองการศึกษา เทศบาลตําบลแม่สาย
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
คํานํา
ในการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นักเรียนบางคนยังมีความเข้าใจในเนื้อหายังไม่ถูกต้อง และทํา
ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่อนข้างต่ํา ครูผู้สอนจึงได้หาวิธีการให้นักเรียนมีความเข้าใจมากขึ้น โดยทําสื่อการ
เรียนรู้บทเรียนสําเร็จรูป เพื่อนํามาใช้ในการเรียนการสอนกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
บทเรียนสําเร็จรูปนี้ประกอบด้วย สาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด คําชี้แจง แบบทดสอบ
ก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน กรอบความรู้ คําถาม และเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน และเฉลย
แบบทดสอบหลังเรียน เป็นสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพนักเรียนสามารถศึกษาสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของมาตรฐานตัวชี้วัด ให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายเกิดความเพลิดเพลินจากบทเรียน
สําเร็จรูปนี้
ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กรุณาให้คําปรึกษา แนะนํา และเป็นกําลังใจในการจัดทําบทเรียน
สําเร็จรูปเรื่องนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียนสําเร็จรูปนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และผู้ที่สนใจศึกษา
เรื่องราวพัฒนาการสมัยสุโขทัยนี้ด้วย
นายประสงค์ ปุกคํา
บทเรียนสําเร็จรูป
วิชาประวัติศาสตร์ รหัส ส 15101
เรื่อง ธนาคารและการกูยืมเงิน
สาระสําคัญ
ธนาคาร เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการรวบรวมเงินจากผู้ออม เพื่อนําไปให้กู้ยืมในการลงทุนต่างๆ
ส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโตขึ้น การกู้ยืมเงินต้องมีดอกเบี้ย ซึ่งมีทั้งผลดีและผลเสีย
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจําเป็น
ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด
ป.5/1 อธิบายบทบาทหน้าที่เบื้องต้นของธนาคาร
ป.5/2 จําแนกผลดีและผลเสียของการกู้ยืม
คําชี้แจงการใช้บทเรียนสําเร็จรูป
สําหรับนักเรียน
1. บทเรียนสําเร็จรูป เรื่องธนาคารและการกู้ยืมเงิน จัดทําขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาด้วยตนเองใน
การศึกษาบทเรียนโดยนักเรียนต้องปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
2. นักเรียนศึกษาสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของการเรียน เพื่อให้ทราบว่าเมื่อ
นักเรียนได้ศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปจบแล้ว นักเรียนจะได้รับความรู้ตามเนื้อหาสาระตามมาตรฐาน / ตัวชี้วัด
3. ทําแบบทดสอบก่อนเรียนในกระดาษคําตอบที่เตรียมไว้ พร้อมตรวจคําตอบ เพื่อเป็นการทดสอบ
ความรู้พื้นฐานของนักเรียน
4. นักเรียนศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปตามลําดับขั้นตอนทีละกรอบ นักเรียนจะได้รับความรู้ ตอบ
คําถามทบทวนความรู้พร้อมกับตรวจสอบความถูกต้องของคําตอบได้ด้วยตนเอง
5. ถ้านักเรียนตอบผิด ให้นักเรียนย้อนกลับไปอ่านในกรอบความรู้ที่ผ่านมา
6. ทําแบบทดสอบหลังเรียนวัดความรู้ความเข้าใจที่ได้รับ พร้อมตรวจคําตอบเปรียบเทียบการทํา
แบบทดสอบก่อนเรียนให้ทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้
7. นักเรียนจะต้องตั้งใจใฝ่เรียน ใฝ่รู้ ซื่อสัตย์ มีวินัย ไม่เปิดดูเฉลยคําตอบก่อนการตอบคําถาม
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน
คําชี้แจง : ให้นักเรียนท่าเครื่องหมาย (×) ลงในกระดาษคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
**********************************************************************************************
1. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของธนาคารกลาง
ก. เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์
ข. รับฝากเงินจากหน่วยงานของรัฐบาล
ค. ออกธนบัตรหรือพิมพ์ธนบัตร
ง. รับฝากเงินจากประชาชน
2. ธนาคารใดจัดเป็นธนาคารพาณิชย์
ก. ธนาคารกลาง
ข. ธนาคารกรุงเทพ
ค. ธนาคารออมสิน
ง. ธนาคารอาคารสงเคราะห์
3. ธนาคารโดยทั่วไปมีหน้าที่หลักในข้อใด
ก. รับฝากเงินและให้กู้เงิน
ข. ให้คําปรึกษาด้านการเงิน
ค. ให้การสนับสนุนการส่งออก
ง. ให้บริการชําระค่าน้ําประปา
4. หากเรากู้เงินจากธนาคาร เราต้องเสียสิ่งใดให้กับธนาคาร นอกจากเงินต้น
ก. ค่าธรรมเนียม
ข. ค่าเสียเวลา
ค. ค่าบริการ
ง. ดอกเบี้ย
5. ธนาคารใดมีวัตถุประสงค์โดยตรงในการให้กู้เงินเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย
ก. ธนาคารออมสิน
ข. ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ค. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ง. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย
6. ในสัญญากู้เงินไม่จําเป็นต้องมีลายมือชื่อของใคร
ก. ผู้ให้กู้
ข. พยานบุคคล
ค. ผู้สังเกตการณ์
ง. ผู้กู้
37. ข้อใดเป็นผลดีจากการกู้ยืมเงิน
ก. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น
ข. ไม่ต้องทําสัญญาในการกู้ยืมเงิน
ค. สามารถวางแผนการใช้เงินได้อย่างเหมาะสม
ง. ทําให้เกิดนิสัยประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย
8. เมื่อต้องการไปถอนเงินที่ธนาคารเอกสารใดควรเตรียมไปด้วย
ก. บัตรประจําตัวผู้เสียภาษี
ข. สําเนาทะเบียนบ้าน
ค. บัตรเครดิตธนาคาร
ง. สมุดคู่ฝาก
9. การฝากเงินแบบใดที่ผู้ฝากสามารถจ่ายเงินของตนให้กับผู้อื่นด้วยเช็คสั่งจ่าย
ก. เงินฝากออมทรัพย์
ข. เงินฝากประจํา
ค. เงินฝากกระแสรายวัน
ง. เงินฝากออมทรัพย์ 1 ปี
10. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน
ก. ผู้ยืมเงินเรียกว่า ผู้กู้
ข. ผู้ให้ยืมเงินเรียกว่า ผู้ให้กู้
ค. การกู้ยืมเงินจําเป็นต้องมีหลักฐานสัญญาการกู้ยืม
ง. การกู้ยืมเงินในระบบผู้ให้กู้จะต้องคิดอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3.5 บาท ต่อเดือน
กรอบที่ 1
ความหมายและประวัติธนาคารของไทย
ธนาคาร หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรที่ทําหน้าที่รับฝากเงินและให้กู้ยืมเงิน หรือเป็นตัวกลางที่
รับเงินออมจากผู้มีเงินออมต่าง ๆ มาให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืม
เงิน เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคหรือเพื่อการลงทุน
วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2447 ในสมัยรัชกาลที่ 5
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรม
หมื่นมหิศรราชหฤทัย ซึ่งตอนนั้นได้ดํารงตําแหน่ง
เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ได้ทรงก่อตั้ง
บุคคลัภย์ (Book Club) ขึ้นที่ตึกแถวของพระคลังข้างที่
ตําบลบ้านหม้อ กรุงเทพฯ ที่นี่เป็นตันกําเนิดของ
ธนาคารแห่งแรกของไทย คือ แบงก์สยามกัมมาจล หรือ
ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน)ในปัจจุบัน
กรอบคําถามที่ 1
ธนาคารแห่งแรกของไทย
มีชื่อว่าอะไร ?
กรอบที่ 2
คําตอบของกรอบที่ 1
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
ประเภทของธนาคาร
1. ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นสถาบันการเงินที่ทําหน้าที่ควบคุมดูแล
การเงินของประเทศ เป็นนายธนาคารพาณิชย์ และเป็นสถาบันในการบริการควบคุมการเงินในระดับสูงของ
ประเทศ ทําหน้าที่ควบคุมปริมาณเงินและเครดิตในประเทศให้มีความคล่องตัว และมีหน้าที่เป็นผู้นําทางด้าน
การเงินและเครดิตของสถาบันการเงินต่าง ๆ เพื่ออํานวยผลให้เกิดความเจริญเติบโตและพัฒนาการทาง
เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งดําเนินการโดยไม่แสวงหากําไร และไม่แข่งขันกับสถาบันการเงินของเอกชน
หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย
1. ผลิตธนบัตรและออกธนบัตร
2. เป็นนายธนาคารของรัฐบาล (ตัวแทนทางการเงินของรัฐ)
3. รักษาเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ
4. กําหนดนโยบายทางการเงินของประเทศ
5. รักษาเงินทุนสํารองระหว่างประเทศ
6. กําหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
7. ควบคุมดูแลการดําเนินงานของธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินต่าง ๆ
แบงก์สยามกัมมาจล หรือ
ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด
กรอบคําถามที่ 2
สถาบันการเงินใดที่ทําหน้าที่
ควบคุมดูแลการเงินของประเทศ?
กรอบที่ 3
คําตอบของกรอบที่ 2
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
ประเภทของธนาคาร
2. ธนาคารพาณิชย์ เป็นสถาบันทางการเงินที่ทําหน้าที่ระดมเงินฝากจากประชาชน เพื่อให้บุคคล
หรือหน่วยงานธุรกิจกู้ยืม นอกจากนี้ ธนาคารพาณิชย์ยังให้บริการด้านอื่น ๆ ที่อํานวยความสะดวกให้กับ
ธุรกิจการค้าและประชาชน ธนาคารที่จัดตั้งเป็นธนาคารพาณิชย์ เช่น ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย
ธนาคารกสิกรไทย เป็นต้น
หน้าที่สําคัญของธนาคารพาณิชย์
1. รับฝากเงิน ธนาคารพาณิชย์จะรับฝากเงินจากบุคคลและห้างร้านทั่วไป
- ฝากประจํา มีกําหนดแน่นอนให้เจ้าของเงินทวงถาม
- ฝากเผื่อเรียก การจ่ายเงินแก่เจ้าของเงินเมื่อไรก็ตามที่ทวงถาม
- ฝากกระแสรายวัน การจ่ายเงินแก่เจ้าของเงินทวงถามได้ทุกเมื่อด้วยเช็ค
2. สร้างเงินฝาก คือ การนําเงินฝากไปลงทุนต่าง ๆ เช่น ให้กู้ยืม ซื้อหุ้น ซื้อพันธบัตรรัฐบาล ฯลฯ
3. การโอนเงินระหว่างธนาคารในประเทศและระหว่างประเทศ ได้อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย และคิด
ค่าธรรมเนียมการโอนในอัตราต่ํา
4. การเรียกเก็บเงิน โดยเรียกเก็บตามเช็ค ตั๋วเงิน ดร๊าฟ ที่ครบกําหนดโดยลูกค้าไม่ต้องเก็บเงินเอง
5. การให้เช่าตู้นิรภัยเพื่อเก็บรักษาขอมีค่าของลูกค้าที่มาเช่าไว้ เพื่อความปลอดภัยที่มั่นคงของ
ทรัพย์สิน เช่น เอกสารสําคัญ เครื่องประดับที่มีราคาแพง เป็นต้น
6. การบริการเป็นตัวแทน เช่น ซื้อขายหุ้น ชําระค่าทะเบียนรถยนต์ ค่า
น้ําประปา ค่าไฟฟ้า เสียภาษี
7. บริการการค้า เช่น การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ การออกใบค้ํา
ประกันการซื้อขาย
ธนาคารแห่งประเทศไทย
กรอบคําถามที่ 3
ถ้าครอบครัวของนักเรียนมีเครื่องเพชร
ราคาแพง นักเรียนควรใช้บริการใดของ
ธนาคารพาณิชย์อย่างไร ?
กรอบที่ 4
คําตอบของกรอบที่ 3
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
ประเภทของธนาคาร
3. ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษหรือสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เป็นธนาคารหรือสถาบัน
การเงินที่จัดตังขึ้นเพื่อดําเนินการโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง เช่น
1. ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารของรัฐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ.2498 เพื่อนําเงินฝากของประชาชนและ
เป็นแหล่งเงินกู้ภายในประเทศของรัฐบาล เช่นรับฝากเงินประเภทต่างๆ พันธบัตรออมสิน สลากออมสินพิเศษ
เงินฝากสงเคราะห์ชีวิตและครอบครัว เงินฝากเคหะสงเคราะห์ ฯลฯ
2. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.)เป็นธนาคารของรัฐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2496 เพื่อส่งเสริมการนํา
เงินไปลงทุนเกี่ยวกับการซื้อที่ดิน ให้ประชาชนมีบ้านและการสร้างอาคารที่อยู่อาศัย
3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เป็นธนาคารของรัฐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ.
2509 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการเกษตรของประเทศ ให้เกษตรกรกู้ยืมเงินโดยคิดดอกเบี้ยในอัตราต่ํา
4. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการทางด้านการเงินสําหรับชาวไทยมุสลิม
ซึ่งดําเนินการตามหลักของศาสนาอิสลาม
5. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริม สนับสนุน
พัฒนา และให้คําปรึกษาเกี่ยวกับการส่งออกและนําเข้าสินค้า และการลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ
6. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีหน้าที่ในการพัฒนา
ส่งเสริม สนับสนุน ให้สินเชื่อค้ําประกัน ตลอดจนให้คําปรึกษากับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
การให้เช่าตู้นิรภัย
กรอบคําถามที่ 4
ถ้าคุณพอของนักเรียนต้องการที่จะก่อสร้าง
บ้านใหม่ นักเรียนควรจะแนะนําให้คุณพ่อ
ไปปรึกษากับธนาคารใด ?
กรอบที่ 5
คําตอบของกรอบที่ 4
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
ประเภทของธนาคาร
7. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทําหน้าเป็นศูนย์กลางสําหรับการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน
เป็นผู้ให้บริการระบบการซื้อขาย หลักทรัพย์ ธุรกิจเกี่ยวกับการชําระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ ( clearing
house )รับฝากหลักทรัพย์ (securities depository) นายทะเบียน (registrar) และกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
รวมทั้งธุรกิจอื่นๆที่คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต.) อนุมัติ
8. การประกันภัย (Insurance) การประกันภัยเป็นสัญญาโอนการเสี่ยงภัยของตนไปเฉลี่ยให้แก่คนหมู่
มาก โดยมีบริษัทประกันภัยเป็นผู้จัดการและเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน
ตามที่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญา แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1) การประกันชีวิต
2) การประกันวินาศภัย
9. สหกรณ์การเกษตร ตั้งขึ้นเพื่อให้เกษตรกรที่เป็น
สมาชิกช่วยเหลือกันในการเพาะปลูก และจัดการขยาย
ผลผลิตโดยจัดสรรเงินให้สมาชิกกู้
10. สหกรณ์ออมทรัพย์ ตั้งขึ้นรับฝากเงินจากสมาชิกโดยมีดอกเบี้ยตอบแทนแล้วนําเงินให้สมาชิกกู้ยืม
โดยคิดดอกเบี้ยกําไรปันผลตามหุ้นและการใช้บริการ
11. โรงรับจํานํา ตั้งขึ้นเพื่อทําหน้าที่รับจํานําสิ่งของต่าง ๆจากประชาชน โดยตีราคาต่ํากว่ามูลค่าจริง
และมีกําหนดเวลาให้ไถ่ถอน โรงรับจํานําที่ดําเนินการโดยกรมประชาสงเคราะห์ เรียกว่า "สถานธนานุเคราะห์"
ส่วนโรงรับจํานําที่ดําเนินการโดยเทศบาล เรียกว่า "สถานธนานุบาล"
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
กรอบคําถามที่ 5
โรงรับจํานํา มีหน้าที่สําคัญอย่างไร ?
กรอบที่ 6
คําตอบของกรอบที่ 5
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
การฝากเงินและประเภทเงินฝาก
การฝากเงิน คือ การนําเงินของเราไปฝากไว้ที่ธนาคารเพื่อเป็นการเก็บรักษาเงินของเราให้ปลอดภัย
และป้องกันการสูญหาย ส่วนธนาคารจะนําเงินฝากนี้ไปแสวงหาผลประโยชน์ โดยนําไปให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมไป
ลงทุน โดยคิดดอกเบี้ยจากผู้ที่มากู้ยืม
ประเภทเงินฝาก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. เงินฝากออมทรัพย์ เป็นเงินฝากที่ไม่มีกําหนดระยะเวลาของการรับฝาก สามารถถอนออกมาใช้
เมื่อไหร่ก็ได้ จึงเหมาะกับผู้ออมโดยทั่วไป หรือที่เราเรียกว่า “เงินฝากเผื่อเรียก หรือ เงินฝากสะสมทรัพย์”
2. เงินฝากกระแสรายวัน เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากสามารถที่จะโอนจ่ายในบัญชีของตนเองให้กับผู้อื่นได้
ด้วยเช็คสั่งจ่าย โดยธนาคารจะทําการโอนเงินตามจํานวนที่ระบุอยู่ในเช็คให้กับผู้ที่นําเช็คมาขึ้นเงิน
3. เงินฝากประจํา เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากเลือกกําหนดระยะเวลาของการฝากตามที่ธนาคารระบุไว้ เช่น
ระยะเวลา 3 เดือน ระยะเวลา 12 เดือน เป็นต้น เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะเป็นผู้กําหนดอัตราขั้นต่ําใน
การฝาก โดยผู้ฝากจะได้รับดอกเบี้ยสูงกว่าเงินฝากประเภทอื่นโดยเฉพาะการฝากระยะยาว แต่ถ้าผู้ฝากถอน
เงินออกมาก่อนระยะเวลาที่กําหนด ธนาคารก็จะหักลดดอกเบี้ยลงจากที่ได้ตกลงกันไว้
ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยเป็นค่าตอบแทนที่ธนาคารจะต้องจ่ายให้แก่ผู้ฝาก เมื่อเรานําเงินไปฝากไว้
กับธนาคาร ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยของเงินฝากให้กับเราตามเงื่อนไขของเงินฝาก ซึ่งอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
แต่ละประเภทจะไม่เท่ากัน
ตัวอย่าง อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสําหรับบุคคลธรรมดาของธนาคารพาณิชย์
- ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ อัตราดอกเบี้ย 0.75% ต่อปี
- ดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือน อัตราดอกเบี้ย 1.75% ต่อปี
- ดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือน อัตราดอกเบี้ย 2.25% ต่อปี
- ดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 12 เดือน อัตราดอกเบี้ย 2.50% ต่อปี
หมายเหตุ : ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556
รับจํานําสิ่งของต่าง ๆจากประชาชน โดยตีราคา
ต่ํากว่ามูลค่าจริงและมีกําหนดเวลาให้ไถ่ถอน
กรอบคําถามที่ 6
สิ่งตอบแทนที่ทางธนาคารจะต้อง
จ่ายให้แก่ผู้ฝากคือสิ่งใด ?
กรอบที่ 7
คําตอบของกรอบที่ 6
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
การถอนเงิน
การถอนเงิน คือ การเบิกเงินของตนเองที่ฝากไว้กับธนาคาร เพื่อนําออกมาใช้จ่าย การถอนเงินมี
ขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้
1. เตรียมสมุดคู่ฝากของธนาคารที่ไปถอนเงิน และบัตรประจําตัวประชาชน
2. เดินทางไปที่ธนาคารที่เราฝากเงิน และรับบัตรคิว (กรณีถ้ามีบัตรคิว)
3. นําใบถอนเงินที่ทางธนาคารเตรียมไว้มากรอกรายละเอียด
4. นําใบถอนเงิน พร้อมสมุดคู่ฝากไปยื่นกับเจ้าหน้าที่ธนาคาร เพื่อทํารายการ จากนั้นเจ้าหน้าที่จะ
ทําการตรวจสอบหลักฐาน
5. เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานและทํารายการเสร็จแล้วจะมอบเงินตามจํานวนที่เราถอนพร้อม
กับสมุดคู่ฝากที่ได้ลงรายการยอดเงินคงเหลือเพื่อเป็นหลักฐานคืนมาให้
กรอบคําถามที่ 7
เอกสารสําคัญใดที่ใช้ควบคู่กับใบถอนเงิน
ในการถอนเงินที่ธนาคาร ?
ดอกเบี้ย
กรอบที่ 8
คําตอบของกรอบที่ 7
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
การกู้ยืมเงิน
การกู้ยืมเงิน คือ การที่บุคคลหนึ่ง (ผู้กู้) ได้ยืมเงินจากอีกบุคคลหนึ่ง (ผู้ให้กู้) เพื่อนําไปใช้
ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น ใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค ใช้ในการลงทุนดําเนินธุรกิจ เป็นต้น
โดยผู้กู้สัญญาว่าจะนําเงินที่ยืมนั้นคืนมาคืนภายในกําหนดระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ตามสัญญากู้ยืมพร้อมกับ
ชําระดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้
การกู้ยืมเงินจากธนาคาร หรือสถาบันการเงินที่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมที่ถูกต้องตามกฎหมาย ถือ
เป็นการ กู้เงินในระบบ แต่การกู้ยืมจากบุคคลอื่น ๆ โดยไม่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมเงินที่ถูกต้อง และผู้ให้กู้
คิดดอกเบี้ยเกินอัตราตามที่กฎหมายกําหนด ถือเป็นการ กู้เงินนอกระบบ ซึ่งมีความผิดตามกฎหมาย
1. การคิดอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม
การคิดอัตราดอกเบี้ยตามกฎหมายกําหนด คือ การที่ผู้ให้กู้คิดดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 15 บาท ต่อปี
หรืออัตราร้อยละ 1.25 บาท ต่อเดือน ถ้าคิดเกินกว่านี้ถือว่าเป็นดอกเบี้ยที่ผิดกฎหมาย ผู้กู้มีสิทธิไม่จ่าย
ดอกเบี้ยส่วนที่เกินนั้นได้
สมุดคู่ฝาก
กรอบคําถามที่ 8
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
มีวิธีการคิดอย่างไร ?
กรอบที่ 9
คําตอบของกรอบที่ 8
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
การกู้ยืมเงินในระบบ
ผลดีของการกู้ยืมเงินในระบบ
1. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น ทําให้สามารถซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ โดยไม่ต้องรอเก็บเงินออม
2. ทําให้มีการซื้อขายสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น
3. ยุติธรรมต่อผู้กู้ และมีระเบียบ กฎเกณฑ์ ในการกู้ที่แน่นอน
4. มีเงินหมุนเวียนในธุรกิจ
ผลเสียของการกู้ยืมเงินในระบบ
1. ผู้กู้มักกู้เงินเกินความจําเป็นที่ต้องใช้ อาจทําให้เกิดนิสัยการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
2. มีความล่าช้าเพราะต้องมีระยะเวลาในการดําเนินการ เนื่องจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน
จะต้องตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลของผู้กู้ก่อน
3. ต้องมีบุคคลหรือทรัพย์สินในการค้ําประกัน
4. อาจไม่ได้รับเงินตามจํานวนที่ต้องการกู้
ไม่เกินร้อยละ 15 บาท ต่อปี หรือ
อัตราร้อยละ 1.25 บาท ต่อเดือน
กรอบคําถามที่ 9
เพราะเหตุใดจึงมีความล่าช้าใน
การกู้ยืมเงินในระบบ ?
กรอบที่ 10
คําตอบของกรอบที่ 9
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
การกู้ยืมเงินนอกระบบ
ผลดีของการกู้ยืมเงินนอกระบบ
1. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น
2. ทําให้มีการซื้อขายสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น
3. ได้รับเงินเร็ว
4. ไม่ต้องมีบุคคลค้ําประกัน
ผลเสียของการกู้ยืมเงินนอกระบบ
1. ผู้กู้มักกู้เงินเกินความจําเป็น ซึ่งอาจทําให้เกิดนิสัยการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
2. ต้องจ่ายดอกเบี้ยในอัตราที่สูงกว่ากฎหมายกําหนด
3. ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ
4. เป็นช่องทางในการหลอกลวงของมิจฉาชีพ
การกู้ยืมเงินมีทั้งผลดีและผลเสีย ฉะนั้นก่อนเราจะทําการกู้ยืมเงินควรพิจารณาให้รอบคอบ และมี
การวางแผนการจ่ายคืนเงินที่กู้ยืมมาตามระยะเวลาที่กําหนด ตลอดจนคํานึงถึงผลที่จะได้รับ ถ้าเป็นการกู้ยืม
เงินเพื่อไปลงทุนทําธุรกิจ เราก็จะได้รับประโยชน์มากกว่ากู้ยืมไปใช้ซื้อสินค้าที่ไม่จําเป็น เพราะอาจจะทําให้
เกิดนิสัยการใช้จ่ายฟุ่มเฟือยได้
ธนาคารหรือสถาบันการเงินจะต้อง
ตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลของผู้กู้ก่อน
กรอบคําถามที่ 10
ก่อนที่เราจะกู้ยืมเงินจากธนาคารหรือ
สถาบันการเงิน เราควรทําอย่างไร?
กรอบที่ 11
คําตอบของกรอบที่ 10
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
สรุปสาระสําคัญ
ธนาคาร หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรที่ทําหน้าที่รับฝากเงินและให้กู้ยืมเงิน หรือเป็นตัวกลางที่รับ
เงินออมจากผู้มีเงินออมต่าง ๆ มาให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมเงิน เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคหรือเพื่อการลงทุน
ธนาคาร แบ่งออกเป็น 3 ประเภทที่สําคัญ ดังนี้
1. ธนาคารแห่งประเทศไทย
2. ธนาคารพาณิชย์
3. ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษหรือสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร
การฝากเงิน คือ การนําเงินของเราไปฝากไว้ที่ธนาคารเพื่อเป็นการเก็บรักษาเงินของเราให้ปลอดภัย
และป้องกันการสูญหาย ส่วนธนาคารจะนําเงินฝากนี้ไปแสวงหาผลประโยชน์ โดยนําไปให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมไป
ลงทุน โดยคิดดอกเบี้ยจากผู้ที่มากู้ยืม
ประเภทเงินฝาก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. เงินฝากออมทรัพย์ เป็นเงินฝากที่ไม่มีกําหนดระยะเวลาของการรับฝาก สามารถถอนออกมาใช้
เมื่อไหร่ก็ได้ จึงเหมาะกับผู้ออมโดยทั่วไป หรือที่เราเรียกว่า “เงินฝากเผื่อเรียก หรือ เงินฝากสะสมทรัพย์”
2. เงินฝากกระแสรายวัน เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากสามารถที่จะโอนจ่ายในบัญชีของตนเองให้กับผู้อื่นได้
ด้วยเช็คสั่งจ่าย โดยธนาคารจะทําการโอนเงินตามจํานวนที่ระบุอยู่ในเช็คให้กับผู้ที่นําเช็คมาขึ้นเงิน
3. เงินฝากประจํา เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากเลือกกําหนดระยะเวลาของการฝากตามที่ธนาคารระบุไว้ เช่น
ระยะเวลา 3 เดือน ระยะเวลา 12 เดือน เป็นต้น เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะเป็นผู้กําหนดอัตราขั้นต่ําใน
การฝาก โดยผู้ฝากจะได้รับดอกเบี้ยสูงกว่าเงินฝากประเภทอื่นโดยเฉพาะการฝากระยะยาว แต่ถ้าผู้ฝากถอน
เงินออกมาก่อนระยะเวลาที่กําหนด ธนาคารก็จะหักลดดอกเบี้ยลงจากที่ได้ตกลงกันไว้
การถอนเงิน คือ การเบิกเงินของตนเองที่ฝากไว้กับธนาคาร เพื่อนําออกมาใช้จ่าย
การกู้ยืมเงิน คือ การที่บุคคลหนึ่ง (ผู้กู้) ได้ยืมเงินจากอีกบุคคลหนึ่ง (ผู้ให้กู้) เพื่อนําไปใช้ประโยชน์
ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น ใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค ใช้ในการลงทุนดําเนินธุรกิจ เป็นต้น โดยผู้กู้
สัญญาว่าจะนําเงินที่ยืมนั้นคืนมาคืนภายในกําหนดระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ตามสัญญากู้ยืมพร้อมกับชําระ
ดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้
การกู้ยืมเงินจากธนาคาร หรือสถาบันการเงินที่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมที่ถูกต้องตามกฎหมาย ถือ
เป็นการ กู้เงินในระบบ แต่การกู้ยืมจากบุคคลอื่น ๆ โดยไม่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมเงินที่ถูกต้อง และผู้ให้กู้
คิดดอกเบี้ยเกินอัตราตามที่กฎหมายกําหนด ถือเป็นการ กู้เงินนอกระบบ ซึ่งมีความผิดตามกฎหมาย
พิจารณาให้รอบคอบ และวางแผนการจ่าย
คืนเงินที่กู้ยืมมาตามระยะเวลาที่กําหนด
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน
คําชี้แจง : ให้นักเรียนท่าเครื่องหมาย (×) ลงในกระดาษคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
**********************************************************************************************
1. ธนาคารใดจัดเป็นธนาคารพาณิชย์
ก. ธนาคารกลาง
ข. ธนาคารกรุงเทพ
ค. ธนาคารออมสิน
ง. ธนาคารอาคารสงเคราะห์
2. หากเรากู้เงินจากธนาคาร เราต้องเสียสิ่งใดให้กับธนาคาร นอกจากเงินต้น
ก. ค่าธรรมเนียม
ข. ค่าเสียเวลา
ค. ค่าบริการ
ง. ดอกเบี้ย
3. ในสัญญากู้เงินไม่จําเป็นต้องมีลายมือชื่อของใคร
ก. ผู้ให้กู้
ข. พยานบุคคล
ค. ผู้สังเกตการณ์
ง. ผู้กู้
4. เมื่อต้องการไปถอนเงินที่ธนาคารเอกสารใดควรเตรียมไปด้วย
ก. บัตรประจําตัวผู้เสียภาษี
ข. สําเนาทะเบียนบ้าน
ค. บัตรเครดิตธนาคาร
ง. สมุดคู่ฝาก
5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน
ก. ผู้ยืมเงินเรียกว่า ผู้กู้
ข. ผู้ให้ยืมเงินเรียกว่า ผู้ให้กู้
ค. การกู้ยืมเงินจําเป็นต้องมีหลักฐานสัญญาการกู้ยืม
ง. การกู้ยืมเงินในระบบผู้ให้กู้จะต้องคิดอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3.5 บาท ต่อเดือน
6. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของธนาคารกลาง
ก. เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์
ข. รับฝากเงินจากหน่วยงานของรัฐบาล
ค. ออกธนบัตรหรือพิมพ์ธนบัตร
ง. รับฝากเงินจากประชาชน
7. ธนาคารโดยทั่วไปมีหน้าที่หลักในข้อใด
ก. รับฝากเงินและให้กู้เงิน
ข. ให้คําปรึกษาด้านการเงิน
ค. ให้การสนับสนุนการส่งออก
ง. ให้บริการชําระค่าน้ําประปา
8. ธนาคารใดมีวัตถุประสงค์โดยตรงในการให้กู้เงินเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย
ก. ธนาคารออมสิน
ข. ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ค. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ง. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย
9. ข้อใดเป็นผลดีจากการกู้ยืมเงิน
ก. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น
ข. ไม่ต้องทําสัญญาในการกู้ยืมเงิน
ค. สามารถวางแผนการใช้เงินได้อย่างเหมาะสม
ง. ทําให้เกิดนิสัยประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย
10. การฝากเงินแบบใดที่ผู้ฝากสามารถจ่ายเงินของตนให้กับผู้อื่นด้วยเช็คสั่งจ่าย
ก. เงินฝากออมทรัพย์
ข. เงินฝากประจํา
ค. เงินฝากกระแสรายวัน
ง. เงินฝากออมทรัพย์ 1 ปี
กระดาษคําตอบ
ชื่อ – สกุล ................................................................................ ชั้น .................... เลขที่ ............
วิชา ............................................................................. เรื่อง ........................................................
ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
สรุปการประเมิน ให้นักเรียนกรอกคะแนนก่อนเรียน และหลังเรียนลงในช่องผลการประเมิน
และให้นักเรียนกาเครื่องหมาย ลงในช่องการพัฒนา
ผลการประเมิน การพัฒนา
คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน พัฒนา ไม่พัฒนา
เอกสารอ้างอิง
กวี วรกวิน และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด. 2555.
ดร.พูมใจ นาคสกุล แลคณะ. 2555. หลักการและบทบาทของธนาคารกลาง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Semina/symposium/2555/presentation_1_
EconomicRationalCentralBanking.pdf. 7 กุมภาพันธ์ 2556.
เยาวลักษณ์ อักษร และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5.
พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : บริษัท ไทยร่มเกล้า จํากัด, 2555.
สุเทพ จิตรชื่น และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สํานักพิมพ์วัฒนาพานิช จํากัด. 2555.
สุพรรณี ชะโลธร และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สํานักพิมพ์ประสานมิตร (ปสม.) จํากัด. 2555.

More Related Content

What's hot

บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 

What's hot (20)

บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

Viewers also liked

กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารtumetr1
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยSukanda Panpetch
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 

Viewers also liked (7)

กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf

รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์Nichakorn Sengsui
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nichakorn Sengsui
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเมmaykai
 
aebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdf
aebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdfaebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdf
aebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdfJohnniJakkapongPongj
 
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54Duangnapa Inyayot
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนทับทิม เจริญตา
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf (17)

รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
เบตงการปรับตัวของเมืองชายแดนท่ามกลางกระแสบูรพาภิวัตน์
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเม
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
aebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdf
aebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdfaebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdf
aebbfuekthaksathaangwichaakaar_m.plaay.pdf
 
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54Bansobpad2554  นำเสนอประเมินภายใน25สค54
Bansobpad2554 นำเสนอประเมินภายใน25สค54
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 

บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf

  • 1. บทเรียนสําเร็จรูป กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาสังคมศึกษาฯ ส 15101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน โดย นายประสงค์ ปุกคํา ตําแหน่ง ครู โรงเรียนเทศบาล 1 (วัดพรหมวิหาร) อําเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย กองการศึกษา เทศบาลตําบลแม่สาย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
  • 2. คํานํา ในการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน ในกลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นักเรียนบางคนยังมีความเข้าใจในเนื้อหายังไม่ถูกต้อง และทํา ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่อนข้างต่ํา ครูผู้สอนจึงได้หาวิธีการให้นักเรียนมีความเข้าใจมากขึ้น โดยทําสื่อการ เรียนรู้บทเรียนสําเร็จรูป เพื่อนํามาใช้ในการเรียนการสอนกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 บทเรียนสําเร็จรูปนี้ประกอบด้วย สาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด คําชี้แจง แบบทดสอบ ก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน กรอบความรู้ คําถาม และเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน และเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน เป็นสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพนักเรียนสามารถศึกษาสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของมาตรฐานตัวชี้วัด ให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายเกิดความเพลิดเพลินจากบทเรียน สําเร็จรูปนี้ ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กรุณาให้คําปรึกษา แนะนํา และเป็นกําลังใจในการจัดทําบทเรียน สําเร็จรูปเรื่องนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียนสําเร็จรูปนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียน และผู้ที่สนใจศึกษา เรื่องราวพัฒนาการสมัยสุโขทัยนี้ด้วย นายประสงค์ ปุกคํา
  • 3. บทเรียนสําเร็จรูป วิชาประวัติศาสตร์ รหัส ส 15101 เรื่อง ธนาคารและการกูยืมเงิน สาระสําคัญ ธนาคาร เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการรวบรวมเงินจากผู้ออม เพื่อนําไปให้กู้ยืมในการลงทุนต่างๆ ส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโตขึ้น การกู้ยืมเงินต้องมีดอกเบี้ย ซึ่งมีทั้งผลดีและผลเสีย มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจําเป็น ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตัวชี้วัด ป.5/1 อธิบายบทบาทหน้าที่เบื้องต้นของธนาคาร ป.5/2 จําแนกผลดีและผลเสียของการกู้ยืม
  • 4. คําชี้แจงการใช้บทเรียนสําเร็จรูป สําหรับนักเรียน 1. บทเรียนสําเร็จรูป เรื่องธนาคารและการกู้ยืมเงิน จัดทําขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาด้วยตนเองใน การศึกษาบทเรียนโดยนักเรียนต้องปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 2. นักเรียนศึกษาสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของการเรียน เพื่อให้ทราบว่าเมื่อ นักเรียนได้ศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปจบแล้ว นักเรียนจะได้รับความรู้ตามเนื้อหาสาระตามมาตรฐาน / ตัวชี้วัด 3. ทําแบบทดสอบก่อนเรียนในกระดาษคําตอบที่เตรียมไว้ พร้อมตรวจคําตอบ เพื่อเป็นการทดสอบ ความรู้พื้นฐานของนักเรียน 4. นักเรียนศึกษาบทเรียนสําเร็จรูปตามลําดับขั้นตอนทีละกรอบ นักเรียนจะได้รับความรู้ ตอบ คําถามทบทวนความรู้พร้อมกับตรวจสอบความถูกต้องของคําตอบได้ด้วยตนเอง 5. ถ้านักเรียนตอบผิด ให้นักเรียนย้อนกลับไปอ่านในกรอบความรู้ที่ผ่านมา 6. ทําแบบทดสอบหลังเรียนวัดความรู้ความเข้าใจที่ได้รับ พร้อมตรวจคําตอบเปรียบเทียบการทํา แบบทดสอบก่อนเรียนให้ทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ 7. นักเรียนจะต้องตั้งใจใฝ่เรียน ใฝ่รู้ ซื่อสัตย์ มีวินัย ไม่เปิดดูเฉลยคําตอบก่อนการตอบคําถาม
  • 5. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน คําชี้แจง : ให้นักเรียนท่าเครื่องหมาย (×) ลงในกระดาษคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ********************************************************************************************** 1. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของธนาคารกลาง ก. เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ ข. รับฝากเงินจากหน่วยงานของรัฐบาล ค. ออกธนบัตรหรือพิมพ์ธนบัตร ง. รับฝากเงินจากประชาชน 2. ธนาคารใดจัดเป็นธนาคารพาณิชย์ ก. ธนาคารกลาง ข. ธนาคารกรุงเทพ ค. ธนาคารออมสิน ง. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 3. ธนาคารโดยทั่วไปมีหน้าที่หลักในข้อใด ก. รับฝากเงินและให้กู้เงิน ข. ให้คําปรึกษาด้านการเงิน ค. ให้การสนับสนุนการส่งออก ง. ให้บริการชําระค่าน้ําประปา 4. หากเรากู้เงินจากธนาคาร เราต้องเสียสิ่งใดให้กับธนาคาร นอกจากเงินต้น ก. ค่าธรรมเนียม ข. ค่าเสียเวลา ค. ค่าบริการ ง. ดอกเบี้ย 5. ธนาคารใดมีวัตถุประสงค์โดยตรงในการให้กู้เงินเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย ก. ธนาคารออมสิน ข. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ค. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ง. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย
  • 6. 6. ในสัญญากู้เงินไม่จําเป็นต้องมีลายมือชื่อของใคร ก. ผู้ให้กู้ ข. พยานบุคคล ค. ผู้สังเกตการณ์ ง. ผู้กู้ 37. ข้อใดเป็นผลดีจากการกู้ยืมเงิน ก. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น ข. ไม่ต้องทําสัญญาในการกู้ยืมเงิน ค. สามารถวางแผนการใช้เงินได้อย่างเหมาะสม ง. ทําให้เกิดนิสัยประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย 8. เมื่อต้องการไปถอนเงินที่ธนาคารเอกสารใดควรเตรียมไปด้วย ก. บัตรประจําตัวผู้เสียภาษี ข. สําเนาทะเบียนบ้าน ค. บัตรเครดิตธนาคาร ง. สมุดคู่ฝาก 9. การฝากเงินแบบใดที่ผู้ฝากสามารถจ่ายเงินของตนให้กับผู้อื่นด้วยเช็คสั่งจ่าย ก. เงินฝากออมทรัพย์ ข. เงินฝากประจํา ค. เงินฝากกระแสรายวัน ง. เงินฝากออมทรัพย์ 1 ปี 10. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน ก. ผู้ยืมเงินเรียกว่า ผู้กู้ ข. ผู้ให้ยืมเงินเรียกว่า ผู้ให้กู้ ค. การกู้ยืมเงินจําเป็นต้องมีหลักฐานสัญญาการกู้ยืม ง. การกู้ยืมเงินในระบบผู้ให้กู้จะต้องคิดอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3.5 บาท ต่อเดือน
  • 7. กรอบที่ 1 ความหมายและประวัติธนาคารของไทย ธนาคาร หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรที่ทําหน้าที่รับฝากเงินและให้กู้ยืมเงิน หรือเป็นตัวกลางที่ รับเงินออมจากผู้มีเงินออมต่าง ๆ มาให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืม เงิน เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคหรือเพื่อการลงทุน วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2447 ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรม หมื่นมหิศรราชหฤทัย ซึ่งตอนนั้นได้ดํารงตําแหน่ง เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ได้ทรงก่อตั้ง บุคคลัภย์ (Book Club) ขึ้นที่ตึกแถวของพระคลังข้างที่ ตําบลบ้านหม้อ กรุงเทพฯ ที่นี่เป็นตันกําเนิดของ ธนาคารแห่งแรกของไทย คือ แบงก์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน)ในปัจจุบัน กรอบคําถามที่ 1 ธนาคารแห่งแรกของไทย มีชื่อว่าอะไร ?
  • 8. กรอบที่ 2 คําตอบของกรอบที่ 1 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ ประเภทของธนาคาร 1. ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นสถาบันการเงินที่ทําหน้าที่ควบคุมดูแล การเงินของประเทศ เป็นนายธนาคารพาณิชย์ และเป็นสถาบันในการบริการควบคุมการเงินในระดับสูงของ ประเทศ ทําหน้าที่ควบคุมปริมาณเงินและเครดิตในประเทศให้มีความคล่องตัว และมีหน้าที่เป็นผู้นําทางด้าน การเงินและเครดิตของสถาบันการเงินต่าง ๆ เพื่ออํานวยผลให้เกิดความเจริญเติบโตและพัฒนาการทาง เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งดําเนินการโดยไม่แสวงหากําไร และไม่แข่งขันกับสถาบันการเงินของเอกชน หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย 1. ผลิตธนบัตรและออกธนบัตร 2. เป็นนายธนาคารของรัฐบาล (ตัวแทนทางการเงินของรัฐ) 3. รักษาเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ 4. กําหนดนโยบายทางการเงินของประเทศ 5. รักษาเงินทุนสํารองระหว่างประเทศ 6. กําหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 7. ควบคุมดูแลการดําเนินงานของธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินต่าง ๆ แบงก์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด กรอบคําถามที่ 2 สถาบันการเงินใดที่ทําหน้าที่ ควบคุมดูแลการเงินของประเทศ?
  • 9. กรอบที่ 3 คําตอบของกรอบที่ 2 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ ประเภทของธนาคาร 2. ธนาคารพาณิชย์ เป็นสถาบันทางการเงินที่ทําหน้าที่ระดมเงินฝากจากประชาชน เพื่อให้บุคคล หรือหน่วยงานธุรกิจกู้ยืม นอกจากนี้ ธนาคารพาณิชย์ยังให้บริการด้านอื่น ๆ ที่อํานวยความสะดวกให้กับ ธุรกิจการค้าและประชาชน ธนาคารที่จัดตั้งเป็นธนาคารพาณิชย์ เช่น ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย เป็นต้น หน้าที่สําคัญของธนาคารพาณิชย์ 1. รับฝากเงิน ธนาคารพาณิชย์จะรับฝากเงินจากบุคคลและห้างร้านทั่วไป - ฝากประจํา มีกําหนดแน่นอนให้เจ้าของเงินทวงถาม - ฝากเผื่อเรียก การจ่ายเงินแก่เจ้าของเงินเมื่อไรก็ตามที่ทวงถาม - ฝากกระแสรายวัน การจ่ายเงินแก่เจ้าของเงินทวงถามได้ทุกเมื่อด้วยเช็ค 2. สร้างเงินฝาก คือ การนําเงินฝากไปลงทุนต่าง ๆ เช่น ให้กู้ยืม ซื้อหุ้น ซื้อพันธบัตรรัฐบาล ฯลฯ 3. การโอนเงินระหว่างธนาคารในประเทศและระหว่างประเทศ ได้อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย และคิด ค่าธรรมเนียมการโอนในอัตราต่ํา 4. การเรียกเก็บเงิน โดยเรียกเก็บตามเช็ค ตั๋วเงิน ดร๊าฟ ที่ครบกําหนดโดยลูกค้าไม่ต้องเก็บเงินเอง 5. การให้เช่าตู้นิรภัยเพื่อเก็บรักษาขอมีค่าของลูกค้าที่มาเช่าไว้ เพื่อความปลอดภัยที่มั่นคงของ ทรัพย์สิน เช่น เอกสารสําคัญ เครื่องประดับที่มีราคาแพง เป็นต้น 6. การบริการเป็นตัวแทน เช่น ซื้อขายหุ้น ชําระค่าทะเบียนรถยนต์ ค่า น้ําประปา ค่าไฟฟ้า เสียภาษี 7. บริการการค้า เช่น การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ การออกใบค้ํา ประกันการซื้อขาย ธนาคารแห่งประเทศไทย กรอบคําถามที่ 3 ถ้าครอบครัวของนักเรียนมีเครื่องเพชร ราคาแพง นักเรียนควรใช้บริการใดของ ธนาคารพาณิชย์อย่างไร ?
  • 10. กรอบที่ 4 คําตอบของกรอบที่ 3 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ ประเภทของธนาคาร 3. ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษหรือสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร เป็นธนาคารหรือสถาบัน การเงินที่จัดตังขึ้นเพื่อดําเนินการโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง เช่น 1. ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารของรัฐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ.2498 เพื่อนําเงินฝากของประชาชนและ เป็นแหล่งเงินกู้ภายในประเทศของรัฐบาล เช่นรับฝากเงินประเภทต่างๆ พันธบัตรออมสิน สลากออมสินพิเศษ เงินฝากสงเคราะห์ชีวิตและครอบครัว เงินฝากเคหะสงเคราะห์ ฯลฯ 2. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.)เป็นธนาคารของรัฐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2496 เพื่อส่งเสริมการนํา เงินไปลงทุนเกี่ยวกับการซื้อที่ดิน ให้ประชาชนมีบ้านและการสร้างอาคารที่อยู่อาศัย 3. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เป็นธนาคารของรัฐ ตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2509 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการเกษตรของประเทศ ให้เกษตรกรกู้ยืมเงินโดยคิดดอกเบี้ยในอัตราต่ํา 4. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการทางด้านการเงินสําหรับชาวไทยมุสลิม ซึ่งดําเนินการตามหลักของศาสนาอิสลาม 5. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา และให้คําปรึกษาเกี่ยวกับการส่งออกและนําเข้าสินค้า และการลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ 6. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีหน้าที่ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ให้สินเชื่อค้ําประกัน ตลอดจนให้คําปรึกษากับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การให้เช่าตู้นิรภัย กรอบคําถามที่ 4 ถ้าคุณพอของนักเรียนต้องการที่จะก่อสร้าง บ้านใหม่ นักเรียนควรจะแนะนําให้คุณพ่อ ไปปรึกษากับธนาคารใด ?
  • 11. กรอบที่ 5 คําตอบของกรอบที่ 4 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ ประเภทของธนาคาร 7. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทําหน้าเป็นศูนย์กลางสําหรับการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน เป็นผู้ให้บริการระบบการซื้อขาย หลักทรัพย์ ธุรกิจเกี่ยวกับการชําระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ ( clearing house )รับฝากหลักทรัพย์ (securities depository) นายทะเบียน (registrar) และกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งธุรกิจอื่นๆที่คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต.) อนุมัติ 8. การประกันภัย (Insurance) การประกันภัยเป็นสัญญาโอนการเสี่ยงภัยของตนไปเฉลี่ยให้แก่คนหมู่ มาก โดยมีบริษัทประกันภัยเป็นผู้จัดการและเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน ตามที่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญา แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) การประกันชีวิต 2) การประกันวินาศภัย 9. สหกรณ์การเกษตร ตั้งขึ้นเพื่อให้เกษตรกรที่เป็น สมาชิกช่วยเหลือกันในการเพาะปลูก และจัดการขยาย ผลผลิตโดยจัดสรรเงินให้สมาชิกกู้ 10. สหกรณ์ออมทรัพย์ ตั้งขึ้นรับฝากเงินจากสมาชิกโดยมีดอกเบี้ยตอบแทนแล้วนําเงินให้สมาชิกกู้ยืม โดยคิดดอกเบี้ยกําไรปันผลตามหุ้นและการใช้บริการ 11. โรงรับจํานํา ตั้งขึ้นเพื่อทําหน้าที่รับจํานําสิ่งของต่าง ๆจากประชาชน โดยตีราคาต่ํากว่ามูลค่าจริง และมีกําหนดเวลาให้ไถ่ถอน โรงรับจํานําที่ดําเนินการโดยกรมประชาสงเคราะห์ เรียกว่า "สถานธนานุเคราะห์" ส่วนโรงรับจํานําที่ดําเนินการโดยเทศบาล เรียกว่า "สถานธนานุบาล" ธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรอบคําถามที่ 5 โรงรับจํานํา มีหน้าที่สําคัญอย่างไร ?
  • 12. กรอบที่ 6 คําตอบของกรอบที่ 5 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ การฝากเงินและประเภทเงินฝาก การฝากเงิน คือ การนําเงินของเราไปฝากไว้ที่ธนาคารเพื่อเป็นการเก็บรักษาเงินของเราให้ปลอดภัย และป้องกันการสูญหาย ส่วนธนาคารจะนําเงินฝากนี้ไปแสวงหาผลประโยชน์ โดยนําไปให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมไป ลงทุน โดยคิดดอกเบี้ยจากผู้ที่มากู้ยืม ประเภทเงินฝาก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. เงินฝากออมทรัพย์ เป็นเงินฝากที่ไม่มีกําหนดระยะเวลาของการรับฝาก สามารถถอนออกมาใช้ เมื่อไหร่ก็ได้ จึงเหมาะกับผู้ออมโดยทั่วไป หรือที่เราเรียกว่า “เงินฝากเผื่อเรียก หรือ เงินฝากสะสมทรัพย์” 2. เงินฝากกระแสรายวัน เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากสามารถที่จะโอนจ่ายในบัญชีของตนเองให้กับผู้อื่นได้ ด้วยเช็คสั่งจ่าย โดยธนาคารจะทําการโอนเงินตามจํานวนที่ระบุอยู่ในเช็คให้กับผู้ที่นําเช็คมาขึ้นเงิน 3. เงินฝากประจํา เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากเลือกกําหนดระยะเวลาของการฝากตามที่ธนาคารระบุไว้ เช่น ระยะเวลา 3 เดือน ระยะเวลา 12 เดือน เป็นต้น เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะเป็นผู้กําหนดอัตราขั้นต่ําใน การฝาก โดยผู้ฝากจะได้รับดอกเบี้ยสูงกว่าเงินฝากประเภทอื่นโดยเฉพาะการฝากระยะยาว แต่ถ้าผู้ฝากถอน เงินออกมาก่อนระยะเวลาที่กําหนด ธนาคารก็จะหักลดดอกเบี้ยลงจากที่ได้ตกลงกันไว้ ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยเป็นค่าตอบแทนที่ธนาคารจะต้องจ่ายให้แก่ผู้ฝาก เมื่อเรานําเงินไปฝากไว้ กับธนาคาร ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยของเงินฝากให้กับเราตามเงื่อนไขของเงินฝาก ซึ่งอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก แต่ละประเภทจะไม่เท่ากัน ตัวอย่าง อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสําหรับบุคคลธรรมดาของธนาคารพาณิชย์ - ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ อัตราดอกเบี้ย 0.75% ต่อปี - ดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 3 เดือน อัตราดอกเบี้ย 1.75% ต่อปี - ดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือน อัตราดอกเบี้ย 2.25% ต่อปี - ดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 12 เดือน อัตราดอกเบี้ย 2.50% ต่อปี หมายเหตุ : ข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 รับจํานําสิ่งของต่าง ๆจากประชาชน โดยตีราคา ต่ํากว่ามูลค่าจริงและมีกําหนดเวลาให้ไถ่ถอน กรอบคําถามที่ 6 สิ่งตอบแทนที่ทางธนาคารจะต้อง จ่ายให้แก่ผู้ฝากคือสิ่งใด ?
  • 13. กรอบที่ 7 คําตอบของกรอบที่ 6 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ การถอนเงิน การถอนเงิน คือ การเบิกเงินของตนเองที่ฝากไว้กับธนาคาร เพื่อนําออกมาใช้จ่าย การถอนเงินมี ขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ 1. เตรียมสมุดคู่ฝากของธนาคารที่ไปถอนเงิน และบัตรประจําตัวประชาชน 2. เดินทางไปที่ธนาคารที่เราฝากเงิน และรับบัตรคิว (กรณีถ้ามีบัตรคิว) 3. นําใบถอนเงินที่ทางธนาคารเตรียมไว้มากรอกรายละเอียด 4. นําใบถอนเงิน พร้อมสมุดคู่ฝากไปยื่นกับเจ้าหน้าที่ธนาคาร เพื่อทํารายการ จากนั้นเจ้าหน้าที่จะ ทําการตรวจสอบหลักฐาน 5. เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานและทํารายการเสร็จแล้วจะมอบเงินตามจํานวนที่เราถอนพร้อม กับสมุดคู่ฝากที่ได้ลงรายการยอดเงินคงเหลือเพื่อเป็นหลักฐานคืนมาให้ กรอบคําถามที่ 7 เอกสารสําคัญใดที่ใช้ควบคู่กับใบถอนเงิน ในการถอนเงินที่ธนาคาร ? ดอกเบี้ย
  • 14. กรอบที่ 8 คําตอบของกรอบที่ 7 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ การกู้ยืมเงิน การกู้ยืมเงิน คือ การที่บุคคลหนึ่ง (ผู้กู้) ได้ยืมเงินจากอีกบุคคลหนึ่ง (ผู้ให้กู้) เพื่อนําไปใช้ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น ใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค ใช้ในการลงทุนดําเนินธุรกิจ เป็นต้น โดยผู้กู้สัญญาว่าจะนําเงินที่ยืมนั้นคืนมาคืนภายในกําหนดระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ตามสัญญากู้ยืมพร้อมกับ ชําระดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ การกู้ยืมเงินจากธนาคาร หรือสถาบันการเงินที่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมที่ถูกต้องตามกฎหมาย ถือ เป็นการ กู้เงินในระบบ แต่การกู้ยืมจากบุคคลอื่น ๆ โดยไม่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมเงินที่ถูกต้อง และผู้ให้กู้ คิดดอกเบี้ยเกินอัตราตามที่กฎหมายกําหนด ถือเป็นการ กู้เงินนอกระบบ ซึ่งมีความผิดตามกฎหมาย 1. การคิดอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม การคิดอัตราดอกเบี้ยตามกฎหมายกําหนด คือ การที่ผู้ให้กู้คิดดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 15 บาท ต่อปี หรืออัตราร้อยละ 1.25 บาท ต่อเดือน ถ้าคิดเกินกว่านี้ถือว่าเป็นดอกเบี้ยที่ผิดกฎหมาย ผู้กู้มีสิทธิไม่จ่าย ดอกเบี้ยส่วนที่เกินนั้นได้ สมุดคู่ฝาก กรอบคําถามที่ 8 อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ถูกต้องตามกฎหมาย มีวิธีการคิดอย่างไร ?
  • 15. กรอบที่ 9 คําตอบของกรอบที่ 8 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ การกู้ยืมเงินในระบบ ผลดีของการกู้ยืมเงินในระบบ 1. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น ทําให้สามารถซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ โดยไม่ต้องรอเก็บเงินออม 2. ทําให้มีการซื้อขายสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น 3. ยุติธรรมต่อผู้กู้ และมีระเบียบ กฎเกณฑ์ ในการกู้ที่แน่นอน 4. มีเงินหมุนเวียนในธุรกิจ ผลเสียของการกู้ยืมเงินในระบบ 1. ผู้กู้มักกู้เงินเกินความจําเป็นที่ต้องใช้ อาจทําให้เกิดนิสัยการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย 2. มีความล่าช้าเพราะต้องมีระยะเวลาในการดําเนินการ เนื่องจากธนาคารหรือสถาบันการเงิน จะต้องตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลของผู้กู้ก่อน 3. ต้องมีบุคคลหรือทรัพย์สินในการค้ําประกัน 4. อาจไม่ได้รับเงินตามจํานวนที่ต้องการกู้ ไม่เกินร้อยละ 15 บาท ต่อปี หรือ อัตราร้อยละ 1.25 บาท ต่อเดือน กรอบคําถามที่ 9 เพราะเหตุใดจึงมีความล่าช้าใน การกู้ยืมเงินในระบบ ?
  • 16. กรอบที่ 10 คําตอบของกรอบที่ 9 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ การกู้ยืมเงินนอกระบบ ผลดีของการกู้ยืมเงินนอกระบบ 1. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น 2. ทําให้มีการซื้อขายสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น 3. ได้รับเงินเร็ว 4. ไม่ต้องมีบุคคลค้ําประกัน ผลเสียของการกู้ยืมเงินนอกระบบ 1. ผู้กู้มักกู้เงินเกินความจําเป็น ซึ่งอาจทําให้เกิดนิสัยการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย 2. ต้องจ่ายดอกเบี้ยในอัตราที่สูงกว่ากฎหมายกําหนด 3. ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ 4. เป็นช่องทางในการหลอกลวงของมิจฉาชีพ การกู้ยืมเงินมีทั้งผลดีและผลเสีย ฉะนั้นก่อนเราจะทําการกู้ยืมเงินควรพิจารณาให้รอบคอบ และมี การวางแผนการจ่ายคืนเงินที่กู้ยืมมาตามระยะเวลาที่กําหนด ตลอดจนคํานึงถึงผลที่จะได้รับ ถ้าเป็นการกู้ยืม เงินเพื่อไปลงทุนทําธุรกิจ เราก็จะได้รับประโยชน์มากกว่ากู้ยืมไปใช้ซื้อสินค้าที่ไม่จําเป็น เพราะอาจจะทําให้ เกิดนิสัยการใช้จ่ายฟุ่มเฟือยได้ ธนาคารหรือสถาบันการเงินจะต้อง ตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลของผู้กู้ก่อน กรอบคําถามที่ 10 ก่อนที่เราจะกู้ยืมเงินจากธนาคารหรือ สถาบันการเงิน เราควรทําอย่างไร?
  • 17. กรอบที่ 11 คําตอบของกรอบที่ 10 @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@ สรุปสาระสําคัญ ธนาคาร หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรที่ทําหน้าที่รับฝากเงินและให้กู้ยืมเงิน หรือเป็นตัวกลางที่รับ เงินออมจากผู้มีเงินออมต่าง ๆ มาให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมเงิน เพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคหรือเพื่อการลงทุน ธนาคาร แบ่งออกเป็น 3 ประเภทที่สําคัญ ดังนี้ 1. ธนาคารแห่งประเทศไทย 2. ธนาคารพาณิชย์ 3. ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษหรือสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร การฝากเงิน คือ การนําเงินของเราไปฝากไว้ที่ธนาคารเพื่อเป็นการเก็บรักษาเงินของเราให้ปลอดภัย และป้องกันการสูญหาย ส่วนธนาคารจะนําเงินฝากนี้ไปแสวงหาผลประโยชน์ โดยนําไปให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมไป ลงทุน โดยคิดดอกเบี้ยจากผู้ที่มากู้ยืม ประเภทเงินฝาก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. เงินฝากออมทรัพย์ เป็นเงินฝากที่ไม่มีกําหนดระยะเวลาของการรับฝาก สามารถถอนออกมาใช้ เมื่อไหร่ก็ได้ จึงเหมาะกับผู้ออมโดยทั่วไป หรือที่เราเรียกว่า “เงินฝากเผื่อเรียก หรือ เงินฝากสะสมทรัพย์” 2. เงินฝากกระแสรายวัน เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากสามารถที่จะโอนจ่ายในบัญชีของตนเองให้กับผู้อื่นได้ ด้วยเช็คสั่งจ่าย โดยธนาคารจะทําการโอนเงินตามจํานวนที่ระบุอยู่ในเช็คให้กับผู้ที่นําเช็คมาขึ้นเงิน 3. เงินฝากประจํา เป็นเงินฝากที่ผู้ฝากเลือกกําหนดระยะเวลาของการฝากตามที่ธนาคารระบุไว้ เช่น ระยะเวลา 3 เดือน ระยะเวลา 12 เดือน เป็นต้น เงินฝากประเภทนี้ ธนาคารจะเป็นผู้กําหนดอัตราขั้นต่ําใน การฝาก โดยผู้ฝากจะได้รับดอกเบี้ยสูงกว่าเงินฝากประเภทอื่นโดยเฉพาะการฝากระยะยาว แต่ถ้าผู้ฝากถอน เงินออกมาก่อนระยะเวลาที่กําหนด ธนาคารก็จะหักลดดอกเบี้ยลงจากที่ได้ตกลงกันไว้ การถอนเงิน คือ การเบิกเงินของตนเองที่ฝากไว้กับธนาคาร เพื่อนําออกมาใช้จ่าย การกู้ยืมเงิน คือ การที่บุคคลหนึ่ง (ผู้กู้) ได้ยืมเงินจากอีกบุคคลหนึ่ง (ผู้ให้กู้) เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น ใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค ใช้ในการลงทุนดําเนินธุรกิจ เป็นต้น โดยผู้กู้ สัญญาว่าจะนําเงินที่ยืมนั้นคืนมาคืนภายในกําหนดระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ตามสัญญากู้ยืมพร้อมกับชําระ ดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ การกู้ยืมเงินจากธนาคาร หรือสถาบันการเงินที่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมที่ถูกต้องตามกฎหมาย ถือ เป็นการ กู้เงินในระบบ แต่การกู้ยืมจากบุคคลอื่น ๆ โดยไม่มีหลักฐานสัญญาการกู้ยืมเงินที่ถูกต้อง และผู้ให้กู้ คิดดอกเบี้ยเกินอัตราตามที่กฎหมายกําหนด ถือเป็นการ กู้เงินนอกระบบ ซึ่งมีความผิดตามกฎหมาย พิจารณาให้รอบคอบ และวางแผนการจ่าย คืนเงินที่กู้ยืมมาตามระยะเวลาที่กําหนด
  • 18. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ธนาคารและการกู้ยืมเงิน คําชี้แจง : ให้นักเรียนท่าเครื่องหมาย (×) ลงในกระดาษคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ********************************************************************************************** 1. ธนาคารใดจัดเป็นธนาคารพาณิชย์ ก. ธนาคารกลาง ข. ธนาคารกรุงเทพ ค. ธนาคารออมสิน ง. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 2. หากเรากู้เงินจากธนาคาร เราต้องเสียสิ่งใดให้กับธนาคาร นอกจากเงินต้น ก. ค่าธรรมเนียม ข. ค่าเสียเวลา ค. ค่าบริการ ง. ดอกเบี้ย 3. ในสัญญากู้เงินไม่จําเป็นต้องมีลายมือชื่อของใคร ก. ผู้ให้กู้ ข. พยานบุคคล ค. ผู้สังเกตการณ์ ง. ผู้กู้ 4. เมื่อต้องการไปถอนเงินที่ธนาคารเอกสารใดควรเตรียมไปด้วย ก. บัตรประจําตัวผู้เสียภาษี ข. สําเนาทะเบียนบ้าน ค. บัตรเครดิตธนาคาร ง. สมุดคู่ฝาก 5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน ก. ผู้ยืมเงินเรียกว่า ผู้กู้ ข. ผู้ให้ยืมเงินเรียกว่า ผู้ให้กู้ ค. การกู้ยืมเงินจําเป็นต้องมีหลักฐานสัญญาการกู้ยืม ง. การกู้ยืมเงินในระบบผู้ให้กู้จะต้องคิดอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3.5 บาท ต่อเดือน
  • 19. 6. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของธนาคารกลาง ก. เป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ ข. รับฝากเงินจากหน่วยงานของรัฐบาล ค. ออกธนบัตรหรือพิมพ์ธนบัตร ง. รับฝากเงินจากประชาชน 7. ธนาคารโดยทั่วไปมีหน้าที่หลักในข้อใด ก. รับฝากเงินและให้กู้เงิน ข. ให้คําปรึกษาด้านการเงิน ค. ให้การสนับสนุนการส่งออก ง. ให้บริการชําระค่าน้ําประปา 8. ธนาคารใดมีวัตถุประสงค์โดยตรงในการให้กู้เงินเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัย ก. ธนาคารออมสิน ข. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ค. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ง. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย 9. ข้อใดเป็นผลดีจากการกู้ยืมเงิน ก. มีเงินใช้จ่ายในยามจําเป็น ข. ไม่ต้องทําสัญญาในการกู้ยืมเงิน ค. สามารถวางแผนการใช้เงินได้อย่างเหมาะสม ง. ทําให้เกิดนิสัยประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย 10. การฝากเงินแบบใดที่ผู้ฝากสามารถจ่ายเงินของตนให้กับผู้อื่นด้วยเช็คสั่งจ่าย ก. เงินฝากออมทรัพย์ ข. เงินฝากประจํา ค. เงินฝากกระแสรายวัน ง. เงินฝากออมทรัพย์ 1 ปี
  • 20. กระดาษคําตอบ ชื่อ – สกุล ................................................................................ ชั้น .................... เลขที่ ............ วิชา ............................................................................. เรื่อง ........................................................ ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 สรุปการประเมิน ให้นักเรียนกรอกคะแนนก่อนเรียน และหลังเรียนลงในช่องผลการประเมิน และให้นักเรียนกาเครื่องหมาย ลงในช่องการพัฒนา ผลการประเมิน การพัฒนา คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน พัฒนา ไม่พัฒนา
  • 21. เอกสารอ้างอิง กวี วรกวิน และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด. 2555. ดร.พูมใจ นาคสกุล แลคณะ. 2555. หลักการและบทบาทของธนาคารกลาง. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Semina/symposium/2555/presentation_1_ EconomicRationalCentralBanking.pdf. 7 กุมภาพันธ์ 2556. เยาวลักษณ์ อักษร และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : บริษัท ไทยร่มเกล้า จํากัด, 2555. สุเทพ จิตรชื่น และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สํานักพิมพ์วัฒนาพานิช จํากัด. 2555. สุพรรณี ชะโลธร และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.5. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สํานักพิมพ์ประสานมิตร (ปสม.) จํากัด. 2555.