SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
เมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกทรงทราบข่าวการก่อจลาจลในกรุงธนบุรี
ก็ทรงยกทัพกลับจากการตีกัมพูชา ทรงสอบสวนเรื่องราวที่เกิดขึ้น และประชุม
ขุนนาง ลูกขุน ณ ศาลา ตลอดจนข้าราชการ ที่ประชุมได้ลงความเห็นว่าให้สาเร็จ
โทษสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเสีย และได้พร้อมกันทูลอัญเชิญให้สมเด็จเจ้าพระยา
มหากษัตริย์ศึกขึ้นเป็นกษัตริย์ เป็นปฐมบรมราชวงศ์จักรี ในวันที่ 6 เม.ย. 2325
รัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาตั้งที่กรุง
รัตนโกสินทร์ มีเหตุผลดังต่อไปนี้
1. พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ เพราะมีวัดอรุณฯ และวัดโมฬีฯ ขนาบ
ทั้ง 2 ด้าน
2. ฝั่งกรุงธนบุรีถูกน้ากัดเซาะตลิ่งพังทลาย
3. กรุงธนบุรีมีสภาพเป็นเมืองอกแตก มีแม่น้าผ่ากลาง การเคลื่อนย้ายกาลังพล
ในการต่อสู้ข้าศึกทาได้ลาบาก
รัชกาลที่ 1 มีการทาสงครามกับพม่า 7 ครั้ง แต่
ที่สาคัญ ๆ มี 2 ครั้ง คือ
1. สงครามเก้าทัพ พระเจ้าปะดุงกษัตริย์พม่า
โปรดให้จัดทัพ 9 ทัพ ยกทัพมาตีกรุงเทพฯ
ส่วนรัชกาลที่ 1 จัดทัพ 4 ทัพ ออกไปตั้งรับ
ข้าศึกด้านทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้
ผลของสงครามไทยสามารถรบชนะพม่า
ทั้งๆที่มีกาลังพลน้อยกว่าพม่า ทาให้คนไทย
เลิกกลัวพม่าในที่สุด เกิดวีรสตรีไทย คือ
ท้าวเทพกษัตรี(จัน) และท้าวศรีสุนทร(มุก)
2. สงครามท่าดินแดน พระเจ้าปะดุง
ยกทัพใหญ่มาทางด่านเจดีย์สามองค์
รัชกาลที่ 1 ยกทัพไปตีค่ายพม่าแตก
ทุกค่ายโดยใช้เวลาเพียง 3 วัน ผลของ
สงครามครั้งนี้ทาให้พม่ากลัวไทย
ในสมัยรัชกาลที่ 3 เจ้าอนุวงศ์ แห่งเวียงจันทน์ได้ก่อกบฏ ยกทัพยึดเมืองนครราสีมา
ได้กวาดต้อนชาวเมือง และทรัพย์สินส่งไปเวียงจันทน์ ซึ่งในหมู่ชาวเมืองที่ถูกกวาด
ต้อนไปนั้น มีคุณหญิงโม ภริยาของพระยาปลัดเมืองนครราชสีมาอยู่ด้วย เมื่อถึงทุ่ง
สัมฤทธิ์ คุณหญิงโมได้วางอุบายเลี้ยงสุราอาหารแก่นายทหารไพร่ลาว พอได้โอกาสก็
จู่โจมฆ่าฟันทหารลาวแตกทัพหนี พอดีกองทัพทางกรุงเทพฯยกขึ้นไปทัน รุกไล่
กองทัพลาว และสามารถจับเจ้าอนุวงศ์ได้ ลาวจึงตกเป็นเมืองขึ้นของไทยเรื่อยมา
จนต่อมาภายหลังไทยจึงเสียดินแดนลาวให้แก่ฝรั่งเศส
2.1 การปกครองส่วนกลาง มีการแบ่งเป็น 6 กรม คือ
2.1.1 กรมมหาดไทย มีอัครมหาเสนาบดี
ตาแหน่งสมุหนายกเป็นผู้บังคับบัญชาดูแล
รับผิดชอบฝ่ายทหาร และพลเรือนในหัวเมืองฝ่าย
เหนือ และอีสานทั้งหมด ใช้ตราราชสีห์เป็นตรา
ประจาตาแหน่ง
2.1.2 กรมกลาโหม มีอัครมหาเสนาบดี
ตาแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชาดูแล
รับผิดชอบฝ่ายทหาร และพลเรือนในหัวเมืองฝ่ายใต้
ทั้งหมด จานวน 20 เมือง ใช้ตราคชสีห์ เป็นตรา
ประจาตาแหน่ง
2.1.3 กรมเมือง มีเสนาบดีทาหน้าที่ดูแลรักษา
ความสงบเรียบร้อย ตัดสินคดีความต่าง ๆ ในเขตราช
ธานี ใช้ตราพระยมทรงสิงห์ เป็นตราประจาตาแหน่ง
2.1.4 กรมวัง มีเสนาบดีดูแลราชการเกี่ยวกับพระราช
มณเฑียร พระราชวัง พระราชพิธีต่าง ๆ และตัดสินคดี
ความในเขตพระราชวัง ใช้ตราเทพยดาทรงพระนนทิการ
(พระโค) เป็นตราประจาตาแหน่ง
2.1.5 กรมท่า ใช้ตราดอกบัว เป็นตราประจาตาแหน่ง
มีหน้าที่รับผิดชอบตามฝ่ายการเงิน ฝ่ายการต่างประเทศ
ฝ่ายตรวจบัญชี และดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก
2.1.6 กรมนา มีเสนาบดี มีหน้าที่ดูแล
รักษานาหลวง เก็บหางข้าวค่านาจาก
ราษฎร และพิจารณาคดีเกี่ยวกับเรื่องที่นา
และโคกระบือ ใช้ตราพระพิรุณทรงนาค
เป็นตราประจาตาแหน่ง
2.2 การปกครองส่วนภูมิภาค
2.2.1 หัวเมืองชั้นใน เป็นเมืองที่อยู่ใกล้ๆ เมืองหลวง มีฐานะเป็นเพียงหัวเมือง
จัตวา ผู้ดูแลหัวเมืองเรียกว่า ผู้รั้ง ขึ้นตรงต่อเสนาบดีกรมต่าง ๆ ในราชธานี
2.2.2 หัวเมืองชั้นนอก เป็นเมืองที่อยู่ห่างไกลราชธานีออกไป จัดเป็นเมืองพระยา
มหานคร พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งราชวงศ์หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เป็นเจ้าเมือง
ปกครองดูแล มีอานาจสิทธิ์ขาดแทนกษัตริย์ทุกประการ และมีกรมการเช่นเดียวกับใน
ราชธานี หัวเมืองชั้นนอกแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
1) หัวเมืองใหญ่ แบ่งเป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี ตามขนาด และความสาคัญ
ของเมือง
2) หัวเมืองชั้นรอง เป็นเมืองชั้นจัตวา ขึ้นอยู่กับหัวเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้เคียง
2.2.3 หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองต่างชาติต่างภาษาซึ่งอยู่ชายแดนติดต่อกับ
ประเทศอื่น มีฐานะเป็นประเทศราช มีเจ้านายของชาตินั้น ๆ ทาการปกครองกันเอง แต่
ราชธานีจะเป็นผู้แต่งตั้ง ต้องถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทอง เครื่องราชบรรณาการมาถวาย
เมื่อทางราชธานีเกิดสงคราม ต้องส่งทหารมาช่วยรบ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้า
ให้ชาระพระราชกาหนดกฎหมายครั้งใหญ่ขึ้น โดย
ช่วยกันชาระเริ่มตั้งแต่คัมภีร์พระธรรมศาสตร์เป็น
ต้นไป ให้ถูกต้องตรงตามพระบาลี และเนื้อความมิ
ให้มีที่ผิดเพี้ยน หรือซ้ากันได้และจัดเป็นหมวดหมู่
ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อประโยชน์
ครั้นชาระเรียบร้อยแล้ว ทรงโปรดให้
อาลักษณ์คัดไว้3 ชุด โปรดให้ประทับตรา
ราชสีห์ คชสีห์ และบัวแก้ว ไว้ทุกเล่มจึงเรียก
กันว่า กฎหมายตราสามดวง และโปรดให้
คัดลอกสารองอีก 1 ชุด เรียกว่า ฉบับรองทรง
ซึ่งไม่มีการประทับตราสามดวง กฎหมายตรา
สามดวงใช้ในราชการมาอีกประมาณ 100 ปี
ได้เลิกใช้สมัยรัชกาลที่ 5
กฎหมายตรา 3 ดวงนี้มีลักษณะเป็น
ประมวลกฎหมายเช่นเดียวกับกฎหมาย
ในปัจจุบัน เพียงแต่ว่ามิได้จัดหมวดหมู่
ให้เป็นระเบียบรัดกุมเหมือนประมวล
กฎหมายปัจจุบัน จึงได้เรียกอีกอย่างว่า
ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1
การพิจารณาคดี ใช้ระบบจารีตนครบาล
ทรมานจาเลยเพื่อบังคับให้รับสารภาพ ส่วน
การพิสูจน์ความผิดจะใช้วิธีการทางไสยศาสตร์
มีการลงโทษจาเลยอย่างรุนแรง ถ้าจาเลยไม่
พอใจคาตัดสิน ก็สามารถถวายฎีกาโดยไปตี
กลองวินิจฉัยเภรี แต่ต้องโดนเฆี่ยนก่อน 30 ที
ต่อมา รัชกาลที่ 4 โปรดในยกเลิกการเฆี่ยน 30
ที ก่อนถวายฎีกา
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เศรษฐกิจอยู่ในสภาพที่พออยู่กันได้โดยไม่
เดือดร้อนมากนัก ถึงแม้ว่าการเก็บภาษีอากรได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย แต่ก็ได้นา
กาไรจากค้าสาเภาหลวงกับต่างประเทศมาใช้จ่ายแก้ปัญหา ต่อมารัชกาลที่ 3 ได้ทรง
เพิ่มพูนรายได้แก่ประเทศโดยใช้วิธีประมูลผูกขาดการเก็บภาษีอากรเพิ่มภาษีใหม่ถึง
38 ชนิด ทาให้ประเทศมีรายได้เพียงพอกับรายจ่าย
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจในกรุงรัตนโกสินทร์
ยุดฟื้นฟูชาติบ้านเมือง มีลักษณะดังนี้
2.1 ผลิตผลทางการเกษตร ที่สาคัญ ได้แก่
ข้าว น้าตาล พริกไทย เป็นสินค้าผูกขาดของทาง
ราชการ โดยพระคลังสินค้าเป็นผู้ผูกขาดการค้า
เพียงผู้เดียว
2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ทารายได้อย่าง
มาก มีไม้สัก ไม้กฤษณา ไม้ฝาง ดีบุก
3. รายได้แผ่นดิน การจัดเก็บภาษีอากรยังคงมีลักษณะเหมือนกับสมัยกรุงศรีอยุธยา
ดังนี้
3.1 การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 1
ภาษีอากรการค้าภายในประเทศ ได้แก่
จังกอบ อากร ฤชา ส่วย
ภาษีอากรการค้ากับต่างประเทศ ได้แก่ ภาษี
เบิกร่อง ภาษีสินค้าเข้า ภาษีสินค้าออก
3.2 การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 2
ภาษีอากรการค้าภายในประเทศ ได้แก่
เงินผูกบี้ หรือเงินผูกบี้ข้อมือจีน การเดิน
สวน และการเดินนา ภาษีผูกขาด
ภาษีอากรการค้ากับต่างประเทศ ได้แก่
ภาษีเบิกร่อง ภาษีสินค้าเข้า
การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 3
มีการปรับปรุงวิธีการเก็บภาษีใหม่
เพราะ
1) ระบบการเก็บภาษีอากรแบบเดิม
ไม่รัดกุม ทาให้รายได้แผ่นดินตกต่า
2) ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีการทา
สงครามหลายครั้ง
วิธีการปรับปรุงการเก็บภาษีอากร
1) การเก็บภาษีหางข้าวเปลี่ยนจากข้าวเป็นเงินแทน
2) กาหนดการเก็บภาษีอากรชนิดใหม่เพิ่มขึ้น เช่น ภาษีบ่อนเบี้ยจีน หวย ก.ข.
เป็นต้น
3) จัดตั้งระบบเจ้าภาษีนายอากร โดยให้เอกชนประมูลรับเหมาผูกขาดการ
จัดเก็บภาษีอากรประเภทต่าง ๆ
4) ยกเลิกภาษีอากรบางชนิด เช่น ภาษีฝิ่น อากรน้า อากรรักษาเกาะ เป็นต้น
4.1 การสร้าง บูรณะ และปฏิสังขรณ์วัด
4.1.1 สมัยรัชกาลที่ 1 สร้างวัดพระ
ศรีรัตนศาสดาราม ในเขตพระราชวัง
บูรณะซ่อมแซมวัดพระเชตุพนวิมล
มังคลาราม (วัดประจารัชกาลที่ 1)
4.1.2 สมัยรัชกาลที่ 2 บูรณะวัดอรุณ
ราชวาราม เป็นวัดประจารัชกาลที่ 2
4.1.3 สมัยรัชกาลที่ 3 บูรณะวัดราช
โอรสาราม หรือ วัดจอมทอง เป็นวัด
ประจารัชกาลที่ 3 บูรณะวัดยานนาวา
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดนี้ได้
ชื่อว่า มหาวิทยาลัยแห่งแรกของ
เมืองไทย
4.2 การรวบรวมสังคายนาพระไตรปิฎก
4.2.1 สมัยรัชกาลที่ 1 ทรงโปรดเกล้าให้
สังคายนาพระไตรปิฎกที่วัดมหาธาตุยุวราช
รังสฤษฎิ์ แล้วให้ช่างจารึกลงบนใบลาน เรียกว่า
พระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่ หรือฉบับทองทึบ
และโปรดให้สร้างอีก 2 ฉบับ คือ ฉบับรองทรง
หรือฉบับข้างลาย และฉบับทองชุบ
4.2.2 สมัยรัชกาลที่ 3 มีการสร้าง
พระไตรปิฎกขึ้นอีกเป็นจานวนมากยิ่ง
กว่าในรัชกาลใด ๆ ฝีมือดีเยี่ยม ประณีต
งดงามเหนือกว่าฉบับใด ๆ อักขรบาลีก็
ได้รับการชาระสอบสวนให้ถูกต้อง
ครบถ้วน ได้รับการยกย่องว่ายอดเยี่ยม
กว่าฉบับใด ๆ ที่เคยมีมา
4.3 การตรากฎหมายพระสงฆ์ ในสมัยรัชกาลที่ 1 รวมทั้งสิ้น 10 ฉบับ เพื่อ
ควบคุมความประพฤติของสงฆ์
4.4 พระราชพิธีอาพาธวินาศ ในสมัยรัชกาลที่ 2 เกิดอหิวาตกโรคระบาดครั้ง
ใหญ่ในกรุงเทพมหานคร รัชกาลที่ 2 จึงโปรดให้จัดพิธีอาพาธวินาศขึ้น
4.5 การปรับปรุงการสอบพระปริยัติธรรมใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยเปลี่ยน
จากเปรียญตรี – เอก เป็นเปรียญ 1 – 9 ประโยค
4.6 การก่อตั้งธรรมยุตินิกาย ในสมัย
รัชกาลที่ 3 โดยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
เจ้าฟ้ามงกุฎสมมุติเทววาวงศ์(รัชกาลที่ 4)
ได้ทรงประกาศตั้งฝ่ายคณะสงฆ์ขึ้นใหม่
ชื่อว่า ธรรมยุตินิกาย แปลว่า ผู้ปฏิบัติ
ตามธรรมวินัย
5.1 สถาปัตยกรรม
5.1.1 สมัยรัชกาลที่ 1 เน้นการฟื้นฟู
ของเก่าให้ดีดังเดิม ให้โอ่อ่าสง่างาม
ได้แก่ พระมหามณเฑียร พระมหา
ปราสาท นอกจากนั้นนิยมสร้างพระ
ปรางค์กับพระเจดีย์เหลี่ยมเป็นพื้น
5.1.2 สมัยรัชกาลที่ 3 มีการก่อสร้าง
อาคารหลายชั้นเป็นครั้งแรก โดยมี
ศิลปะการช่างแบบจีนปะปน
นอกจากนั้นมีการประดิษฐ์ยอดซุ้ม
และยอดปราสาทต่าง ๆ เป็นรูปทรง
มงกุฎ
5.2 ประติมากรรม
5.2.1 สมัยรัชกาลที่ 1 มี การแกะ
ลวดลายปิดทองประดับกระจก
การประดับมุก การช่าง
รูปพรรณ การทาลายรดน้า
5.2.2 สมัยรัชกาลที่ 2 มีการนาศิลปะชาติ
ตะวันตก และจีนเข้ามาผสานผสมด้วย ทา
ให้รูปทรงลวดลาย และสิ่งประดับต่าง ๆ
เปลี่ยนไป เช่น หุ่นไทยฝีพระหัตถ์รัชกาล
ที่ 2 ซึ่งแกะจากไม้รัก เรียกกันว่า พระยา
รักใหญ่ และพระยารักน้อย
5.2.3 สมัยรัชกาลที่ 3 มีการสร้าง
พระพุทธรูปขึ้นเป็นจานวนมาก เช่น
พระพุทธตรีโลกเชษฐ์ พระเสรฐตมนี
พระพุทธมหาโลกาภินันท์พระพุทธ
ไตรรัตนนายก พระพุทธไสยาสน์
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธรูป
เลิศหล้านภาลัย
5.3 จิตรกรรม
5.3.1 สมัยรัชกาลที่ 1จิตรกรรม
ฝาผนัง ที่สาคัญ คือ ภาพเขียน
ในพระที่นั่งพุทไธสวรรค์ภาพ
พระพุทธองค์ตอนผจญมาร
ภาพสวรรค์วิมาน 16 ชั้น
ภาพเขียนตาราฟ้อนรา
5.3.2 สมัยรัชกาลที่ 2 จิตรกรรม ที่สาคัญ
คือ เครื่องถ้วยชามเบญจรงค์จากเมืองจีน
ฝีมือประณีตบรรจง และงามมี 5 สี คือ
แดง เขียว เหลือง ขาว ดา หรือขาบ
เครื่องถม วิชาช่างถมที่ขึ้นชื่อมาจาก
นครศรีธรรมราช เรียกว่า "ถมนคร"
5.3.3 สมัยรัชกาลที่ 3 จิตรกรรมส่วนใหญ่
เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่สาคัญ คือ
ภาพพุทธประวัติ วรรณกรรมไทย ชาดก
ป่าหิมพานต์จากไตรภูมิพระร่วงในวิหาร
หลวงวัดสุทัศนเทพวราราม ภาพทศชาติ
และชาดกในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตน
ศาสดาราม
5.4 นาฎศิลป์
5.4.1 สมัยรัชกาลที่ 1มีดังนี้ โขน มีการฝึกหัดโขนขึ้นทั้งในวัง และโขนของ ละครใน
ละครนอก ละครชาตรี ระบา นอกจากนี้ยังมีศิลปะของการราเดี่ยว ราคู่ ราประกอบ
เพลง ราอาวุธ เป็นต้น
รัชกาลที่ 1 โปรดให้มีการประชุมครูละครจัดทาตาราท่าราแบบฉบับสาหรับพระ
นคร โดยเขียนเป็นรูปภาพแสดงท่ารา ระบายสีปิดทองสวยงาม เป็นตาราว่าด้วยการ
ฟ้อนราที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ
5.4.2 วงดนตรีสมัยรัชกาลที่ 1 มี 3 ชนิด ดังนี้
วงปีพาทย์ ประกอบด้วย เครื่องตี และมี
เครื่องเป่า คือ ปี่ เป็นเครื่องหลัก
วงเครื่องสาย ประกอบด้วย เครื่องดนตรี
จาพวกมีสาย และมีเครื่องเป่า เครื่องตี
วงมโหรี มีทั้งเครื่องบรรเลงในวงเครื่องสาย
และวงปี่พาทย์ผสม
5.4.3 ดุริยางคศิลป์ หรือดนตรี ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถใน
ด้านดนตรี เครื่องดนตรีที่ทรงถนัด และโปรดปรานมากที่สุด คือ ซอสามสาย ได้ทรง
สร้างไว้เป็นของคู่พระหัตถ์คันหนึ่ง พระราชทานนามว่า ซอสายฟ้าฟาด นอกจากนั้น
ได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยเดิมไว้คือ เพลงบุหลันลอยเลื่อน หรือบุหลันลอยฟ้า
บางที่เรียกกันว่า เพลงสรรเสริญพระจันทร์ หรือเพลงทรงพระสุบิน ผู้ที่เป็นหัวแรง
สาคัญเป็นที่ปรึกษาด้านนาฏศาสตร์แก่รัชกาลที่ 2 คือ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี
5.5 ประเพณี
5.5.1 พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 1
ได้โปรดเกล้าให้ฟื้นฟู และโปรดให้สร้าง
เครื่องราชูปโภคต่าง ๆ สาหรับการพระราช
พิธีนี้ด้วย
5.5.2 รัชกาลที่ 1 จึงโปรดให้จัดพระราชพิธี
โสกันต์ขึ้น โดยรื้อฟื้นจัดทาเป็นพระราชพิธี
ใหญ่ตามแบบอย่างสมัยอยุธยา
5.5.3 การฟื้นฟูการเล่นสักวา รัชกาลที่ 1 โปรดให้ฟื้นฟูการเล่นเพลงสักวาหน้า
น้านองที่คลองมหานาคตามแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยา นอกจากนั้น พระองค์
ยังโปรดให้ฟื้นฟูพระราชประเพณีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธี
ตรียัมปวาย(พิธีโล้ชิงช้า) ประเพณีเทศน์มหาชาติ ประเพณีเสด็จพระราชดาเนิน
ทอดผ้าพระกฐิน
5.5.4 ประเพณีงานวิสาขบูชา รัชกาลที่ 2 โปรดให้ฟื้นฟู ด้วยเป็นวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา
5.6 วรรณกรรม
5.6.1 รัชกาลที่ 1 ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมต่าง ๆ ได้แก่ บทละครเรื่อง
รามเกียรติ์ ตั้งแต่ตอน หิรัญยักษ์ม้วนแผ่นดิน จนจบเรื่องรามเกียรติ์ บทละคร
เรื่องอิเหนา และดาหลัง บทละครเรื่องอุณรุท พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์
เช่นเดียวกับเรื่องอนิรุทธ์คาฉันท์ของศรีปราชญ์ จุดประสงค์เพื่อสอนให้ข้าทหาร
มีความองอาจกล้าหาญ และจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์นิราศรบพม่าที่ท่าดิน
แดง พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทมาศ(เจิม)
5.6.2 รัชกาลที่ 2 เป็นสมัยที่วรรณกรรม หรือวรรณคดีเจริญถึงขีดสุด จนได้ชื่อ
ว่าเป็น ยุคทองแห่งวรรณคดี วรรณกรรมที่สาคัญ มีดังนี้
1) บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนหนุมานถวายแหวนนางลอยจนเสร็จศึกลงกา
และตอนนางสีดา หลงกลนางอดูล จนจบตอนอภิเษกไกรลาส
2) บทละครเรื่องอิเหนา ทรงพระราชนิพนธ์จนได้รับการยกย่อง เป็นยอดของ
บทละครรา
3) บทพากย์โขนเรื่องรามเกียรติ์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้4 ตอน คือ พระ
พรหมาสตร์ นาคบาศ นางลอย และเอราวัณ
4) บทละครนอก เรื่อง มณีพิชัย ไชยเชฐ สังข์ทอง ไกรทอง และคาวี
5) เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างได้นางแก้วกิริยา และ
ตอนขุนแผนพานางวันทองหนี ถูกจัดเป็น ยอดของกลอนเสภา
5.6.3 สมัยรัชกาลที่ 3 เป็นสมัยที่กาเนิดการพิมพ์และการจารึกที่วัดพระเชตุพนวิมลมัง
คลาราม วรรณกรรมที่สาคัญ ได้แก่ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างขอนางพิม
และขุนช้างตามนางวันทอง บทละครเรื่องสังข์ศิลป์ ชัย กลอนเพลงยาวกลบท
5.6.4 สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ได้รับการยกย่องเป็นรัตนกวี
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ผลงานที่สาคัญ คือ ลิลิตตะเลงพ่าย สมุทรโฆษคาฉันท์ปฐม
สมโพธิกถา กฤษณาสอนน้องคาฉันท์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย

More Related Content

What's hot

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5Ornrutai
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 

What's hot (20)

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 

Viewers also liked

กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารtumetr1
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยSukanda Panpetch
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 

Viewers also liked (6)

กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทยประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
ประวัติและผลงาน 9 รัชกาลของไทย
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 

More from คุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง (10)

กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
S2
S2S2
S2
 
S1
S1S1
S1
 
56 vs57
56 vs5756 vs57
56 vs57
 
Social
SocialSocial
Social
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Patitin57
Patitin57Patitin57
Patitin57
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัยกับการพัฒนาชาติไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยอยุธยากับการพัฒนาชาติไทย
 

กษัตริย์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์กับการพัฒนาชาติไทย

  • 1.
  • 2. เมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกทรงทราบข่าวการก่อจลาจลในกรุงธนบุรี ก็ทรงยกทัพกลับจากการตีกัมพูชา ทรงสอบสวนเรื่องราวที่เกิดขึ้น และประชุม ขุนนาง ลูกขุน ณ ศาลา ตลอดจนข้าราชการ ที่ประชุมได้ลงความเห็นว่าให้สาเร็จ โทษสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเสีย และได้พร้อมกันทูลอัญเชิญให้สมเด็จเจ้าพระยา มหากษัตริย์ศึกขึ้นเป็นกษัตริย์ เป็นปฐมบรมราชวงศ์จักรี ในวันที่ 6 เม.ย. 2325
  • 3. รัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาตั้งที่กรุง รัตนโกสินทร์ มีเหตุผลดังต่อไปนี้ 1. พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ เพราะมีวัดอรุณฯ และวัดโมฬีฯ ขนาบ ทั้ง 2 ด้าน 2. ฝั่งกรุงธนบุรีถูกน้ากัดเซาะตลิ่งพังทลาย 3. กรุงธนบุรีมีสภาพเป็นเมืองอกแตก มีแม่น้าผ่ากลาง การเคลื่อนย้ายกาลังพล ในการต่อสู้ข้าศึกทาได้ลาบาก
  • 4.
  • 5. รัชกาลที่ 1 มีการทาสงครามกับพม่า 7 ครั้ง แต่ ที่สาคัญ ๆ มี 2 ครั้ง คือ 1. สงครามเก้าทัพ พระเจ้าปะดุงกษัตริย์พม่า โปรดให้จัดทัพ 9 ทัพ ยกทัพมาตีกรุงเทพฯ ส่วนรัชกาลที่ 1 จัดทัพ 4 ทัพ ออกไปตั้งรับ ข้าศึกด้านทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้
  • 7. 2. สงครามท่าดินแดน พระเจ้าปะดุง ยกทัพใหญ่มาทางด่านเจดีย์สามองค์ รัชกาลที่ 1 ยกทัพไปตีค่ายพม่าแตก ทุกค่ายโดยใช้เวลาเพียง 3 วัน ผลของ สงครามครั้งนี้ทาให้พม่ากลัวไทย
  • 8. ในสมัยรัชกาลที่ 3 เจ้าอนุวงศ์ แห่งเวียงจันทน์ได้ก่อกบฏ ยกทัพยึดเมืองนครราสีมา ได้กวาดต้อนชาวเมือง และทรัพย์สินส่งไปเวียงจันทน์ ซึ่งในหมู่ชาวเมืองที่ถูกกวาด ต้อนไปนั้น มีคุณหญิงโม ภริยาของพระยาปลัดเมืองนครราชสีมาอยู่ด้วย เมื่อถึงทุ่ง สัมฤทธิ์ คุณหญิงโมได้วางอุบายเลี้ยงสุราอาหารแก่นายทหารไพร่ลาว พอได้โอกาสก็ จู่โจมฆ่าฟันทหารลาวแตกทัพหนี พอดีกองทัพทางกรุงเทพฯยกขึ้นไปทัน รุกไล่ กองทัพลาว และสามารถจับเจ้าอนุวงศ์ได้ ลาวจึงตกเป็นเมืองขึ้นของไทยเรื่อยมา จนต่อมาภายหลังไทยจึงเสียดินแดนลาวให้แก่ฝรั่งเศส
  • 9. 2.1 การปกครองส่วนกลาง มีการแบ่งเป็น 6 กรม คือ 2.1.1 กรมมหาดไทย มีอัครมหาเสนาบดี ตาแหน่งสมุหนายกเป็นผู้บังคับบัญชาดูแล รับผิดชอบฝ่ายทหาร และพลเรือนในหัวเมืองฝ่าย เหนือ และอีสานทั้งหมด ใช้ตราราชสีห์เป็นตรา ประจาตาแหน่ง
  • 10. 2.1.2 กรมกลาโหม มีอัครมหาเสนาบดี ตาแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชาดูแล รับผิดชอบฝ่ายทหาร และพลเรือนในหัวเมืองฝ่ายใต้ ทั้งหมด จานวน 20 เมือง ใช้ตราคชสีห์ เป็นตรา ประจาตาแหน่ง 2.1.3 กรมเมือง มีเสนาบดีทาหน้าที่ดูแลรักษา ความสงบเรียบร้อย ตัดสินคดีความต่าง ๆ ในเขตราช ธานี ใช้ตราพระยมทรงสิงห์ เป็นตราประจาตาแหน่ง
  • 11. 2.1.4 กรมวัง มีเสนาบดีดูแลราชการเกี่ยวกับพระราช มณเฑียร พระราชวัง พระราชพิธีต่าง ๆ และตัดสินคดี ความในเขตพระราชวัง ใช้ตราเทพยดาทรงพระนนทิการ (พระโค) เป็นตราประจาตาแหน่ง 2.1.5 กรมท่า ใช้ตราดอกบัว เป็นตราประจาตาแหน่ง มีหน้าที่รับผิดชอบตามฝ่ายการเงิน ฝ่ายการต่างประเทศ ฝ่ายตรวจบัญชี และดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก
  • 12. 2.1.6 กรมนา มีเสนาบดี มีหน้าที่ดูแล รักษานาหลวง เก็บหางข้าวค่านาจาก ราษฎร และพิจารณาคดีเกี่ยวกับเรื่องที่นา และโคกระบือ ใช้ตราพระพิรุณทรงนาค เป็นตราประจาตาแหน่ง
  • 13. 2.2 การปกครองส่วนภูมิภาค 2.2.1 หัวเมืองชั้นใน เป็นเมืองที่อยู่ใกล้ๆ เมืองหลวง มีฐานะเป็นเพียงหัวเมือง จัตวา ผู้ดูแลหัวเมืองเรียกว่า ผู้รั้ง ขึ้นตรงต่อเสนาบดีกรมต่าง ๆ ในราชธานี 2.2.2 หัวเมืองชั้นนอก เป็นเมืองที่อยู่ห่างไกลราชธานีออกไป จัดเป็นเมืองพระยา มหานคร พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งราชวงศ์หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่เป็นเจ้าเมือง ปกครองดูแล มีอานาจสิทธิ์ขาดแทนกษัตริย์ทุกประการ และมีกรมการเช่นเดียวกับใน ราชธานี หัวเมืองชั้นนอกแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
  • 14. 1) หัวเมืองใหญ่ แบ่งเป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี ตามขนาด และความสาคัญ ของเมือง 2) หัวเมืองชั้นรอง เป็นเมืองชั้นจัตวา ขึ้นอยู่กับหัวเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้เคียง 2.2.3 หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองต่างชาติต่างภาษาซึ่งอยู่ชายแดนติดต่อกับ ประเทศอื่น มีฐานะเป็นประเทศราช มีเจ้านายของชาตินั้น ๆ ทาการปกครองกันเอง แต่ ราชธานีจะเป็นผู้แต่งตั้ง ต้องถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทอง เครื่องราชบรรณาการมาถวาย เมื่อทางราชธานีเกิดสงคราม ต้องส่งทหารมาช่วยรบ
  • 15. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้า ให้ชาระพระราชกาหนดกฎหมายครั้งใหญ่ขึ้น โดย ช่วยกันชาระเริ่มตั้งแต่คัมภีร์พระธรรมศาสตร์เป็น ต้นไป ให้ถูกต้องตรงตามพระบาลี และเนื้อความมิ ให้มีที่ผิดเพี้ยน หรือซ้ากันได้และจัดเป็นหมวดหมู่ ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อประโยชน์
  • 16. ครั้นชาระเรียบร้อยแล้ว ทรงโปรดให้ อาลักษณ์คัดไว้3 ชุด โปรดให้ประทับตรา ราชสีห์ คชสีห์ และบัวแก้ว ไว้ทุกเล่มจึงเรียก กันว่า กฎหมายตราสามดวง และโปรดให้ คัดลอกสารองอีก 1 ชุด เรียกว่า ฉบับรองทรง ซึ่งไม่มีการประทับตราสามดวง กฎหมายตรา สามดวงใช้ในราชการมาอีกประมาณ 100 ปี ได้เลิกใช้สมัยรัชกาลที่ 5
  • 17. กฎหมายตรา 3 ดวงนี้มีลักษณะเป็น ประมวลกฎหมายเช่นเดียวกับกฎหมาย ในปัจจุบัน เพียงแต่ว่ามิได้จัดหมวดหมู่ ให้เป็นระเบียบรัดกุมเหมือนประมวล กฎหมายปัจจุบัน จึงได้เรียกอีกอย่างว่า ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1
  • 18. การพิจารณาคดี ใช้ระบบจารีตนครบาล ทรมานจาเลยเพื่อบังคับให้รับสารภาพ ส่วน การพิสูจน์ความผิดจะใช้วิธีการทางไสยศาสตร์ มีการลงโทษจาเลยอย่างรุนแรง ถ้าจาเลยไม่ พอใจคาตัดสิน ก็สามารถถวายฎีกาโดยไปตี กลองวินิจฉัยเภรี แต่ต้องโดนเฆี่ยนก่อน 30 ที ต่อมา รัชกาลที่ 4 โปรดในยกเลิกการเฆี่ยน 30 ที ก่อนถวายฎีกา
  • 19. สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เศรษฐกิจอยู่ในสภาพที่พออยู่กันได้โดยไม่ เดือดร้อนมากนัก ถึงแม้ว่าการเก็บภาษีอากรได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย แต่ก็ได้นา กาไรจากค้าสาเภาหลวงกับต่างประเทศมาใช้จ่ายแก้ปัญหา ต่อมารัชกาลที่ 3 ได้ทรง เพิ่มพูนรายได้แก่ประเทศโดยใช้วิธีประมูลผูกขาดการเก็บภาษีอากรเพิ่มภาษีใหม่ถึง 38 ชนิด ทาให้ประเทศมีรายได้เพียงพอกับรายจ่าย
  • 20. สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจในกรุงรัตนโกสินทร์ ยุดฟื้นฟูชาติบ้านเมือง มีลักษณะดังนี้ 2.1 ผลิตผลทางการเกษตร ที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว น้าตาล พริกไทย เป็นสินค้าผูกขาดของทาง ราชการ โดยพระคลังสินค้าเป็นผู้ผูกขาดการค้า เพียงผู้เดียว 2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ทารายได้อย่าง มาก มีไม้สัก ไม้กฤษณา ไม้ฝาง ดีบุก
  • 21. 3. รายได้แผ่นดิน การจัดเก็บภาษีอากรยังคงมีลักษณะเหมือนกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ดังนี้ 3.1 การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 1 ภาษีอากรการค้าภายในประเทศ ได้แก่ จังกอบ อากร ฤชา ส่วย ภาษีอากรการค้ากับต่างประเทศ ได้แก่ ภาษี เบิกร่อง ภาษีสินค้าเข้า ภาษีสินค้าออก
  • 22. 3.2 การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 2 ภาษีอากรการค้าภายในประเทศ ได้แก่ เงินผูกบี้ หรือเงินผูกบี้ข้อมือจีน การเดิน สวน และการเดินนา ภาษีผูกขาด ภาษีอากรการค้ากับต่างประเทศ ได้แก่ ภาษีเบิกร่อง ภาษีสินค้าเข้า
  • 24. วิธีการปรับปรุงการเก็บภาษีอากร 1) การเก็บภาษีหางข้าวเปลี่ยนจากข้าวเป็นเงินแทน 2) กาหนดการเก็บภาษีอากรชนิดใหม่เพิ่มขึ้น เช่น ภาษีบ่อนเบี้ยจีน หวย ก.ข. เป็นต้น 3) จัดตั้งระบบเจ้าภาษีนายอากร โดยให้เอกชนประมูลรับเหมาผูกขาดการ จัดเก็บภาษีอากรประเภทต่าง ๆ 4) ยกเลิกภาษีอากรบางชนิด เช่น ภาษีฝิ่น อากรน้า อากรรักษาเกาะ เป็นต้น
  • 25. 4.1 การสร้าง บูรณะ และปฏิสังขรณ์วัด 4.1.1 สมัยรัชกาลที่ 1 สร้างวัดพระ ศรีรัตนศาสดาราม ในเขตพระราชวัง บูรณะซ่อมแซมวัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม (วัดประจารัชกาลที่ 1)
  • 26. 4.1.2 สมัยรัชกาลที่ 2 บูรณะวัดอรุณ ราชวาราม เป็นวัดประจารัชกาลที่ 2 4.1.3 สมัยรัชกาลที่ 3 บูรณะวัดราช โอรสาราม หรือ วัดจอมทอง เป็นวัด ประจารัชกาลที่ 3 บูรณะวัดยานนาวา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดนี้ได้ ชื่อว่า มหาวิทยาลัยแห่งแรกของ เมืองไทย
  • 27. 4.2 การรวบรวมสังคายนาพระไตรปิฎก 4.2.1 สมัยรัชกาลที่ 1 ทรงโปรดเกล้าให้ สังคายนาพระไตรปิฎกที่วัดมหาธาตุยุวราช รังสฤษฎิ์ แล้วให้ช่างจารึกลงบนใบลาน เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่ หรือฉบับทองทึบ และโปรดให้สร้างอีก 2 ฉบับ คือ ฉบับรองทรง หรือฉบับข้างลาย และฉบับทองชุบ
  • 28. 4.2.2 สมัยรัชกาลที่ 3 มีการสร้าง พระไตรปิฎกขึ้นอีกเป็นจานวนมากยิ่ง กว่าในรัชกาลใด ๆ ฝีมือดีเยี่ยม ประณีต งดงามเหนือกว่าฉบับใด ๆ อักขรบาลีก็ ได้รับการชาระสอบสวนให้ถูกต้อง ครบถ้วน ได้รับการยกย่องว่ายอดเยี่ยม กว่าฉบับใด ๆ ที่เคยมีมา
  • 29. 4.3 การตรากฎหมายพระสงฆ์ ในสมัยรัชกาลที่ 1 รวมทั้งสิ้น 10 ฉบับ เพื่อ ควบคุมความประพฤติของสงฆ์ 4.4 พระราชพิธีอาพาธวินาศ ในสมัยรัชกาลที่ 2 เกิดอหิวาตกโรคระบาดครั้ง ใหญ่ในกรุงเทพมหานคร รัชกาลที่ 2 จึงโปรดให้จัดพิธีอาพาธวินาศขึ้น 4.5 การปรับปรุงการสอบพระปริยัติธรรมใหม่ ในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยเปลี่ยน จากเปรียญตรี – เอก เป็นเปรียญ 1 – 9 ประโยค
  • 30. 4.6 การก่อตั้งธรรมยุตินิกาย ในสมัย รัชกาลที่ 3 โดยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมุติเทววาวงศ์(รัชกาลที่ 4) ได้ทรงประกาศตั้งฝ่ายคณะสงฆ์ขึ้นใหม่ ชื่อว่า ธรรมยุตินิกาย แปลว่า ผู้ปฏิบัติ ตามธรรมวินัย
  • 31. 5.1 สถาปัตยกรรม 5.1.1 สมัยรัชกาลที่ 1 เน้นการฟื้นฟู ของเก่าให้ดีดังเดิม ให้โอ่อ่าสง่างาม ได้แก่ พระมหามณเฑียร พระมหา ปราสาท นอกจากนั้นนิยมสร้างพระ ปรางค์กับพระเจดีย์เหลี่ยมเป็นพื้น
  • 32. 5.1.2 สมัยรัชกาลที่ 3 มีการก่อสร้าง อาคารหลายชั้นเป็นครั้งแรก โดยมี ศิลปะการช่างแบบจีนปะปน นอกจากนั้นมีการประดิษฐ์ยอดซุ้ม และยอดปราสาทต่าง ๆ เป็นรูปทรง มงกุฎ
  • 33. 5.2 ประติมากรรม 5.2.1 สมัยรัชกาลที่ 1 มี การแกะ ลวดลายปิดทองประดับกระจก การประดับมุก การช่าง รูปพรรณ การทาลายรดน้า
  • 34. 5.2.2 สมัยรัชกาลที่ 2 มีการนาศิลปะชาติ ตะวันตก และจีนเข้ามาผสานผสมด้วย ทา ให้รูปทรงลวดลาย และสิ่งประดับต่าง ๆ เปลี่ยนไป เช่น หุ่นไทยฝีพระหัตถ์รัชกาล ที่ 2 ซึ่งแกะจากไม้รัก เรียกกันว่า พระยา รักใหญ่ และพระยารักน้อย
  • 35. 5.2.3 สมัยรัชกาลที่ 3 มีการสร้าง พระพุทธรูปขึ้นเป็นจานวนมาก เช่น พระพุทธตรีโลกเชษฐ์ พระเสรฐตมนี พระพุทธมหาโลกาภินันท์พระพุทธ ไตรรัตนนายก พระพุทธไสยาสน์ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธรูป เลิศหล้านภาลัย
  • 36. 5.3 จิตรกรรม 5.3.1 สมัยรัชกาลที่ 1จิตรกรรม ฝาผนัง ที่สาคัญ คือ ภาพเขียน ในพระที่นั่งพุทไธสวรรค์ภาพ พระพุทธองค์ตอนผจญมาร ภาพสวรรค์วิมาน 16 ชั้น ภาพเขียนตาราฟ้อนรา
  • 37. 5.3.2 สมัยรัชกาลที่ 2 จิตรกรรม ที่สาคัญ คือ เครื่องถ้วยชามเบญจรงค์จากเมืองจีน ฝีมือประณีตบรรจง และงามมี 5 สี คือ แดง เขียว เหลือง ขาว ดา หรือขาบ เครื่องถม วิชาช่างถมที่ขึ้นชื่อมาจาก นครศรีธรรมราช เรียกว่า "ถมนคร"
  • 38. 5.3.3 สมัยรัชกาลที่ 3 จิตรกรรมส่วนใหญ่ เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่สาคัญ คือ ภาพพุทธประวัติ วรรณกรรมไทย ชาดก ป่าหิมพานต์จากไตรภูมิพระร่วงในวิหาร หลวงวัดสุทัศนเทพวราราม ภาพทศชาติ และชาดกในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตน ศาสดาราม
  • 39. 5.4 นาฎศิลป์ 5.4.1 สมัยรัชกาลที่ 1มีดังนี้ โขน มีการฝึกหัดโขนขึ้นทั้งในวัง และโขนของ ละครใน ละครนอก ละครชาตรี ระบา นอกจากนี้ยังมีศิลปะของการราเดี่ยว ราคู่ ราประกอบ เพลง ราอาวุธ เป็นต้น รัชกาลที่ 1 โปรดให้มีการประชุมครูละครจัดทาตาราท่าราแบบฉบับสาหรับพระ นคร โดยเขียนเป็นรูปภาพแสดงท่ารา ระบายสีปิดทองสวยงาม เป็นตาราว่าด้วยการ ฟ้อนราที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ
  • 40. 5.4.2 วงดนตรีสมัยรัชกาลที่ 1 มี 3 ชนิด ดังนี้ วงปีพาทย์ ประกอบด้วย เครื่องตี และมี เครื่องเป่า คือ ปี่ เป็นเครื่องหลัก วงเครื่องสาย ประกอบด้วย เครื่องดนตรี จาพวกมีสาย และมีเครื่องเป่า เครื่องตี วงมโหรี มีทั้งเครื่องบรรเลงในวงเครื่องสาย และวงปี่พาทย์ผสม
  • 41. 5.4.3 ดุริยางคศิลป์ หรือดนตรี ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถใน ด้านดนตรี เครื่องดนตรีที่ทรงถนัด และโปรดปรานมากที่สุด คือ ซอสามสาย ได้ทรง สร้างไว้เป็นของคู่พระหัตถ์คันหนึ่ง พระราชทานนามว่า ซอสายฟ้าฟาด นอกจากนั้น ได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยเดิมไว้คือ เพลงบุหลันลอยเลื่อน หรือบุหลันลอยฟ้า บางที่เรียกกันว่า เพลงสรรเสริญพระจันทร์ หรือเพลงทรงพระสุบิน ผู้ที่เป็นหัวแรง สาคัญเป็นที่ปรึกษาด้านนาฏศาสตร์แก่รัชกาลที่ 2 คือ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี
  • 42. 5.5 ประเพณี 5.5.1 พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 1 ได้โปรดเกล้าให้ฟื้นฟู และโปรดให้สร้าง เครื่องราชูปโภคต่าง ๆ สาหรับการพระราช พิธีนี้ด้วย 5.5.2 รัชกาลที่ 1 จึงโปรดให้จัดพระราชพิธี โสกันต์ขึ้น โดยรื้อฟื้นจัดทาเป็นพระราชพิธี ใหญ่ตามแบบอย่างสมัยอยุธยา
  • 43. 5.5.3 การฟื้นฟูการเล่นสักวา รัชกาลที่ 1 โปรดให้ฟื้นฟูการเล่นเพลงสักวาหน้า น้านองที่คลองมหานาคตามแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยา นอกจากนั้น พระองค์ ยังโปรดให้ฟื้นฟูพระราชประเพณีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธี ตรียัมปวาย(พิธีโล้ชิงช้า) ประเพณีเทศน์มหาชาติ ประเพณีเสด็จพระราชดาเนิน ทอดผ้าพระกฐิน 5.5.4 ประเพณีงานวิสาขบูชา รัชกาลที่ 2 โปรดให้ฟื้นฟู ด้วยเป็นวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา
  • 44. 5.6 วรรณกรรม 5.6.1 รัชกาลที่ 1 ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมต่าง ๆ ได้แก่ บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตั้งแต่ตอน หิรัญยักษ์ม้วนแผ่นดิน จนจบเรื่องรามเกียรติ์ บทละคร เรื่องอิเหนา และดาหลัง บทละครเรื่องอุณรุท พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ เช่นเดียวกับเรื่องอนิรุทธ์คาฉันท์ของศรีปราชญ์ จุดประสงค์เพื่อสอนให้ข้าทหาร มีความองอาจกล้าหาญ และจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์นิราศรบพม่าที่ท่าดิน แดง พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทมาศ(เจิม)
  • 45. 5.6.2 รัชกาลที่ 2 เป็นสมัยที่วรรณกรรม หรือวรรณคดีเจริญถึงขีดสุด จนได้ชื่อ ว่าเป็น ยุคทองแห่งวรรณคดี วรรณกรรมที่สาคัญ มีดังนี้ 1) บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนหนุมานถวายแหวนนางลอยจนเสร็จศึกลงกา และตอนนางสีดา หลงกลนางอดูล จนจบตอนอภิเษกไกรลาส 2) บทละครเรื่องอิเหนา ทรงพระราชนิพนธ์จนได้รับการยกย่อง เป็นยอดของ บทละครรา
  • 46. 3) บทพากย์โขนเรื่องรามเกียรติ์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้4 ตอน คือ พระ พรหมาสตร์ นาคบาศ นางลอย และเอราวัณ 4) บทละครนอก เรื่อง มณีพิชัย ไชยเชฐ สังข์ทอง ไกรทอง และคาวี 5) เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างได้นางแก้วกิริยา และ ตอนขุนแผนพานางวันทองหนี ถูกจัดเป็น ยอดของกลอนเสภา
  • 47. 5.6.3 สมัยรัชกาลที่ 3 เป็นสมัยที่กาเนิดการพิมพ์และการจารึกที่วัดพระเชตุพนวิมลมัง คลาราม วรรณกรรมที่สาคัญ ได้แก่ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างขอนางพิม และขุนช้างตามนางวันทอง บทละครเรื่องสังข์ศิลป์ ชัย กลอนเพลงยาวกลบท 5.6.4 สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ได้รับการยกย่องเป็นรัตนกวี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ผลงานที่สาคัญ คือ ลิลิตตะเลงพ่าย สมุทรโฆษคาฉันท์ปฐม สมโพธิกถา กฤษณาสอนน้องคาฉันท์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา

Editor's Notes

  1. 1.1 ข้าว ในช่วงรัชกาลที่ 1 - 2 ข้าวที่ผลิตได้ใช้บริโภคภายในประเทศเพียงอย่างเดียว ทรงสั่งห้ามส่งข้าวเป็นสินค้าออก แต่ช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีการส่งข้าวไปขายยังประเทศจีน ลักษณะการผลิตเพื่อเลี้ยงตนเองจึงเปลี่ยนไปเป็นแบบการค้า โดยพระคลังสินค้าเป็นผู้ผูกขาดการค้าเพียงผู้เดียว 1.2 น้ำตาล ไทยสามารถผลิตน้ำตาลจากอ้อยได้ในสมัยรัชกาลที่ 2 ต่อมาชาวจีนได้รับอนุญาตให้ปลูกอ้อยทำน้ำตาลได้ จึงได้มีการส่งน้ำตาลออกไปขายนอกประเทศ โดยน้ำตาลเป็นสินค้าผูกขาดของทางราชการ ราษฎรต้องขายให้แก่พระคลังสินค้า 1.3 พริกไทย เป็นสินค้าที่สำคัญที่อยู่ในกำมือของชาวจีน มีการส่งออกพริกไทยไปยังจีน และเป็นสินค้าที่พ่อค้าต่างชาติต้องการมาก พริกไทยจึงเป็นสินค้าผูกขาดของทางราชการ 2.1 ไม้สัก ไม้กฤษณา และไม้ฝาง ในช่วงรัชกาลที่ 1 - 2 ผู้ประมูลผูกขาดสัมปทานไม้สัก คือ ชาวจีน และทางราชการ ที่นำไม้สักไปต่อเรือส่งไปขายยังจีน และอินเดีย พอถึงสมัยรัชกาลที่ 3 อังกฤษได้เข้ามาค้าขาย และสัมปทานผู้ขาดการค้าไม้สักแทนชาวจีน ส่วนไม้กฤษณา และไม้ฝาง เป็นที่ต้องการของต่างประเทศ โดยทางราชการได้ส่งเป็นสินค้าออกจำนวนมาก 2.2 ดีบุก ในสมัยรัชกาลที่ 1 - 2 การทำเหมืองแร่ดีบุกในหัวเมืองทางใต้หยุดชะงักเนื่องจากมีศึกสงครามติดพันกับพม่า พอถึงสมัยรัชกาลที่ 3 ทรงโปรดให้มีเจ้าภาษีนายอากร ซึ่งส่วนใหญ่ชาวจีนจะเป็นผู้ผูกขาดอากรดีบุก และในช่วงนี้เอง เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม มีการเอาดีบุกไปเคลือบเหล็กเพื่อกันสนิม ดีบุกจึงเป็นที่ต้องการของตลาดโลกมาก
  2. รายได้แผ่นดิน การจัดเก็บภาษีอากรยังคงมีลักษณะเหมือนกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งแต่ละรัชกาลมีลักษณะ ดังนี้ 3.1 การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 1 ภาษีอากรการค้าภายในประเทศ 1) จังกอบ เป็นภาษีผ่านด่านขนอนทั้งทางบก และทางน้ำ ใช้อัตรา 10 หยิบ 1 ต่อมาภายหลังเรียกเก็บตามขนาดของพาหนะที่ใช้บรรทุกสินค้า 2) อากร เป็นภาษีที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรได้รับจากการประกอบอาชีพนอกเหนือ จากอาชีพค้าขาย 3) ฤชา เป็นค่าธรรมเนียมที่เก็บจากราษฎรที่มาติดต่อให้ทางราชการบริการ 4) ส่วย เป็นเงิน หรือสิ่งของที่ราษฎรจ่ายทดแทนแรงานของตน เพื่อยกเว้นการเข้าเวรรับราชการ ถ้าใช้สิ่งแทนการเข้าเวร เราเรียนว่า "การเข้าเดือน" แต่ถ้าใช้เงินแทน เราเรียกว่า เงินส่วย หรือเงินค่าราชการ ภาษีเบิกร่อง เก็บจากความกว้างของเรือที่บรรทุกสินค้า ถ้ามาค้าขายปะจำ คิดวาละ 12 บาท ถ้ามาค้าขายเป็นครั้งคราว คิดวาละ 20 บาท ภาษีสินค้าเข้า เก็บจากเรือที่เข้ามาค้าขายเป็นประจำในอัตรา 100 ชัก 3 ส่วนเรือที่เข้ามาค้าขายเป็นครั้งคราวเก็บในอัตรา 100 ชัก 5 หรือ 100 ชัก 10 ภาษีสินค้าออก เก็บตามชนิดของสินค้า เช่น ข้าว หาบละ 1 สลึง
  3. การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 2 ภาษีอากรการค้าภายในประเทศ 1) เงินผูกบี้ หรือเงินผูกบี้ข้อมือจีน รัฐเก็บจากชาวจีนในประเทศเป็นส่วยแทนการเข้าเวร จะออกใบสำคัญไว้เป็นหลักฐาน และผูกบี้ที่ข้อมือด้วยไหมสีแดงประทับตราด้วยครั่ง 2) การเดินสวน และการเดินนา เป็นการสำรวจต้นผลไม้ หรือที่นาของราษฎร แล้วออกใบสำคัญให้ราษฎรเก็บไว้เพื่อนำไปเสียภาษีอากร ได้แก่ อากรสวนใหญ่ พลากร อากรสมพัตสร การเก็บหางข้าว 3) ภาษีผูกขาด เป็นภาษีที่รัฐบาลให้เอกชนประมูลเพื่อจัดเก็บภาษีจากราษฎร เช่น งาช้าง รังนก ไข่จะละเม็ด เป็นต้น ซึ่งผู้ประมูลได้ส่วนใหญ่จะเป็นชาวจีน ภาษีอากรการค้ากับต่างประเทศ 1) ภาษีเบิกร่อง เพิ่มเป็นวาละ 80 บาท 2) ภาษีสินค้าเข้า เพิ่มเป็นอัตรา 100 ชัก 8
  4. วิธีการปรับปรุงการเก็บภาษีอากร การเก็บภาษีหางข้าวเปลี่ยนจากข้าวเป็นเงินแทน กำหนดการเก็บภาษีอากรชนิดใหม่เพิ่มขึ้น เช่น ภาษีบ่อนเบี้ยจีน หวย ก.ข. เป็นต้น จัดตั้งระบบเจ้าภาษีนายอากร โดยให้เอกชนประมูลรับเหมาผูกขาดการจัดเก็บภาษีอากรประเภทต่าง ๆ ซึ่งมีข้อดี คือ รัฐมีรายได้ที่แน่นอน เสียค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บน้อยลง และมีเวลาในการบริหารราชการแผ่นดินมากขึ้น ส่วนข้อเสีย คือ ราษฎรได้รับความเดือดร้อน และเจ้าภาษีนายอากรมีอิทธิพลมากขึ้น มักใช้อำนาจอันไม่เป็นธรรมแก่เกษตรกร ยกเลิกภาษีอากรบางชนิด เช่น ภาษีฝิ่น อากรน้ำ อากรรักษาเกาะ เป็นต้น
  5. สมัยรัชกาลที่ 1 สร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในเขตพระราชวังชั้นนอก เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาคล้ายกับวัดมหาธาตุในสมัยสุโขทัย วัดพระศรีสรรเพชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เดิมชื่อวัดโพธาราม ชาวบ้านนิยมเรียกว่า วัดโพธิ์ บูรณะซ่อมแซมสมัยรัชกาลที่ 1 นาน 12 ปี
  6. สมัยรัชกาลที่ 2 มีการบูรณะวัดที่สำคัญ คือ วัดอรุณราชวาราม เดิมเรียกวัดมะกอก สมัยธนบุรี เรียกว่า วัดแจ้ง พอถึงสมัยรัชกาลที่ 2 ทรงเปลี่ยนชื่อเป็น วัดอรุณราชธาราม และรัชกาลที่ 4 เปลี่ยนเป็น วัดอรุณราชวาราม เป็นวัดประจำรัชกาลที่ 2 สมัยรัชกาลที่ 3 มีการสร้าง และบูรณะวัดเป็นจำนวนมาก จนถือได้ว่าเป็นยุคของการสร้างวัด ในสมัยรัชกาลที่ 3 ถ้าใครใจบุญสุนทานสร้างวัดวาอารามก็มักจะเป็นคนโปรด วัดที่ทรงสร้าง และบูรณะ คือ วัดราชโอรสาราม หรือ วัดจอมทอง โปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ เป็นวัดแห่งแรกที่นำศิลปะของจีนมาประยุกต์ใช้ จัดเป็นวัดประจำรัชกาลที่ 3 วัดยานนาวา เดิมชื่อวัดคอกกระบือ โปรดให้สร้างพระเจดีย์มีฐานเป็นสำเภา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โปรดให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิต และช่างทุกสาขาให้ช่วยกันชำระตำราต่าง ๆ เลือกเอาแต่ฉบับที่ดี และถูกต้อง จารึกบนแผ่นศิลาตามเสา ผนังรายรอบบริเวณวัด ซึ่งประกอบด้วยวิชาหลายแขนง ด้วยเหตุนี้ วัดนี้จึงได้ชื่อว่า มหาวิทยาลัยแห่งแรกของเมืองไทย
  7. สมัยรัชกาลที่ 1 ทรงโปรดเกล้าให้สังคายนาพระไตรปิฎกที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ แล้วให้ช่างจาร(จารึก)ลงบนใบลาน คัดลอกจำลองสร้างเป็นพระไตรปิฎกฉบับหลวงขึ้น ปิดทองทั้งปกหน้า และปกหลังด้านข้าง เรียกว่า พระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่ หรือฉบับทองทึบ และโปรดให้สร้างอีก 2 ฉบับ คือ ฉบับรองทรง หรือฉบับข้างลาย และฉบับทองชุบ เพื่อประโยชน์แก่ผู้ที่ยืมไปเป็นต้นฉบับจำลองไว้ตามพระอารามต่าง ๆ
  8. รัชกาลที่ 3 ให้สร้างพระไตรปิฎก สำหรับหอหลวงอีก ๕ ฉบับ คือ ๑. ฉบับรดน้ำเอก เมื่อสร้างเสร็จแล้วโปรดเกล้าฯ ให้เก็บไว้ในหอพระเจ้า ภายในพระบรมมหาราชวัง ภายหลังพระไตรปิฎกชุดนี้ถูกน้ำฝนชะ และปลวกกิน ทำให้หนังสือชำรุดไปบ้าง ในรัชกาลต่อมา จึงโปรดเกล้าฯ ให้เคลื่อนย้ายมาเก็บรักษาไว้ ที่หอพระมณเฑียรธรรม ๒. ฉบับรดน้ำโท สร้างสำหรับหอหลวง เพื่อใช้ในการสอบไล่พระปริยัติธรรม ๓. ฉบับทองน้อย คัมภีร์ฉบับนี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ช่างผู้หญิงฝึกหัดจารหนังสือที่ตำหนักแพ นับเป็นคัมภีร์พระไตรปิฎกของหลวงฉบับแรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ที่จารโดยฝีมือช่างผู้หญิง ๔. ฉบับเทพชุมนุม ๒ ชุด สำหรับพระราชทาน ไปยังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร คัมภีร์ทั้ง ๒ ชุดนี้ ต่อมาถูกฝนชะ และปลวกกินชำรุดเสียหายเป็นจำนวนมาก
  9. ในสมัยรัชกาลที่ 2 เกิดอหิวาตกโรคระบาดครั้งใหญ่ในกรุงเทพมหานคร รัชกาลที่ 2 จึงโปรดให้จัดพิธีอาพาธวินาศขึ้นที่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ทรงให้ทุกฝ่ายรักษาอุโบสถศีล อยู่เฉพาะในบ้านเรือน มีการสังคายนาบทสวดมนต์ โดยแปลพระปริตรออกเป็นภาษาไทย และให้เจ้านาย ขุนนางฝึกหัดสวดพระปริตรทุกวันเหมือนที่พระสงฆ์สวด
  10. ในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมุติเทววาวงศ์(รัชกาลที่ 4) ได้ทรงผนวชที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ได้ศึกษาพระวินัยปิฎก พบว่าวัตรปฏิบัติที่พระสงฆ์ไทยยึดถือปฏิบัตินั้นผิดไปจากพุทธบัญญัติเป็นอย่างมาก และทราบว่า มีพระภิกษุชาวมอญ เป็นพระราชาคณะ สมณศักดิ์เป็น พระสุเมธาจารย์ (ซาย พุทธวังโส) อยู่วัดลิงขบ เป็นผู้ชำนาญพระวินัยปิฎก จึงเสด็จไปสนทนาวิสาสะด้วย และเปลี่ยนมาปฏิบัติตามลัทธิใหม่ที่เห็นว่าถูกต้องตามพุทธบัญญัติ และทรงประกาศตั้งฝ่ายคณะสงฆ์ขึ้นใหม่ชื่อว่า ธรรมยุตินิกาย แปลว่า ผู้ปฏิบัติตามธรรมวินัย
  11. 1)พระมหามณเฑียร ได้แก่ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน เป็นต้น 2)พระมหาปราสาท ได้แก่ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระที่นั่งพิมานรัตยา พระที่นั่งพุทไธสวรรค์ พระที่นั่งศิวโมกข์พิมาน เป็นต้น
  12. สถาปัตยกรรม มีการก่อสร้างอาคารหลายชั้นเป็นครั้งแรก มีการก่อสร้างพระตำหนัก กุฏิสงฆ์ พระอารามหลวงเป็นตึก 2 ชั้นแทนไม้ โดยมีศิลปะการช่างแบบจีนปะปน เช่น วัดราชโอรสาราม วัดสุทัศน์ฯ วัดพระเชตุพนฯ และวัดบวรนิเวศวิหาร นอกจากนั้นมีการประดิษฐ์ยอดซุ้ม และยอดปราสาทต่าง ๆ เป็นรูปทรงมงกุฎ มีการสร้างสถูปในวัด เช่น พระมหาเจดีย์ดิลกธรรมนิทาน พระมหาเจดีย์มุนีปัตตบริขาร โลหะปราสาทวัดราชนัดดาราม พระปรางค์วัดอรุณ พระสมุทรเจดีย์จังหวัดสมุทรปราการ เป็นต้น
  13. 1 การแกะลวดลายปิดทอง และประดับกระจก มีดังนี้ มณฑปใหญ่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หน้าบันวิหารคดที่วัดระเชตุพนวิมลมัคลาราม พระที่นั่งราเชนทรยาน จัดเป็นศิลปวัตถุชิ้นเอกของไทย พระมหาพิชัยราชรถ และเวชยันตราชรถ ปัจจุบันใช้อัญเชิญพระโกศทรงพระบรมศพ พระโกศทองใหญ่ ใช้ทรงพระบรมศพ เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ และเรือพระที่นั่งประภัสสรชัย 2 การประดับมุก มีดังนี้ บานประตูหน้าต่างพระอุโบสถ และบานประตูพระมณฑป ในวัดพระแก้ว บานประตูพระมณฑปพระพุทธบาทสระบุรี พระแท่นบัลลังก์ประดับมุก และพระแท่นบรรทมประดับมุก ประดิษฐานอยู่ในพระที่นั่งดุสิตหาปราสาท ผู้สร้างถวาย คือ เจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค) ตู้ทรงมณฑปประดับมุก กับตู้พระไตรปิฎกประดับมุก ในวัดพระแก้ว ผู้สร้าง คือ เจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค) 3 การช่างรูปพรรณ รัชกาลที่ 1 โปรดให้สร้างเครื่องราชกกุธภัณฑ์ และเครื่องราชูปโภคต่าง ๆ 4 การทำลายรดน้ำ รับมาจากจีน และประยุกต์เป็นของไทย เช่น ลายกนกแบบไทย นิยมใช้ตกแต่งบานประตูหน้าต่างพระอุโบสถ ตู้พระธรรม หีบใส่เสื้อผ้า เป็นต้น
  14. สมัยรัชกาลที่ 2 มีการนำศิลปะชาติตะวันตก และจีนเข้ามาผสานผสมด้วย ทำให้รูปทรงลวดลาย และสิ่งประดับต่าง ๆ เปลี่ยนไป เช่น หุ่นไทยฝีพระหัตถ์รัชกาลที่ 2 ซึ่งแกะจากไม้รัก เรียกกันว่า พระยารักใหญ่ และพระยารักน้อย พระพักตร์ของพระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก พระประธานวัดอรุณฯ บานประตูวิหารพระศรีศากยมุนี วัดสุทัศน์ฯ
  15. ประติมากรรม มีการสร้างพระพุทธรูปขึ้นเป็นจำนวนมาก ดังนี้ พระพุทธตรีโลกเชษฐ์ พระประธานในพระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวราราม พระเสรฐตมนี พระประธานในพระอุโบสถวัดราชนัดดาราม พระพุทธมหาโลกาภินันท์ พระประธานในพระอุโบสถวัดเฉลิมพระเกียรติ พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต) พระประธานในวัดกัลยาณมิตร พระพุทธไสยาสน์ เป็นพระนอนที่มีความงามเป็นเลิศ อยู่วัดพระเชตุพนฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธรูปประจำรัชกาลที่ 1 และพระพุทธรูปเลิศหล้านภาลัย พระพุทธรูปประจำรัชกาลที่ 2
  16. จิตรกรรมฝาผนัง ที่สำคัญ คือ ภาพเขียนในพระที่นั่งพุทไธสวรรค์ เป็นภาพเขียนที่เก่าแก่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ ภาพพระพุทธองค์ตอนผจญมาร ภาพสวรรค์วิมาน 16 ชั้น ตามที่บรรยายไว้ในไตรภูมิพระร่วง ที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภาพเขียนตำราฟ้อนรำว่าด้วยท่ารำต่าง ๆ เก่าแก่ที่สุด เขียนเป็นรูประบายสีปิดทองประกอบคำบรรยาย
  17. สมัยรัชกาลที่ 2 มี จิตรกรรม ที่สำคัญ คือ เครื่องถ้วยชาม มีการส่งแบบไปให้ช่างจนทำเครื่องถ้วยชามเบญจรงค์จากเมืองจีน ฝีมือประณีตบรรจง และงามกว่ารัชกาลก่อน ๆ มี 5 สี คือ แดง เขียว เหลือง ขาว ดำ หรือขาบ เครื่องถม วิชาช่างถมที่ขึ้นชื่อมาจาก เจ้าพระยานคร (น้อย) เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ช่างถมแห่งเมืองนครศรีธรรมราชจึงรุ่งเรือง รู้จัก และเรียกติดปากว่า "ถมนคร"
  18. สมัยรัชกาลที่ 3 จิตรกรรม ส่วนใหญ่เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่สำคัญ คือ ภาพพุทธประวัติ ภาพจากวรรณกรรมไทย ภาพชาดก ภาพป่าหิมพานต์จากไตร่ภูมิพระร่วงในวิหารหลวงวัดสุทัศนเทพวราราม ภาพเขียนทศชาติ และชาดกในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภาพเขียนในวัดพระเชตุพนฯ และวัดราชโอรสาราม
  19. นาฏศิลป์ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีดังนี้ โขน มีการฝึกหัดโขนขึ้นทั้งในฝ่ายวังหลวง และวังหน้า ซึ่งมีการเล่นโขนประชันกันภายในวัง นอกจากนั้นยังมีโขนของเอกชนอีกหลายคณะ ละคร ในสมัยรัชกาลที่ 1 แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ ละครใน ละครนอก ละครชาตรี เป็นละครที่นิยมเล่นทางภาคใต้ แสดงเฉพาะเรื่อง มโนราห์ ระบำ เป็นศิลปะการรำหรือการฟ้อนเป็นหมู่ แต่ระบำที่มีศิลปะแบบไทยเหนือ เรียกว่า ฟ้อน นอกจากนี้ยังมีศิลปะของการรำเดี่ยว รำคู่ รำประกอบเพลง รำอาวุธ เป็นต้น รัชกาลที่ 1 โปรดให้รักษาแบบฉบับการฟ้อนรำของไทยให้คงอยู่ มีการประชุมครูละครจัดทำตำราท่ารำแบบฉบับสำหรับพระนคร โดยเขียนเป็นรูปภาพแสดงท่ารำ ระบายสีปิดทองสวยงาม เป็นตำราว่าด้วยการฟ้อนรำที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ
  20. ในสมัยรัชกาลที่ 1 วงดนตรีไทยที่ใช้บรรเลง มี 3 ชนิด ดังนี้ ปีพาทย์ ประกอบด้วย เครื่องตีเป็นสำคัญ เช่น ฆ้อง กลอง และมีเครื่องเป่า คือ ปี่ เป็นเครื่องหลัก เครื่องสาย วงบรรเลง ประกอบด้วย เครื่องดนตรีจำพวกมีสาย เช่น ซออู้ ซอด้วง จะเข้ และมีเครื่องเป่า เครื่องตี คือ ขลุ่ย โทน ฉิ่ง รำมะนา มโหรี วงบรรเลง มีทั้งเครื่องบรรเลงในวงเครื่องสาย และวงปี่พาทย์ผสมกัน และแบ่งขนาด คือ เครื่องเล็ก มีเครื่องดนตรี 10 อย่าง เครื่องคู่ มีเครื่องดนตรี 15 อย่าง เครื่องใหญ่ มีเครื่องดนตรี 18 อย่าง
  21. ดุริยางคศิลป์ หรือดนตรี ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในด้านดนตรี เครื่องดนตรีที่ทรงถนัด และโปรดปรานมากที่สุด คือ ซอสามสาย ได้ทรงสร้างไว้เป็นของคู่พระหัตถ์คันหนึ่ง พระราชทานนามว่า ซอสายฟ้าฟาด นอกจากนั้นได้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทยเดิมไว้ คือ เพลงบุหลันลอยเลื่อน หรือบุหลันลอยฟ้า บางที่เรียกกันว่า เพลงสรรเสริญพระจันทร์ หรือเพลงทรงพระสุบิน ผู้ที่เป็นหัวแรงสำคัญเป็นที่ปรึกษาด้านนาฏศาสตร์แก่รัชกาลที่ 2 คือ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี
  22. 3.1 พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 1 ได้โปรดเกล้าให้ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่รู้แบบแผนราชประเพณีครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างดีประชุมจัดทำตำราว่าด้วยระเบียบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นไว้สำหรับพระนคร และโปรดให้สร้างเครื่องราชูปโภคต่าง ๆ สำหรับการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นด้วย 3.2 พระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ. 2351 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี มีพระชนมายุครบ 11 พรรษา รัชกาลที่ 1 จึงโปรดให้จัดพระราชพิธีโสกันต์ขึ้น โดยรื้อฟื้นจัดทำเป็นพระราชพิธีใหญ่ตามแบบอย่างสมัยกรุงศรีอยุธยา
  23. รัชกาลที่ 1 ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมต่าง ๆ ดังนี้ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ เค้าเรื่องเดิมได้มาจากมหากาพย์ รามายณะ พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนบทละคร ตั้งแต่ตอน หิรัญยักษ์ม้วนแผ่นดิน จนจบเรื่องรามเกียรติ์ 2) บทละครเรื่องอิเหนา และดาหลัง พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ดำเนินตามที่เจ้าฟ้าหญิงมงกุฎพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ทรงนิพนธ์ไว้ 3) บทละครเรื่องอุณรุท พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์เช่นเดียวกับเรื่องอนิรุทธ์คำฉันท์ของศรีปราชญ์ จุดประสงค์เพื่อสอนให้ข้าทหารมีความองอาจกล้าหาญ และจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ 4) นิราศรบพม่าที่ท่าดินแดง เนื้อความเป็นการพรรณาการเดินทาง การรบ และรำพึงรำพันถึงนางอันเป็นที่รัก รวมถึงทุกนางใน 5) พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทมาศ(เจิม) พระองค์ทรงมีส่วนร่วมในการชำระเอกสารพระราชพงศาวดารฉบับนี้
  24. รัชกาลที่ 2 เป็นสมัยที่วรรณกรรม หรือวรรณคดีเจริญถึงขีดสุด จนได้ชื่อว่าเป็น ยุคทองแห่งวรรณคดี กวี และวรรณกรรมที่สำคัญ มีดังนี้ 1) บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนหนุมานถวายแหวนนางลอยจนเสร็จศึกลงกา และตอนนางสีดา หลงกลนางอดูล จนจบตอนอภิเษกไกรลาส 2) บทละครเรื่องอิเหนา ทรงพระราชนิพนธ์จนได้รับการยกย่อง เป็นยอดของบทละครรำ 3) บทพากย์โขนเรื่องรามเกียรติ์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ 4 ตอน คือ พระพรหมาสตร์ นาคบาศ นางลอย และเอราวัณ 4) บทละครนอก เรื่อง มณีพิชัย ไชยเชฐ สังข์ทอง ไกรทอง และคาวี 5) เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างได้นางแก้วกิริยา และตอนขุนแผนพานางวันทองหนี ถูกจัดเป็น ยอดของกลอนเสภา
  25. สมัยรัชกาลที่ 3 เป็นสมัยที่กำเนิดการพิมพ์ และการจารึกที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กวี และวรรณกรรมที่สำคัญ ได้แก่ 1) เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างขอนางพิม และขุนช้างตามนางวันทอง 2)บทละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย 3) กลอนเพลงยาวกลบท ทรงพระราชนิพนธ์เพื่อจารึกลงแผ่นศิลา ประดับไว้ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เพื่อเป็นตัวอย่างแก่ผู้ที่สนใจ เช่น กลบทอักษรล้วน กลบทงูกลืนหาง เป็นต้น 4.3.2สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ได้รับการยกย่องเป็น รัตนกวีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์เป็นกวีอยู่ในเพศบรรพชิต จนสิ้นพระชนม์ ผลงานที่สำคัญ คือ 1)ลิลิตตะเลงพ่าย จัดเป็นมหากาพย์ของไทย 2)สมุทรโฆษคำฉันท์ ได้รับการยกย่องเป็นยอดวรรณคดีประเภทคำฉันท์ 3)ปฐมสมโพธิกถา พระองค์ทรงแปลภาษาบาลีเป็นร้อยแก้ว แบบพรรณนาโวหาร 4)กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ เป็นวรรณกรรมประเภทคำสอนเกี่ยวกับความประพฤติปฏิบัติ จรรยามารยาท งานในหน้าที่ของสตรี และการครองเรือน 5)พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ทรงนิพนธ์เป็นร้อยแก้ว