SlideShare a Scribd company logo
1 of 126
Download to read offline
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
รายวิชา ศาสนาและหนาที่พลเมือง
(สค31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
หามจําหนาย
หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 39/2554
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
รายวิชา ศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 39/2554
คํานํา
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดดําเนินการจัดทํา
หนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้น เพื่อสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม
จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอและสามารถ
ดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียน
ไปใชในการเรียนดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้งแบบฝกหัด
เพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับ
ไปศึกษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนํา
ความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนรูและ
จากสื่ออื่นๆ
ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลาย
ทานซึ่งชวยกันคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดสื่อที่สอดคลองกับ
หลักสูตรและเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาคณะผูเรียบเรียง ตลอดจน
คณะผูจัดทําทุกทานที่ไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน
ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ
ขอบคุณยิ่ง
สํานักงาน กศน.
หนา
คําแนะนําการใชหนังสือเรียน
โครงสรางรายวิชา ศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
บทที่ 1 ศาสนาตางๆ ในโลก..................................................................................1
เรื่องที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของศาสนา...............................3
เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา .......................4
เรื่องที่ 3 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาอิสลาม.............................21
เรื่องที่ 4 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาคริสต...............................23
เรื่องที่ 5 ประวัติศาสนาพราหณ-ฮินดู และคําสอน....................................27
เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาของศาสนาซิกซและคําสอน .................................37
เรื่องที่ 7 การเผยแผศาสนาตางๆในโลก ..................................................44
เรื่องที่ 8 กรณีตัวอยางปาเลสไตน............................................................48
เรื่องที่ 9 แนวปองกัน และแกไขความขัดแยงทางศาสนา...........................49
เรื่องที่ 10 หลักธรรมในแตละศาสนาที่สงผลใหอยูรวมกับ
ศาสนาอื่นไดอยางมีความสุข.....................................................50
เรื่องที่ 11 วิธีฝกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตละศาสนา.......................................52
บทที่ 2 วัฒนธรรมประเพณีและคานิยมของประเทศของโลก...............................57
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของวัฒนธรรม.....................................58
เรื่องที่ 2 เอกลักษณวัฒนธรรมไทย..........................................................59
เรื่องที่ 3 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและการเลือกรับวัฒนธรรม..........60
เรื่องที่ 4 ประเพณีในโลก.........................................................................61
เรื่องที่ 5 ความสําคัญของคานิยม และคานิยมในสังคมไทย.......................62
เรื่องที่ 6 คานิยมที่พึงประสงคของสังคมโลก............................................65
เรื่องที่ 7 การปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมตามคานิยม
ที่ไมพึงประสงคของสังคมไทย...................................................67
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย..........................................................69
เรื่องที่ 1 ความเปนมาการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ...................................70
เรื่องที่ 2 สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย......................72
สารบัญ
เรื่องที่ 3 บทบาทหนาที่ขององคกรตามรัฐธรรมนูญ
และการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ.............................................81
เรื่องที่ 4 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและมีผลตอฐานะของประเทศไทยในสังคมโลก............87
เรื่องที่ 5 หนาที่พลเมืองตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ.......................90
บทที่ 4 สิทธิมนุษยชน..........................................................................................95
เรื่องที่ 1 หลักสิทธิมนุษยสากล................................................................96
เรื่องที่ 2 สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย..................................................102
เรื่องที่ 3 แนวทางการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชน..........................106
บรรณานุกรม .............................................................................................111
เฉลยกิจกรรม .............................................................................................112
สารบัญ(ตอ)
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ
ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง
ผูเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้
1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
และขอบขายเนื้อหา
2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่
กําหนด แลวตรวจสอบ กับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษา
และทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหม ใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรื่องตอไป
3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของ
เนื้อหาในเรื่องนั้นๆอีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาแตละเรื่อง ผูเรียนสามารถ
นําไปตรวจสอบกับครูและเพื่อนๆ ที่รวมเรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได
4. หนังสือเรียนเลมนี้มี 4 บท คือ
บทที่ 1 ศาสนาตางๆ ในโลก
บทที่ 2 วัฒนธรรมประเพณี และคานิยมของประเทศไทยและของโลก
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
บทที่ 4 สิทธิมนุษยชน
คําแนะนําในการใชหนังสือเรียน
โครงสราง
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สาระสําคัญ
เปนสาระที่เกี่ยวกับศาสนาตางๆ ที่เกี่ยวของกับกําเนิดศาสนาและศาสดาของศาสนา
ตางๆ หลักธรรมสําคัญของศาสนาตางๆ การเผยแพรศาสนา ความขัดแยงในศาสนา การ
ปฏิบัติตนใหอยูรวมกันอยางสันติสุขการฝกจิตในแตละศาสนา การพัฒนาปญญาในการแกไข
ปญหา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม วัฒนธรรมประเพณีดานภาษา การแตงกาย
อาหาร ประเพณีสําคัญๆ ของประเทศตางๆ ในโลก การอนุรักษและสืบทอดวัฒนธรรม
ประเพณี การมีสวนรวมในการสืบทอดและปฏิบัติตนเปนแบบอยางในการอนุรักษวัฒนธรรม
ตามประเพณีของชาติ และการเลือกปรับใชวัฒนธรรมตางชาติไดอยางเหมาะสมกับตนเอง
และสังคมไทย คานิยมที่พึงประสงคของสังคมไทยและประเทศตางๆ ในโลก การปฏิบัติตน
เปนผูนําในการปองกันและแกไขพฤติกรรมไมเปนที่พึงประสงคในสังคมไทย
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. อธิบายประวัติ หลักคําสอน และการปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ
2. เห็นความสําคัญของวัฒนธรรมประเพณีและมีสวนในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม
ประเพณีทองถิ่น
3. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
4. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลาก
หลายทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
ขอบขายเนื้อหา
บทที่ 1 ศาสนาตางๆ ในโลก
เรื่องที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของศาสนา
เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา
เรื่องที่ 3 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาอิสลาม
เรื่องที่ 4 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาคริสต
เรื่องที่ 5 ประวิติศาสนาพราหณ-ฮินดู และคําสอน
เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาของศาสนาซิกซและคําสอน
เรื่องที่ 7 การเผยแผศาสนาตางๆ ในโลก
เรื่องที่ 8 กรณีตัวอยางปาเลสไตน
เรื่องที่ 9 แนวทางปองกันและแกไขความขัดแยงทางศาสนา
เรื่องที่ 10 หลักธรรมในแตละศาสนาที่สงผลใหอยูรวมกับศาสนาอื่นได
อยางมีความสุข
เรื่องที่ 11 วิธีฝกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตละศาสนา
บทที่ 2 วัฒนธรรมประเพณีและคานิยมของประเทศของโลก
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของวัฒนธรรม
เรื่องที่ 2 เอกลักษณวัฒนธรรมไทย
เรื่องที่ 3 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและรับวัฒนธรรม
เรื่องที่ 4 ประเพณีในโลก
เรื่องที่ 5 ความสําคัญของคานิยม และคานิยมในสังคมไทย
เรื่องที่ 6 คานิยมที่พึ่งประสงคของสังคมโลก
เรื่องที่ 7 การปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมตามคานิยม
ที่ไมพึงประสงคของสังคมไทย
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
เรื่องที่ 1 ความเปนมาการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ
เรื่องที่ 2 สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
เรื่องที่ 3 บทบาทหนาที่ขององคกรตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบ
การใชอํานาจรัฐ
เรื่องที่ 4 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และมีผลตอฐานะของประเทศไทยในสังคมโลก
เรื่องที่ 5 หนาที่พลเมืองตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ
บทที่ 4 สิทธิมนุษยชน
เรื่องที่ 1 หลักสิทธิมนุษยสากล
เรื่องที่ 2 สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
เรื่องที่ 3 แนวทางการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชน
บรรณานุกรม
สื่อประกอบการเรียนรู
1. หนังสือ ศาสนาสากล
2. ซีดี ศาสนาพุทธ
ศาสนาคริสต
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาฮินดู
3. หนังสือวัฒนธรรม ประเพณีในสังคมไทย
4. หนังสือ วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศตาง ๆ ในโลก
5. คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต
สาระสําคัญ
ศาสนาตางๆ ในโลกมีคุณคาและเปนประโยชนตอชาวโลก เพราะกอใหเกิดจริยธรรม
เปนแนวทางการดําเนินชีวิต ทําใหมนุษยสามารถปกครองตนเองได ชวยใหสังคมดีขึ้น
สําหรับประเทศไทยมีผูนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด รองลงมาคือศาสนาอิสลามศาสนาคริสต
ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ แตในโลกมีผูนับถือศาสนาคริสตมากที่สุด รองลงมาคือ ศาสนา
อิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ การศึกษาคําสอนศาสนาตางๆ ของศาสนิกชนเพื่อ
นํามาประพฤติสงผลใหสังคมมีความสุข ศาสนาทุกศาสนาลวนสั่งสอนใหคนเปนคนดี
เพื่อสังคมเกิดความขัดแยงควรรีบหาทางแกไขโดยการนําคําสอนทางศาสนามาประพฤติ
ปฏิบัติจึงจะสงผลใหสังคมเกิดความสงบสุขตลอดไป
ผลการเรียนที่คาดหวัง
1. มีความรูความเขาใจศาสนาที่สําคัญๆในโลก
2. มีความรูความเขาใจในหลักธรรมสําคัญของแตละศาสนา
3. เห็นความสําคัญในการอยูรวมกับศาสนาอื่นอยางสันติสุข
4. ประพฤติปฏิบัติตนสงผลใหสามารถอยูรวมกันกับศาสนาอื่นอยางสันติสุข
5. ฝกปฏิบัติพัฒนาจิตเพื่อใหสามารถพัฒนาตนเองใหมีสติปญญาในการแกปญหา
ตางๆ และพัฒนาตนเอง
ขอบขายเนื้อหา
บทที่ 1 ศาสนาในโลก
เรื่องที่ 1 ความหมายคุณคาและประโยชนของศาสนา
เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา
เรื่องที่ 3 ประวัติศาสดาและคําสอนของศาสนาอิสลาม
เรื่องที่ 4 ประวัติศาสดาและคําสอนของศาสนาคริสต
เรื่องที่ 5 ประวัติศาสนาพราหมณ-ฮินดูและคําสอน
เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาและคําสอนของศาสนาซิกซ
เรื่องที่ 7 การเผยแพรศาสนาตางๆในโลก
เรื่องที่ 8 กรณีตัวอยางปาเลสไตน
ศาสนาในโลก
1
บทที่
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม2
เรื่องที่ 9 แนวทางปองกันและแกไขความขัดแยงทางศาสนา
เรื่องที่ 10 หลักธรรมในแตละศาสนาที่สงผลใหอยูรวมกับศาสนาอื่นได
อยางมีความสุข
เรื่องที่ 11 วิธีฝกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตละศาสนา
สื่อประกอบการเรียนรู
ซี.ดีศาสนาสากล
เอกสารศาสนาสากล และความขัดแยงในปาเลสไตน
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 3
เรื่องที่ 1 ความหมายคุณคาและประโยชนของศาสนา
ความหมายของศาสนา
ศาสนา คือ คําสอนที่ศาสดานํามาเผยแพรสั่งสอน แจกแจงแสดงใหมนุษยเวนจาก
ความชั่วกระทําแตความดี ซึ่งมนุษยยึดถือปฏิบัติตามคําสอนนั้นดวยความเคารพเลื่อมใส
และศรัทธาคําสอนดังกลาวจะมีลักษณะเปนสัจธรรมศาสนามีความสําคัญตอบุคคลและสังคม
ทําใหมนุษยทุกคนเปนคนดีและอยูรวมกันอยางสันติสุข ศาสนาในโลกนี้มีอยูมากมายหลาย
ศาสนาดวยกันแตวัตถุประสงคอันสําคัญยิ่งมองทุกๆศาสนาเปนไปในทางเดียวกันกลาวคือ
ชักจูงใจใหคนละความชั่วประพฤติความดีเหมือนกันหมดหากแตวาการปฏิบัติพิธีกรรมยอม
แตกตางกันความเชื่อถือของแตละศาสนา
คุณคาของศาสนา
1. เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย
2. เปนบอเกิดแหงความสามัคคีของหมูคณะและในหมูมนุษยชาติ
3. เปนเครื่องดับความเรารอนใจทําใหสงบรมเย็น
4. เปนบอเกิดแหงจริยธรรมศีลธรรมและคุณธรรม
5. เปนบอเกิดแหงการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม
6. เปนดวงประทีบสองโลกที่มืดมิดอวิชชาใหกลับสวางไสวดวยวิชชา
ประโยชนของศาสนา
ศาสนามีประโยชนมากมายหลายประการกลาวโดยสรุปมี 6 ประการคือ
1. ศาสนาเปนแหลงกําเนิดจริยธรรม ศาสนาทุกศาสนาสอนใหเราทราบวาอะไร
คือความชั่วที่ควรละเวนอะไรคือความดีที่ควรกระทําอะไรคือสิ่งที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติ
เพื่อใหอยูรวมกันอยางมีความสุขดังนั้นทุกศาสนาจึงเปนแหลงกําเนิดแหงความดีทั้งปวง
2. ศาสนาเปนแนวทางการดําเนินชีวิต ทุกศาสนาจะวางหลักการดําเนินชีวิตเปน
ขั้นๆเชนพระพุทธศาสนาวางไว 3 ขั้นคือขั้นตนเนนการพึ่งตนเองไดมีความสุขตามประสา
ชาวโลกขั้นกลางเนนความเจริญกาวหนาทางคุณธรรมและขั้นสูงเนนการลดละโลภโกรธหลง
3. ศาสนาทําใหผูนับถือปกครองตนเองได หลักคําสอนใหรูจักรับผิดชอบตนเอง
คนที่ทําตามคําสอนทางศาสนาเครงครัดจะมีหิริโอตตัปปะไมทําชั่วทั้งที่ลับและที่แจงเพราะ
สามารถควบคุมตนเองได
4. ศาสนาชวยใหสังคมดีขึ้น คําสอนทางศาสนาเนนใหคนในสังคมเวนจากการ
เบียดเบียนกันเอารัดเอาเปรียบกันสอนใหเอื้อเฟอเผื่อแพรมีความซื้อสัตยสุจริตตอกันเปน
เหตุใหสังคมมีความสงบสันติยิ่งขึ้นสอนใหอดทนเพียรพยายามทําความดีสรางสรรคผลงาน
และประโยชนใหกับสังคม
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม4
5. ศาสนาชวยควบคุมสังคมดีขึ้น ทุกสังคมจะมีระเบียบขอบังคับจารีตประเพณี
และกฎหมายเปนมาตรการควบคุมสังคมใหสงบสุขแตสิ่งเหลานี้ไมสามารถควบคุมสังคมให
สงบสุขแทจริงไดเชนกฎหมายก็ควบคุมไดเฉพาะพฤติกรรมทางกายและทางวาจาเทานั้นไม
สามารถลึกลงไปถึงจิตใจไดศาสนาเทานั้นจึงจะควบคุมคนไดทั้งกาย วาจา และใจ
ศาสนาในประเทศศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติไทยมีผูนับถือมากที่สุด รองลง
มาคือศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ-ฮินดู และศาสนาซิกซ รายละเอียดของ
แตละศาสนาดังตอไปนี้คือ
เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาเชื่อเรื่องการเวียนวาย ตาย เกิด ในวัฎสงสารถาสัตวโลกยังมีกิเลส
คือโลภ โกรธ หลงจะตองเกิดในไตรภูมิคือ 3 โลก ไดแก นรกภูมิ โลกมนุษย และเทวโลก
และในการเกิดเปนพระพุทธเจาเพื่อที่จะโปรดสัตวโลกใหพนบารมีเพื่อใหบารมีสมบูรณจึงจะ
เกิดเปนพระพุทธเจาใหพระเจาไดบําเพ็ญบารมีมาทุกภพทุกชาติและบําเพ็ญบารมีอยางยิ่งยวด
ใน 10 ชาติสุดทายเรียกวาทศชาติซึ่งไดกลาวไวในพระสุตตันตปฎก โดยมีความยอๆดังนี้
1.เตมียชาดก
เปนชาดกที่แสดงถึงการบําเพ็ญเนกขัมมบารมีคือการออกบวช ความวาตระเตมีย
เกิดในตระกูลกษัตริยแตทรงเกรงวาจะตองขึ้นครองราชยเปนพระราชาเพราะทรงเห็น
การลงโทษโจรตามคําสั่งของพระราชา เชน เฆี่ยนบางเอาหอกแทงบางพระองคจึงทรงแกลง
เปนงอย เปลี้ย หูหนวก เปนใบ ไมพูดจากับใคร พระราชาปรึกษากับพราหมณใหนําพระองค
ไปฝงเสียพระมารดาทรงคัดคานแตไมสําเร็จจึงทรงขอใหพระเตมียครองราชย 7 วันเผื่อ
พระองคจะตรัสบาง ครั้งครบ 7 วันแลวพระเตมียก็ไมตรัส ดังนั้นสารถีจึงนําพระเตมียไปฝง
ตามคําสั่งของพระราชาครั้งสารถีขุดหลุมเตรียมฝงขณะกําลังขุดหลุมพระเตมียลงจากรถและ
ตรัสปราศรัยแจงวาพระองคตองการจะบวชไมตองการเปนพระราชจากนั้นสารถีกลับไปบอก
พระราชา พระราชาจึงเชิญพระเตมียกลับไปครองราชย พระเตมียกลับเทศนาสั่งสอนจน
พระชนกชนนีและบริวารพากันเลื่อมใสออกบวชตาม
2. มหาชนกชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญวิริยบารมีคือความเพียรใจความสําคัญคือพระมหา
ชนกราชกุมารเดินทางไปทางทะเล เรือแตกคนทั้งหลายจมน้ําตายบางเปนเหยื่อของสัตวน้ํา
บางแตพระองคไมทรงละความอุตสาหะทรงวายน้ําโดยกําหนดทิศทางแหงกรุงมิถิลาในที่สุด
ก็ไดรอดชีวิตกลับไปกรุงมิถิลาได ชาดกเรื่องนี้เปนที่มาแหงภาษิตที่วาเปนชายควรเพียรร่ําไป
อยาเบื่อหนาย(ความเพียร)เสียเราเห็นตัวเองเปนไดอยางที่ปรารถนาขึ้นจากน้ํามาสูบกได
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 5
3. สุวรรณสามชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญเมตตาบารมีคือการแผไมตริจิตคิดจะใหสัตวทั้งปวง
เปนสุขทั่วหนา มีเรื่องเลาวา สุวรรณสามเลี้ยงมารดาบิดาของตนซึ่งเสียจักษุในปาและ
เนื่องจากเปนผูเมตตาปรารถดีตอผูอื่นหมูเนื้อก็เดินตามแวดลอมไปในที่ตางๆวันหนึ่งถูก
พระเจากรุงพาราณสีชื่อพระเจากบิลยักษยิงเอาดวยธนูดวยเขาพระทัยผิดภายหลังเมื่อทราบ
วาเปนมาณพผูเลี้ยงมารดาบิดาก็สลดพระทัยจึงไปจูงมารดาของสุวรรณสามมามารดาบิดา
ของสุวรรณก็ตั้งสัจจกริยาอางคุณความดีของสุวรรณสาม สุวรรณสามก็ฟนคืนสติและไดสอน
พระราชาแสดงคติธรรมวาผูใดเลี้ยงมารดาบิดาโดยธรรมแมเทวดาก็ยอมรักษาผูนั้นยอมมี
คนสรรเสริญในโลกนี้ละโลกนี้ไปแลวก็ไปเกิดในสวรรคตอจากนั้นเมื่อพระราชาขอใหสั่งสอน
ตอไปอีกก็สอนใหทรงปฏิบัติธรรมปฏิบัติชอบในบุคคลทั้งปวง
4. เนมิราชชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวาเนมิ
ราชไดขึ้นครองราชยตอจากพระราชบิดาทรงบําเพ็ญคุณงามความดีเปนที่รักของมหาชนและ
ในที่สุดเมื่อทรงมอบราชสมบัติแกพระราชโอรสเสด็จออกผนวชเชนเดียวกับที่พระราชบิดา
ของพระองคเคยทรงบําเพ็ญมาทอดพระเนตรเห็นเสนพระเกศาหงอกบางก็สลดพระทัยใน
สังขารจึงทรงออกผนวช
5. มโหสถชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวามโห
สถบัณฑิตเปนที่ปรึกษาหนุมของพระเจาวิเทหะแหงกรุงมิถิลาทานมีความฉลาดรูสามารถ
แนะนําในปญหาตางๆไดอยางถูกตองรอบคอบเอาชนะที่ปรึกษาอื่นๆที่ริษยาใสความดวย
ความดีไมพยาบาทอาฆาตครั้งหลังใชอุบายปองกันพระราชาจากราชศัตรูและจับราชศัตรูซึ่ง
เปนกษัตริยพระนครอื่นได
6. ภูริทัตชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญศีลบารมี คือการรักษาศีลมีเรื่องเลาวาภูริทัตตนา
คราชไปจําศีลอยูริมฝงแมน้ํายนุนายอมอดทนใหหมองูจับไปทรมานตางๆทั้งที่สามารถจะ
ทําลายหมองูไดดวยฤทธิ์ดวยความที่มีใจมั่นตอศีลของตนในที่สุดก็ไดอิสรภาพ
7. จันทกุมารชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญขันติบารมีคือความอดทนจันทกุมารเปนโอรสของ
พระเจาเอกราชพระองคทรงชวยประชาชนใหพนจากคดีซึ่งกัณฑหาลพราหมณราชปุโรหิต
เปนผูรับสินบนตัดสินคดีขาดความเปนธรรมสงผลใหกัณฑหาลพราหมณผูกอาฆาตพยาบาท
วันหนึ่งพระเจาเอกราชทรงพระสุบินเห็นดาวดึงสเทวโลกเมื่อทรงตื่นบรรทมทรงพระประสงค
ทางไปดาวดึงสเทวโลกจึงตรัสถามกัณฑหาลพราหมหกัณฑหาลพราหมหจึงกราบทูลแนะนํา
ใหตรัสพระเศียรโอรส ธิดา มเหสี บูชายัญแมใครจะทัดทานขอรองก็ไมเปนผลรอนถึง
ทาวสักกะ(พระอินทร)ตองมาชี้แจงใหหายเขาใจผิดวาวิธีนี้ไมใชทางไปสวรรค มหาชนจึงรุมฆา
กัณฑหาลพราหมณ และเนรเทศพระเจาเอกราชแลวกราบทูลเชิญจันทกุมารขึ้นครองราชย
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม6
8. นารทชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอุเบกขาบารมีคือการวางเฉยพระพรหมนารถไดชวย
ใหพระเจาอังคติราชแหงกรุงมิถิลามหานครพนจากความคิดเห็นผิดที่ไดรับคําสอนจาก
คุณาชีวกวารูปกายของคนสัตวเปนของเที่ยงแมตัดศรีษะผูอื่นแลวไมบาปสุ ทุกข เกิดไดเอง
ไมมีเหตุคนเราเวียนวายตายเกิดหนักเขาก็บริสุทธิ์เองเมื่อพระองคมีความเห็นดังนั้นพระเจา
อังคติราชจึงสั่งใหรื้อโรงทานและมัวเมาในโลกียรอนถึงพระธิดาคือพระนางรุจาทรงหวงพระบิดา
จึงสวดออนวอนขอใหพระบิดาพนจากความมัวเมารอนถึงพระพรหมนาทรทรงจําแลงกาย
เปนนักบวชทรงสอนใหพระเจาอังคติราชใหกลับความเห็นที่ผิดมาบําเพ็ญกุศล ถือศีล ทําทาน
ปกครองเมืองโดยสงบรมเย็น
9. วิทูรชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญสัจจบารมีคือความซื่อสัตยบัณฑิตมีหนาที่ถวาย
คําแนะนําแกพระเจาธนัญชัยโกรัพยะซึ่งเปนพระราชาที่คนนับถือมากครั้งหนึ่งปุณณกยักษ
มาทาพระเจาธนัญชัยโกทัพยะเลนสกาถาแพจะถวายมณีรัตนะอันวิเศษถาพระราชาแพตอง
ใหสิ่งที่ปุณณกยักษตองการในที่สุดพระราชาแพปุณณกยักษของตังวิฑูรบัณฑิตพระราชา
หนวงเหนี่ยวประการใดไมสําเร็จวิฑูรบัณฑิตรักษาสัจจะไปกับยักษในที่สุดแมแมยักษจะทํา
อยางไรวิฑูรบัณฑิตก็ไมตายกับแสดงธรรมจนยักษเลื่อมใสและไดกลับคืนบานเมืองมีการ
ฉลองรับขวัญเปนการใหญ
10. เวสสันดรชาดก
เปนชาติสุดทายของพระพุทธเจาชาติตอไปจึงจะเกิดเปนพระพุทธเจาชาดกเรื่องนี้
แสดงถึงการบําเพ็ญทานบารมีคือการบริจาคทานมีเรื่องเลาวาพระเวสสันดรผูใจดีบริจาคทุกอยาง
ที่มีคนขอครั้งหนึ่งประทานชางเผือกคูบานคูเมืองแกพราหมณชาวกาลิงคะซึ่งตอมาขอชาง
ไปเพื่อใหเมืองของตนหายจากฝนแลงแตประชาชนโกรธขอใหเนรเทศพระราชบิดาจึงจํา
พระทัยตองเนรเทศพระเวสสันดรซึ่งพระนางมัทรีพรอมดวยพระโอรสธิดาไดตามเสด็จไปดวย
เมื่อชูชกไปขอสองกุมารก็ประทานใหอีกภายหลังพระเจาสัญชัยพระราชบิดาไดทรงไถสอง
กุมารจากชูชกและเสด็จไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับกรุง(เรื่องนี้แสดงการเสีย
สละสวนนอยเพื่อประโยชนสวนใหญคือการตรัสรูเปนพระพุทธเจาอันจะเปนทางใหไดบําเพ็ญ
ประโยชนสวนรวมไดมิใชเสียสละโดยไมมีจุดมุงหมายหรือเหตุผล)
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 7
ประวัติพระพุทธเจา
พระพุทธเจาทรงมีพระนามเดิมวา“สิทธัตถะ”ทรงเปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธ
ทนะกษัตริยผูครองกรุงกบิลพัสดุ แควนสักกะและ “พระนางสิริมหามายา” พระราชธิดาของ
กษัตริยราชสกุลโกลิยวงศแหงกรุงเทวทหะ แควนโกลิยะ
ในคืนที่พระพุทธเจาเสด็จปฏิสนธิในครรภพระนางสิริมหามายา พระนางทรงพระ
สุบินนิมิตวามีชางเผือกมีงาสามคูไดเขามาสูพระครรภ ณ ที่บรรทมกอนที่พระนางจะมีพระ
ประสูติกาลที่ใตตนสาละ ณ สวนลุมพินีวัน เมื่อวันศุกร ขึ้นสิบหาค่ํา เดือนวิสาขะ ปจอ 80
ปกอนพุทธศักราช (ปจจุบันสวนลุมพินีวันอยูในประเทศเนปาล)
ทันทีที่ประสูติ เจาชายสิทธัตถะทรงดําเนินดวยพระบาท 7 กาวและมีดอกบัวผุดขึ้น
มารองรับพระบาทพรอมเปลงวาจาวา “เราเปนเลิศที่สุดในโลกประเสริฐที่สุดในโลกการ
เกิดครั้งนี้เปนครั้งสุดทายของเรา”แตหลังจากเจาชายสิทธัตถะประสูติกาลไดแลว7วันพระ
นางสิริมหามายาก็เสด็จสวรรคาลัย เจาชายสิทธัตถะจึงอยูในความดูแลของพระนางประชาบดี
โคตรมี ซึ่งเปนพระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา
ทั้งนี้ พราหมณทั้ง 8 ไดทํานายวาเจาชายสิทธัตถะมีลักษณะเปนมหาบุรุษ คือ หาก
ดํารงตนในฆราวาสจะไดเปนจักรพรรดิ ถาออกบวชจะไดเปนศาสดาเอกของโลกแตโกณ
ฑัญญะพราหมณผูอายุนอยที่สุดในจํานวนนั้นยืนยันหนักแนนวาพระราชกุมารสิทธัตถะจะ
เสด็จออกบวชและจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาแนนอน
ชีวิตในวัยเด็ก
เจาชายสิทธัตถะทรงศึกษาเลาเรียนจนจบศิลปะศาสตรทั้ง 18 ศาสตรในสํานักครูวิ
ศวามิตรและเนื่องจากพระบิดาไมประสงคใหเจาชายสิทธัตถะเปนศาสดาเอกของโลกจึง
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม8
พยายามทําใหเจาชายสิทธัตถะพบเห็นแตความสุขโดยการสรางปราสาท 3 ฤดู ใหอยูประทับ
และจัดเตรียมความพรอมสําหรับการราชาภิเษกใหเจาชายขึ้นครองราชย เมื่อมีพระชนมายุ
16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพา หรือยโสธรา พระธิดาของพระเจากรุงเทวท
หะซึ้งเปนพระญาติฝายมารดาจนเมื่อมีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางพิมพาไดใหประสูติ
พระราชโอรสมีพระนามวา “ราหุล” ซึ่งหมายถึง “ชวงบาย”
เสด็จออกผนวช
วันหนึ่งเจาชายสิทธัตถะทรงเบื่อความจําเจในปราสาท 3 ฤดู จึงชวนสารถีทรงรถมา
ประพาสอุทยานครั้งนั้นไดทอดพระเนตรเห็นคนแก คนเจ็บ คนตาย และนักบวช โดยเทวทูต
(ทูตสวรรค) ที่แปลงกายมาพระองคจึงทรงคิดไดวานี่เปนธรรมดาของโลกชีวิตของทุกคน
ตองตกอยูในสภาพเชนนั้น ไมมีใครสามารถหลีกเลี่ยงเกิด แก เจ็บ ตายได จึงทรงเห็นวา
ความสุขทางโลกเปนเพียงภาพมายาเทานั้น และวิถีทางที่จะพนจากความทุกขคือตองครอง
เรือนเปนสมณะ ดังนั้นพระองคจึงใครจะเสด็จออกบรรพชาในขณะที่มีพระชนมายุ 29
พรรษา
ครานั้นพระองคไดเสด็จไปพรอมกับนายฉันทะ สารถีซึ่งเตรียมมาพระที่นั่ง นามวา
กัณฑกะมุงตรงไปยังแมน้ําอโนมานทีกอนจะประทับนั่งบนกองทรายทรงตัดพระเมาลีดวย
พระขรรคและเปลี่ยนชุดผากาสาวพัตร (ผายอมดวยรสฝาดแหงตนไม) และใหนายฉันทะนํา
เครื่องทรงกลับพระนครกอนที่พระองคจะเสด็จออกมหาภิเนษกรณ(การเสด็จออกเพื่อคุณ
อันยิ่งใหญ) ไปโดยเพียงลําพังเพื่อมุงพระพักตรไปแควนมคธ
บําเพ็ญทุกรกิริยา
หลังจากทรงผนวชแลวพระองคมุง ไปที่แมน้ําคยา แควนมคธไดพยายามเสาะแสวง
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 9
ทางพนทุกขดวยการศึกษาคนควาทดลองในสํานักอาฬารบสกาลามโครตร และอุทกดาบส
รามบุตรเมื่อเรียนจบทั้ง 2 สํานักแลวทรงเห็นวานี่ยังไมใชทางพนทุกข
จากนั้นพระองคไดเสด็จไปที่แมน้ําเนรัญชรา ในตําบลอุรุเวลาเสนานิคม และทรง
บําเพ็ญทุกรกิริยา ดวยการขบฟนดวยฟน กลั้นหายใจ และอดอาหารจนรางกายซูบผอมแต
หลังจากทดลองได 6 ป ทรงเห็นวานี่ยังไมใชทางพนทุกขจึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยาและ
หันมาฉันอาหารตามเดิมดวยพระราชดําริตามที่ทาวสักกเทวราชไดเสด็จลงมาดีดพิณถวาย
3 วาระ คือดีดพิณสาย 1 ขึงไวตึงเกินไปเมื่อดีก็จะขาดดีดพิณวาระที่ 2 ซึ่งขึงไวหยอนเสียง
จะยืดยาดขาดความไพเราะและวาระที่ 3 ดีดพิณสายสุดทายที่ขึงไวพอดีจึงมีเสียงกังวาน
ไพเราะดังนั้นจึงทรงพิจารณาเห็นวาทางสายกลางคือไมตึงเกินไป และไมหยอนเกินไป นั้น
คือทางที่จะนําสูการพนทุกข
หลังจากพระองคเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา ทําใหพระปญจวัคคีย 5 ไดแก โกณฑัญญะ
วัปปะ ภัททิยา มหานามะ อัสสชิ ที่มาคอยรับใชพระองคดวยความคาดหวังวาเมื่อพระองค
คนพบทางพนทุกขจะไดสอนพวกตนใหบรรลุดวยเกิดเลื่อมศัทธาที่พระองคลมเลิกความ
ตั้งใจ จึงเดินทางกลับไปที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ตําบลสารนาถ เมืองพาราณสี
ตรัสรู
ครานั้นพระองคทรงประทับนั่งขัดสมาธิใตตนพระศรีมหาโพธิ์ ณ อุรุเวลาเสนานิคม
เมืองพาราณสี หันพระพักตรไปทางทิศตะวันออก และตั้งจิตอธิษฐานดวยความแนวแนวา
ตราบใดที่ยังไมบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ก็จะไมลุกขึ้นจากสมาธิบัลลังกแมจะมีหมูมารเขามา
ขัดขวางแตก็พายแพพระบารมีของพระองคกลับไปจนเวลาผานไปในที่สุดพระองคทรงบรรลุ
รูปฌาณ คือ
ภาพพระพุทธเจาเทศนาโปรดปญจวัคคียทั้ง 5
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม10
ยามตน หรือปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ สามารถระลึกชาติได
ยามสอง ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ (ทิพยจักษุญาณ) คือรูเรื่องการเกิด การตายของ
สัตวทั้งหลายวาเปนไปตามกรรมที่กําหนดไว
ยามสาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ คือ ความรูที่ทําใหสิ้นอาสวะ หรือกิเลสดวย
อริยสัจ 4 ไดแก ทุกข สมุทัย นิโรธ และมรรค และไดตรัสรูดวยพระองคเองเปนพระสัมมา
สัมพุทธเจาและเปนศาสดาเอกของโลกซึ่งวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสรู ตรงกับวันเพ็ญ
เดือน 6 ขณะที่มีพระชนมายุ 35 พรรษา
แสดงปฐมเทศนา
หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสรูแลวทรงพิจารณาธรรมที่พระองคตรัสรูมาเปน
เวลา 7 สัปดาห และทรงเห็นวาพระธรรมนั้นยากสําหรับบุคคลทั่วไปที่จะเขาใจและปฏิบัติได
พระองคจึงทรงพิจารณาวา บุคคลในโลกนี้มีหลายจําพวกอยาง บัว 4 เหลา ที่มีทั้งผูที่สอน
ไดงาย และผูที่สอนไดยาก พระองคจึงทรงระลึกถึงอาฬารดาบสและอุทกดาบส ผูเปนพระ
อาจารยจึงหวังเสด็จไปโปรดแตทั้งสองทานเสียชีวิตแลว พระองคจึงทรงระลึกถึงปญจวัคคีย
ทั้ง 5 ที่เคยมาเฝารับใชจึงไดเสด็จไปโปรดปญจวัคคียที่ปาอิสิปตนมคทายวัน
ธรรมเทศนากัณฑแรกที่พระองคทรงแสดงธรรม คือ “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร”
แปลวา สูตรของการหมุนวงลอแหงพระธรรมใหเปนไปซึ่งถือเปนการแสดงพระธรรมเทศนา
ครั้งแรกในวันเพ็ญ 15 ค่ํา เดือน 8 ซึ่งตรงกับวันอาสาฬหบูชา
ในการนี้พระโกณฑัญญะไดธรรมจักษุ คือดวงตาเห็นธรรมเปนคนแรก พระพุทธองค
จึงทรงเปรงวาจาวา “อัญญาสิ วตโกณฑัญโญ” แปลวา โกณฑัญญะ ไดรูแลว ทาน โกณ
ฑัญญะ จึงไดสมญาวา อัญญาโกณฑัญญะ และไดรับการบวชเปนพระสงฆองคแรกใน
พระพุทธศาสนา โดยเรียกการบวชที่พระพุทธเจาบวชใหวา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา”
หลังจากปญจวัคคียอุปสมบททั้งหมดแลว พุทธองคจึงทรงเทศนอนัตตลักขณสูตร
ปญจวัคคีย จึงสําเร็จเปนอรหันตในเวลาตอมา
การเผยแพรพระพุทธศาสนา
ตอมาพระพุทธเจาไดเทศนพระธรรมเทศนาโปรดแกสกุลบุตรรวมทั้งเพื่อนของสกุล
บุตรจนไดสําเร็จเปนพระอรหันตทั้งหมดรวม 60 รูป
พระพุทธเจาทรงมีพระราชประสงคจะใหมนุษยโลกพนทุกข พนกิเลส จึงตรัสเรียก
สาวกทั้ง 60 รูป มาประชุมกันและตรัสใหสาวก 60 รูปจาริกแยกยายกันเดินทางไปประกาศ
ศาสนา 60 แหง โดยลําพังในเสนทางที่ไมซ้ํากันเพื่อใหสามารถเผยแผพระพุทธศาสนาใน
หลายพื้นที่อยางครอบคลุมสวนพระองคเองไดเสด็จไปแสดงธรรมณตําบลอุรุเวลาเสนานิคม
หลังจากสาวกไดเดินทางไปเผยแพรพระพุทธศาสนาในพื้นที่ตางๆทําใหมีผูเลื่อมใส
พระพุทธศาสนาเปนจํานวนมากพระองคจึงทรงอนุญาตใหสาวกสามารถดําเนินการบวชได
โดยใชวิธีการ “ติสรณคมนูปสัมปทา” คือการปฏิญาณตนเปนผูถึงพระรัตนตรัยพระพุทธ
ศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกและแพรหลายในดินแดนแหงนั้นเปนตนมา
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 11
เสด็จดับขันธุปรินิพพาน
พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงโปรดสัตวและแสดงพระธรรมเทศนาตลอดระยะเวลา
45 พรรษาทรงสดับวาอีก 3 เดือนขางหนาจะปรินิพพานจึงไดทรงปลงอายุสังขารขณะนั้น
พระองคไดประทับจําพรรษา ณ เวฬุคาม ใกลเมืองเวสาลี แควนวัชชีโดยกอนเสด็จดับขันธ
ปรินิพพาน 1 วันพระองคไดเสวยสุกรมัททวะที่นายจุนทะทําถวายแตเกิดอาพาธลงทําให
พระอานนทโกรธแตพระองคตรัสวา “บิณฑบาตที่มีอานิสงสที่สุด”มี 2 ประการ คือ เมื่อ
ตถาคต (พุทธองค) เสวยบิณฑบาตแลวตรัสรูและปรินิพพาน” และมีพระดํารัสวา “โย โว
อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิ โต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา” อันแปลวา “ดูกอน
อานนท ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแลว บัญญัติแลวแกเธอทั้งหลายธรรมวินัยจักเปนศาสดา
ของเธอทั้งหลาย เมือเราลวงลับไปแลว”
พระพุทธเจาทรงประชวรหนักแตทรงอดกลั้นมุงหนาไปเมืองกุสินารา ประทับ ณ ปา
สละเพื่อเสด็จดับขันธุปรินิพพานโดยกอนที่จะเสด็จดับขันธุปรินิพพานนั้นพระองคได
อุปสมบทแกพระสุภัททะปริพาชกซึ่งถือไดวา “พระสุภัททะ” คือสาวกองคสุดทายที่พระพุทธ
องคทรงบวชใหในทามกลางคณะสงฆทั้งที่เปนพระอรหันต และปุถุชนจากแควนตางๆรวม
ทั้งเทวดาที่มารวมตัวกันในวันนี้
ในครานั้นพระองคทรงมีปจฉิมโอวาทวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลายเราขอบอกเธอทั้ง
หลายสังขารทั้งปวงมีความเสื่อมสลายไปเปนธรรมดาพวกเธอจึงทําประโยชนตนเองและ
ประโยชนของผูอื่นใหสมบูรณดวยความไมประมาทเถิด” (อปปมาเทน สมปาเทต)
จากนั้นไดเสด็จดับขันธุปรินิพพานใตตนสาละณสาลวโนทยานของเหลามัลลกษัตริย
เมืองกุสินารา แควนมัลละ ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 รวมพระชนมายุ 80 พรรษา และวันนี้
ถือเปนการเริ่มตนของพุทธศักราช
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม12
สรุปหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาเปนศาสนาประเภทเทวนิยม คือ ไมนับถือพระเจา พระสัมมาสัม
พุทธเจาทรงตรัสรูความจริงของชีวิตวาองคประกอบของชีวิตมนุษยประกอบดวยรูปและนาม
เทานั้น
รูปและนามเมื่อขยายความก็จะเปน รูป จิต และเจตสิก จากรูปจิตและเจตสิกก็ขยาย
ความดวยขันธ 5 ไดแก รูปขันธ วิญญาณขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ และสังขารขันธ สรุป
ไดดังแผนภูมิองคประกอบของชีวิต
แผนภูมิ แสดงองคประกอบของชีวิตมนุษย
จากแผนภูมิองคประกอบของชีวิตมนุษยดังกลาวในทางพระพุทธศาสนาอธิบายวา
ชีวิตคือความเปนอยูของรางกาย (รูป) จิตและเจตสิก (นาม) โดยอาศัยความเปนผูนําเกิด
และตามรักษาดํารงชีวิตและการกระทําตางๆไดโดยอาศัยจิตและเจตสิกเปนผูกําหนด
รูป คือรางกายเปนธรรมชาติที่ไมมีความรูสึกนึกคิดใดๆ ทั้งสิ้น
นาม คือสวนที่เปนจิตและเจตสิกเปนธรรมชาติที่รับรูสิ่งตางๆและสามารถรถนึกคิด
เรื่องราวสิ่งตางๆได
จิต คือธรรมชาติที่รูอารมณ ทําหนาที่เห็น ไดยิน รูรส รูกลิ่น รูสึกตอการสัมผัสถูก
ตองทางกายและรูสึกคิดทางใจ
เจตสิก คือ ธรรมชาติที่รูสึกนึกคิดเรื่องราวสิ่งตางๆ
เมื่อแยกรูปและนามใหละเอียดขึ้นก็จะอธิบายดวยขันธ 5 คือ
รูปขันธ (รูป) หมายถึง อวัยวะนอยใหญหรือกลุมรูปที่มีอยูในรางกายทั้งหมดของเรา
วิญญาณขันธ (จิต) หมายถึง ธรรมชาติที่รับรูสิ่งตางๆ ที่มาปรากฏทางตา หู จมูก
ลิ้นกาย ใจ อีกทั้งเปนธรรมชาติที่ทําใหเกิดความรูสํานึกคิดตางๆ
เวทนาขันธ(เจตสิก) หมายถึงความรูสึกเปนสุข เปนทุกข ดีใจ เสียใจ หรือเฉยๆ
องคประกอบของชีวิตมนุษย
รูปขันธ วิญญาณ เวทนา สัญญา สังขาร
จิต เจตสิก
รูป นาม
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 13
สัญญาขันธ (เจตสิก) หมายถึง ธรรมชาติที่มีหนาที่ในการจําหรือเปนหนวยความ
จําของจิตนั่นเอง
สังขารขันธ(เจตสิก)หมายถึง ธรรมชาติที่ปรุงแตงจิตใหมีลักษณะตางๆ เปนกุศลบาง
การเกิดขึ้นของจิต (วิญญาณขันธ) จะเกิดขึ้นโดยมีเจตสิก (เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขาร
ขันธ)เกิดขึ้นรวมดวยเสมอเฉพาะจิตอยางเดียวไมสามารถรับรูหรือนึกคิดอะไรไดเลย จิตและ
เจตสิกจะแยกจากกันไมไดตองเกิดรวมกันอิงอาศัยกัน จิตแตละดวงที่เกิดจะตองมีเจตสิก
เกิดรวมดวยเสมอ
จากความจริงของชีวิตที่พระพุทธองคทรงคนพบวาชีวิตเปนเพียงองคประกอบของ
รูปและนามเทานั้นแตเหตุที่คนเรามีความทุกขอยูเพราะความรูสึกนึกคิดที่เปนเรื่องเปนราว
วา “มีเรามีเขา” ทําใหเกิดการยึดมั่นถือมั่นดวยอวิชา (ความไมรู) วาสภาพธรรมเทานั้นเปน
เพียงรูปและนามที่ “เกิดขึ้น ตั้งอยูแลว ดับไป” เทานั้น
1. หลักธรรมเพื่อความหลุดพนเฉพาะตัว คือ อริยสัจ 4
อริยสัจ 4 แปลวา ความจริงอันประเสริฐมีอยูสี่ประการ คือ
1) ทุกข คือ สภาพที่ทนไดยาก ภาวะที่ทนอยูในสภาพเดิมไมไดสภาพที่บีบคั้น
ไดแก ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก การเกา) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น)
การประสบกับสิ่งอันไมเปนที่รัก พลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแลว
ไมสมหวังในสิ่งนั้นกลาวโดยยอ ทุกขก็คืออุปาทานขันธหรือขันธ 5
2) ทุกขสมุทัย คือสาเหตุที่ทําใหเกิดทุกข ไดแกตัณหา 3 คือกามตัณหา-ความ
ทะยานอยากในกาม ความอยากไดทางกามารมณ, ภวตัณหา-ความทะยานอยากในภพ ความ
อยากเปนโนนเปนนี่ ความอยากที่ประกอบดวยภาวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และวิภาวตัณหา-
ความทะยานอยากในความปรารถนาจากภพความอยากไมเปนโนนไมเปนนี่ ความอยากที่
ประกอบดวยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ
3) ทุกขนิโรธ คือความดับทุกข ไดแกดับสาเหตุที่ทําใหเกิดทุกขกลาวคือดับ
ตัณหาทั้ง 3 ไดอยางสิ้นเชิง
4) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา คือแนวปฏิบัติที่นําไปสูหรือนําไปถึงความดับทุกข
ไดแก มรรคอันมี องคประกอบอยูแปดประการ คือ (1)สัมมาทิฏฐิ – ความเห็นชอบ(2)สัมมา
สังกัปปะ-ความดําหริชอบ(3)สัมมาวาจา-เจรจาชอบ(4)สัมมากัมมันตะ-ทําการงานชอบ(5)
สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ(6)สัมมาวายามะ-พยายามชอบ(7)สัมมาสติ-ระลึกชอบ และ (8)
สัมมาสมาธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งไดวา “มัชฌิมาปฏิปทา” หรือทางสายกลาง
2. หลักธรรมเพื่อการอยูรวมกันในสังคม
1) สัปปุริสธรรม 7
สัปปุริสธรรม 7 คือหลักธรรมของคนดีหรือหลักธรรมของสัตตบุรุษ 7 ประการ ไดแก รูจัก
เหตุรูจักผล
(1) รูจักเหตุหรือธัมมัญญตา หมายถึง ความเปนผูรูจักเหตุ รูจะจักวิเคราะห
หาสาเหตุของสิ่งตางๆ
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม14
(2) รูจักผลหรืออัตถัญญตา หมายถึง ความเปนผูรูจักผลที่เกิดขึ้นจากการกระทํา
(3) รูจักตนหรืออัตตัญญาหมายถึงความเปนผูรูจักตนทังในดานความรูคุณธรรม
และความสามารถ
(4) รูจักประมาณหรือมัตตัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักประมาณรูจักหลัก
ของความพอดี การดําเนินชีวิตพอเหมาะพอควร
(5) รูจักกาลเวลาหรือกาลัญุตา หมายถึงความเปนผูรูจักกาลเวลารูจักเวลาไหน
ควรทําอะไรแลวปฏิบัติใหเหมาะสมกับเวลานั้นๆ
(6) รูจักบุคคลหรือบุคคลสัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักปฏิบัติการปรับตน
และแกไขตนใหเหมาะสมกับสภาพของกลุมและชุมชน
(7) รูจักบุคคลหรือบุคคลสัญุตา หมายถึงความเปนผูรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสม
กับบุคคลซึ่งมีความแตกตางกัน
การที่บุคคลไดนําหลักสัปปุริสธรรม 7 มาใชในการดําเนินชีวิตพบกับความสุข
ในชีวิตได
2) อิทธิบาท 4
อิทธิบาท 4 คือหลักธรรมที่นําไปสูความสําเร็จแหงกิจการมี 4 ประการคือ ฉันทะ
วิริยะ จิตตะ วิมังสา
(1) ฉันทะ คือ ความพอใจใฝรักใฝหาความรูและความสรางสรรค
(2) วิริยะคือความเพียรพยายามมีความอดทนไมทอถอย
(3) จิตตะคือความเอาใจใสและตั้งใจแนวแนในการทํางาน
(4) วิมังสาคือความหมั่นใชปญญาและสติในการตรวจตราและคิดไตรตรอง
3) กุศลธรรมบถ 10
กุศลกรรมบถ 10 เปนหนทางแหงการทําความดีงามทางแหงกุศลซึ่งเปนหนทาง
นําไปสูความสุขความเจริญแบงออกเปน 3 ทางคือ กายกรรม 3 วจีกรรม4 และมโนกรรม
1. กายกรรม 3 หมายถึง ความประพฤติดีที่แสดงออกทางกาย 3 ประการ ไดแก
(1) เวนจากการฆาสัตว คือการละเวนจากการฆาสัตวการเบียนเบียนกัน เปน
ผูเมตตากรุณา
(2) เวนจากการลักทรัพยคือเวนจาการลักขโมย เคารพในสิทธิของผูอื่นไม
หยิบฉวยเอาของคนอื่นมาเปนของตน
(3) เวนจากการประพฤติในกาม คือการไมลวงละเมิดสามีหรือภรรยาผูอื่น
ไมลวงละเมิดประเวณีทางเพศ
2. วจีกรรม 4 หมายถึงการเปนผูมีความประพฤติดีซึ่งแสดงออกทางวาจา
4 ประการ ไดแก
(1) เวนจากการพูดเท็จ คือการพูดแตความจริง ไมพูดโกหก หลอกลวง
(2) เวนจากการพูดสอเสียดคือพูดแตในสิ่งที่ทําใหเกิดความสามัคคีกลมเกลียว
ไมพูดจาในสิ่งที่กอใหเกิดความแตกแยก แตกราว
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 15
(3) เวนจากการพูดคําหยาบคือพูดแตคําสุภาพ ออนหวาน ออนโยน กับ
บุคคลอื่นทั้งตอหนาและลับหลัง
(4) เวนจากการพูดเพอเจอคือพูดแตความจริงมีเหตุผลเนนเนื้อหาสาระที่
เปนประโยชนพูดแตสิ่งที่จําเปนและพูดถูกกาลเทศะ
3. มโนกรรม 3 หมายถึง ความประพฤติที่เกิดขึ้นในใจ 3 ประการ ไดแก
(1) ไมอยากไดของของเขา คือ ไมคิดจะโลภอยากไดของผูอื่นมาเปนของตน
(2) ไมพยาบาทปองรายผูอื่น คือมีจิตใจมีปรารถนาดี อยากใหผูอื่นมีความ
สุขความเจริญ
(3) มีความเห็นที่ถูกตอง คือ ความเชื่อที่ถูกตอง คือความเชื่อในเรื่องการ
ทําความดีไดดี ทําชั่วไดชั่วและมีความเชื่อวาความพยายามเปนหนทางแหงความสําเร็จ
สังคหวัตถุ 4
สังคหวัตถุ 4 เปนหลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาที่เปน วิธีปฏิบัติเพื่อ
ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนที่ยังไมเคยรักใครนับถือ ใหความรัก ความนับถือ สังคหวัตถุเปน
หลักธรรมที่ชวยผูกไมตรีซึ่งกันและกันใหแนนแฟนยิ่งขึ้นประกอบดวย ทาน ปยวาจา
อัตถจริยา สมานนัตตตา
1. ทาน คือการใหเปนสิ่งของตนใหแกผูอื่นดวยความเต็มใจเพื่อเปนประโยชนแก
ผูรับการใหเปนการยึดเหนี่ยวน้ําใจกันอยางดียิ่งเปนการสงเคราะหสมานน้ําใจกันผูกมิตรไมตรี
กันใหยั่งยืน
2. ปยวาจา คือ การเจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวานพูดชวนใหคนอื่นเกิด
ความรักและนับถือคําพูดที่ดีนั้นยอมผูกใจคนใหแนนแฟนตลอดไปหรือแสวงความเห็นอกเห็นใจ
ใหกําลังใจรูจักพูดใหเกิดความเขาใจดี สมานสามัคคี ยอมทําใหเกิดไมตรีทําใหรักใครนับถือ
และชวยเหลือเกื้อกูลกัน
3. อัตถจริยา คือ การประพฤติสิ่งที่เปนประโยชนแกกัน คือชวยเหลือดวยแรงกาย
และขวนขวายชวยเหลือกิจกรรมตางๆใหลุลวงไปเปนคนไมดูดายชวยใหความผิดชอบชั่วดี
หรือชวยแนะนําใหเกิดความรูความสามารถในการประกอบอาชีพ
4. สมานนัตตตาคือการวางตนเปนปกติเสมอตนเสมอปลายไมถือตัวและการวางตน
ใหเหมาะสมกับฐานะของตนตามสภาพ ไดแก เปนผูใหญ ผูนอย หรือผูเสมอกันเอาไปใส
ปฏิบัติตามฐานะ ผูนอยคาราวะนอบนอมยําเกรงผูใหญ
อบายมุข 6
คําวาอบายมุขคือหนทางแหงความเลื่อมหรือหนทางแหงความหายนะความฉิบหาย
มี 6 อยาง ไดแก
1. การเปนนักเลงผูหญิง หมายถึง การเปนคนมีจิตใจใฝในเรื่องเพศเปนนักเจาชู
ทําใหเสียทรัพยสินเงินทอง สูญเสียเวลาและเสียสุขภาพ
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001Thidarat Termphon
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029Kasem Boonlaor
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001Thidarat Termphon
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Thidarat Termphon
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001peter dontoom
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002Kasem Boonlaor
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001Thidarat Termphon
 

What's hot (20)

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
 

Viewers also liked

วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001Thidarat Termphon
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์อนุชา โคยะทา
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาPanupong Srimuang
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นอนุชา โคยะทา
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201Thidarat Termphon
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001Thidarat Termphon
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003Thidarat Termphon
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 

Viewers also liked (16)

วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
 
โครงงาน53
โครงงาน53โครงงาน53
โครงงาน53
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ม.ต้น สค21003
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similar to ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003peter dontoom
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 

Similar to ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002 (20)

การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

  • 1. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา ศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 39/2554
  • 3. คํานํา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้น เพื่อสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอและสามารถ ดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียน ไปใชในการเรียนดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้งแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับ ไปศึกษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนํา ความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนรูและ จากสื่ออื่นๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลาย ทานซึ่งชวยกันคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดสื่อที่สอดคลองกับ หลักสูตรและเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาคณะผูเรียบเรียง ตลอดจน คณะผูจัดทําทุกทานที่ไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ ขอบคุณยิ่ง สํานักงาน กศน.
  • 4.
  • 5. หนา คําแนะนําการใชหนังสือเรียน โครงสรางรายวิชา ศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย บทที่ 1 ศาสนาตางๆ ในโลก..................................................................................1 เรื่องที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของศาสนา...............................3 เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา .......................4 เรื่องที่ 3 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาอิสลาม.............................21 เรื่องที่ 4 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาคริสต...............................23 เรื่องที่ 5 ประวัติศาสนาพราหณ-ฮินดู และคําสอน....................................27 เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาของศาสนาซิกซและคําสอน .................................37 เรื่องที่ 7 การเผยแผศาสนาตางๆในโลก ..................................................44 เรื่องที่ 8 กรณีตัวอยางปาเลสไตน............................................................48 เรื่องที่ 9 แนวปองกัน และแกไขความขัดแยงทางศาสนา...........................49 เรื่องที่ 10 หลักธรรมในแตละศาสนาที่สงผลใหอยูรวมกับ ศาสนาอื่นไดอยางมีความสุข.....................................................50 เรื่องที่ 11 วิธีฝกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตละศาสนา.......................................52 บทที่ 2 วัฒนธรรมประเพณีและคานิยมของประเทศของโลก...............................57 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของวัฒนธรรม.....................................58 เรื่องที่ 2 เอกลักษณวัฒนธรรมไทย..........................................................59 เรื่องที่ 3 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและการเลือกรับวัฒนธรรม..........60 เรื่องที่ 4 ประเพณีในโลก.........................................................................61 เรื่องที่ 5 ความสําคัญของคานิยม และคานิยมในสังคมไทย.......................62 เรื่องที่ 6 คานิยมที่พึงประสงคของสังคมโลก............................................65 เรื่องที่ 7 การปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมตามคานิยม ที่ไมพึงประสงคของสังคมไทย...................................................67 บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย..........................................................69 เรื่องที่ 1 ความเปนมาการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ...................................70 เรื่องที่ 2 สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย......................72 สารบัญ
  • 6. เรื่องที่ 3 บทบาทหนาที่ขององคกรตามรัฐธรรมนูญ และการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ.............................................81 เรื่องที่ 4 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและมีผลตอฐานะของประเทศไทยในสังคมโลก............87 เรื่องที่ 5 หนาที่พลเมืองตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ.......................90 บทที่ 4 สิทธิมนุษยชน..........................................................................................95 เรื่องที่ 1 หลักสิทธิมนุษยสากล................................................................96 เรื่องที่ 2 สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย..................................................102 เรื่องที่ 3 แนวทางการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชน..........................106 บรรณานุกรม .............................................................................................111 เฉลยกิจกรรม .............................................................................................112 สารบัญ(ตอ)
  • 7. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ผูเรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่ กําหนด แลวตรวจสอบ กับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษา และทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหม ใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของ เนื้อหาในเรื่องนั้นๆอีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาแตละเรื่อง ผูเรียนสามารถ นําไปตรวจสอบกับครูและเพื่อนๆ ที่รวมเรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได 4. หนังสือเรียนเลมนี้มี 4 บท คือ บทที่ 1 ศาสนาตางๆ ในโลก บทที่ 2 วัฒนธรรมประเพณี และคานิยมของประเทศไทยและของโลก บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บทที่ 4 สิทธิมนุษยชน คําแนะนําในการใชหนังสือเรียน
  • 8. โครงสราง รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสําคัญ เปนสาระที่เกี่ยวกับศาสนาตางๆ ที่เกี่ยวของกับกําเนิดศาสนาและศาสดาของศาสนา ตางๆ หลักธรรมสําคัญของศาสนาตางๆ การเผยแพรศาสนา ความขัดแยงในศาสนา การ ปฏิบัติตนใหอยูรวมกันอยางสันติสุขการฝกจิตในแตละศาสนา การพัฒนาปญญาในการแกไข ปญหา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม วัฒนธรรมประเพณีดานภาษา การแตงกาย อาหาร ประเพณีสําคัญๆ ของประเทศตางๆ ในโลก การอนุรักษและสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี การมีสวนรวมในการสืบทอดและปฏิบัติตนเปนแบบอยางในการอนุรักษวัฒนธรรม ตามประเพณีของชาติ และการเลือกปรับใชวัฒนธรรมตางชาติไดอยางเหมาะสมกับตนเอง และสังคมไทย คานิยมที่พึงประสงคของสังคมไทยและประเทศตางๆ ในโลก การปฏิบัติตน เปนผูนําในการปองกันและแกไขพฤติกรรมไมเปนที่พึงประสงคในสังคมไทย ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายประวัติ หลักคําสอน และการปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ 2. เห็นความสําคัญของวัฒนธรรมประเพณีและมีสวนในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น 3. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 4. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลาก หลายทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาตางๆ ในโลก เรื่องที่ 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของศาสนา เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา เรื่องที่ 3 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาอิสลาม เรื่องที่ 4 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาคริสต เรื่องที่ 5 ประวิติศาสนาพราหณ-ฮินดู และคําสอน เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาของศาสนาซิกซและคําสอน เรื่องที่ 7 การเผยแผศาสนาตางๆ ในโลก เรื่องที่ 8 กรณีตัวอยางปาเลสไตน
  • 9. เรื่องที่ 9 แนวทางปองกันและแกไขความขัดแยงทางศาสนา เรื่องที่ 10 หลักธรรมในแตละศาสนาที่สงผลใหอยูรวมกับศาสนาอื่นได อยางมีความสุข เรื่องที่ 11 วิธีฝกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตละศาสนา บทที่ 2 วัฒนธรรมประเพณีและคานิยมของประเทศของโลก เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของวัฒนธรรม เรื่องที่ 2 เอกลักษณวัฒนธรรมไทย เรื่องที่ 3 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและรับวัฒนธรรม เรื่องที่ 4 ประเพณีในโลก เรื่องที่ 5 ความสําคัญของคานิยม และคานิยมในสังคมไทย เรื่องที่ 6 คานิยมที่พึ่งประสงคของสังคมโลก เรื่องที่ 7 การปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมตามคานิยม ที่ไมพึงประสงคของสังคมไทย บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย เรื่องที่ 1 ความเปนมาการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ เรื่องที่ 2 สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย เรื่องที่ 3 บทบาทหนาที่ขององคกรตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบ การใชอํานาจรัฐ เรื่องที่ 4 บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และมีผลตอฐานะของประเทศไทยในสังคมโลก เรื่องที่ 5 หนาที่พลเมืองตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ บทที่ 4 สิทธิมนุษยชน เรื่องที่ 1 หลักสิทธิมนุษยสากล เรื่องที่ 2 สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เรื่องที่ 3 แนวทางการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชน บรรณานุกรม สื่อประกอบการเรียนรู 1. หนังสือ ศาสนาสากล 2. ซีดี ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู 3. หนังสือวัฒนธรรม ประเพณีในสังคมไทย 4. หนังสือ วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศตาง ๆ ในโลก 5. คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต
  • 10.
  • 11. สาระสําคัญ ศาสนาตางๆ ในโลกมีคุณคาและเปนประโยชนตอชาวโลก เพราะกอใหเกิดจริยธรรม เปนแนวทางการดําเนินชีวิต ทําใหมนุษยสามารถปกครองตนเองได ชวยใหสังคมดีขึ้น สําหรับประเทศไทยมีผูนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด รองลงมาคือศาสนาอิสลามศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ แตในโลกมีผูนับถือศาสนาคริสตมากที่สุด รองลงมาคือ ศาสนา อิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ การศึกษาคําสอนศาสนาตางๆ ของศาสนิกชนเพื่อ นํามาประพฤติสงผลใหสังคมมีความสุข ศาสนาทุกศาสนาลวนสั่งสอนใหคนเปนคนดี เพื่อสังคมเกิดความขัดแยงควรรีบหาทางแกไขโดยการนําคําสอนทางศาสนามาประพฤติ ปฏิบัติจึงจะสงผลใหสังคมเกิดความสงบสุขตลอดไป ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. มีความรูความเขาใจศาสนาที่สําคัญๆในโลก 2. มีความรูความเขาใจในหลักธรรมสําคัญของแตละศาสนา 3. เห็นความสําคัญในการอยูรวมกับศาสนาอื่นอยางสันติสุข 4. ประพฤติปฏิบัติตนสงผลใหสามารถอยูรวมกันกับศาสนาอื่นอยางสันติสุข 5. ฝกปฏิบัติพัฒนาจิตเพื่อใหสามารถพัฒนาตนเองใหมีสติปญญาในการแกปญหา ตางๆ และพัฒนาตนเอง ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาในโลก เรื่องที่ 1 ความหมายคุณคาและประโยชนของศาสนา เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา เรื่องที่ 3 ประวัติศาสดาและคําสอนของศาสนาอิสลาม เรื่องที่ 4 ประวัติศาสดาและคําสอนของศาสนาคริสต เรื่องที่ 5 ประวัติศาสนาพราหมณ-ฮินดูและคําสอน เรื่องที่ 6 ประวัติศาสดาและคําสอนของศาสนาซิกซ เรื่องที่ 7 การเผยแพรศาสนาตางๆในโลก เรื่องที่ 8 กรณีตัวอยางปาเลสไตน ศาสนาในโลก 1 บทที่
  • 12. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม2 เรื่องที่ 9 แนวทางปองกันและแกไขความขัดแยงทางศาสนา เรื่องที่ 10 หลักธรรมในแตละศาสนาที่สงผลใหอยูรวมกับศาสนาอื่นได อยางมีความสุข เรื่องที่ 11 วิธีฝกปฏิบัติพัฒนาจิตในแตละศาสนา สื่อประกอบการเรียนรู ซี.ดีศาสนาสากล เอกสารศาสนาสากล และความขัดแยงในปาเลสไตน
  • 13. รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 3 เรื่องที่ 1 ความหมายคุณคาและประโยชนของศาสนา ความหมายของศาสนา ศาสนา คือ คําสอนที่ศาสดานํามาเผยแพรสั่งสอน แจกแจงแสดงใหมนุษยเวนจาก ความชั่วกระทําแตความดี ซึ่งมนุษยยึดถือปฏิบัติตามคําสอนนั้นดวยความเคารพเลื่อมใส และศรัทธาคําสอนดังกลาวจะมีลักษณะเปนสัจธรรมศาสนามีความสําคัญตอบุคคลและสังคม ทําใหมนุษยทุกคนเปนคนดีและอยูรวมกันอยางสันติสุข ศาสนาในโลกนี้มีอยูมากมายหลาย ศาสนาดวยกันแตวัตถุประสงคอันสําคัญยิ่งมองทุกๆศาสนาเปนไปในทางเดียวกันกลาวคือ ชักจูงใจใหคนละความชั่วประพฤติความดีเหมือนกันหมดหากแตวาการปฏิบัติพิธีกรรมยอม แตกตางกันความเชื่อถือของแตละศาสนา คุณคาของศาสนา 1. เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย 2. เปนบอเกิดแหงความสามัคคีของหมูคณะและในหมูมนุษยชาติ 3. เปนเครื่องดับความเรารอนใจทําใหสงบรมเย็น 4. เปนบอเกิดแหงจริยธรรมศีลธรรมและคุณธรรม 5. เปนบอเกิดแหงการศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม 6. เปนดวงประทีบสองโลกที่มืดมิดอวิชชาใหกลับสวางไสวดวยวิชชา ประโยชนของศาสนา ศาสนามีประโยชนมากมายหลายประการกลาวโดยสรุปมี 6 ประการคือ 1. ศาสนาเปนแหลงกําเนิดจริยธรรม ศาสนาทุกศาสนาสอนใหเราทราบวาอะไร คือความชั่วที่ควรละเวนอะไรคือความดีที่ควรกระทําอะไรคือสิ่งที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติ เพื่อใหอยูรวมกันอยางมีความสุขดังนั้นทุกศาสนาจึงเปนแหลงกําเนิดแหงความดีทั้งปวง 2. ศาสนาเปนแนวทางการดําเนินชีวิต ทุกศาสนาจะวางหลักการดําเนินชีวิตเปน ขั้นๆเชนพระพุทธศาสนาวางไว 3 ขั้นคือขั้นตนเนนการพึ่งตนเองไดมีความสุขตามประสา ชาวโลกขั้นกลางเนนความเจริญกาวหนาทางคุณธรรมและขั้นสูงเนนการลดละโลภโกรธหลง 3. ศาสนาทําใหผูนับถือปกครองตนเองได หลักคําสอนใหรูจักรับผิดชอบตนเอง คนที่ทําตามคําสอนทางศาสนาเครงครัดจะมีหิริโอตตัปปะไมทําชั่วทั้งที่ลับและที่แจงเพราะ สามารถควบคุมตนเองได 4. ศาสนาชวยใหสังคมดีขึ้น คําสอนทางศาสนาเนนใหคนในสังคมเวนจากการ เบียดเบียนกันเอารัดเอาเปรียบกันสอนใหเอื้อเฟอเผื่อแพรมีความซื้อสัตยสุจริตตอกันเปน เหตุใหสังคมมีความสงบสันติยิ่งขึ้นสอนใหอดทนเพียรพยายามทําความดีสรางสรรคผลงาน และประโยชนใหกับสังคม
  • 14. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม4 5. ศาสนาชวยควบคุมสังคมดีขึ้น ทุกสังคมจะมีระเบียบขอบังคับจารีตประเพณี และกฎหมายเปนมาตรการควบคุมสังคมใหสงบสุขแตสิ่งเหลานี้ไมสามารถควบคุมสังคมให สงบสุขแทจริงไดเชนกฎหมายก็ควบคุมไดเฉพาะพฤติกรรมทางกายและทางวาจาเทานั้นไม สามารถลึกลงไปถึงจิตใจไดศาสนาเทานั้นจึงจะควบคุมคนไดทั้งกาย วาจา และใจ ศาสนาในประเทศศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติไทยมีผูนับถือมากที่สุด รองลง มาคือศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ-ฮินดู และศาสนาซิกซ รายละเอียดของ แตละศาสนาดังตอไปนี้คือ เรื่องที่ 2 พุทธประวัติและหลักธรรมคําสอนของพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเชื่อเรื่องการเวียนวาย ตาย เกิด ในวัฎสงสารถาสัตวโลกยังมีกิเลส คือโลภ โกรธ หลงจะตองเกิดในไตรภูมิคือ 3 โลก ไดแก นรกภูมิ โลกมนุษย และเทวโลก และในการเกิดเปนพระพุทธเจาเพื่อที่จะโปรดสัตวโลกใหพนบารมีเพื่อใหบารมีสมบูรณจึงจะ เกิดเปนพระพุทธเจาใหพระเจาไดบําเพ็ญบารมีมาทุกภพทุกชาติและบําเพ็ญบารมีอยางยิ่งยวด ใน 10 ชาติสุดทายเรียกวาทศชาติซึ่งไดกลาวไวในพระสุตตันตปฎก โดยมีความยอๆดังนี้ 1.เตมียชาดก เปนชาดกที่แสดงถึงการบําเพ็ญเนกขัมมบารมีคือการออกบวช ความวาตระเตมีย เกิดในตระกูลกษัตริยแตทรงเกรงวาจะตองขึ้นครองราชยเปนพระราชาเพราะทรงเห็น การลงโทษโจรตามคําสั่งของพระราชา เชน เฆี่ยนบางเอาหอกแทงบางพระองคจึงทรงแกลง เปนงอย เปลี้ย หูหนวก เปนใบ ไมพูดจากับใคร พระราชาปรึกษากับพราหมณใหนําพระองค ไปฝงเสียพระมารดาทรงคัดคานแตไมสําเร็จจึงทรงขอใหพระเตมียครองราชย 7 วันเผื่อ พระองคจะตรัสบาง ครั้งครบ 7 วันแลวพระเตมียก็ไมตรัส ดังนั้นสารถีจึงนําพระเตมียไปฝง ตามคําสั่งของพระราชาครั้งสารถีขุดหลุมเตรียมฝงขณะกําลังขุดหลุมพระเตมียลงจากรถและ ตรัสปราศรัยแจงวาพระองคตองการจะบวชไมตองการเปนพระราชจากนั้นสารถีกลับไปบอก พระราชา พระราชาจึงเชิญพระเตมียกลับไปครองราชย พระเตมียกลับเทศนาสั่งสอนจน พระชนกชนนีและบริวารพากันเลื่อมใสออกบวชตาม 2. มหาชนกชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญวิริยบารมีคือความเพียรใจความสําคัญคือพระมหา ชนกราชกุมารเดินทางไปทางทะเล เรือแตกคนทั้งหลายจมน้ําตายบางเปนเหยื่อของสัตวน้ํา บางแตพระองคไมทรงละความอุตสาหะทรงวายน้ําโดยกําหนดทิศทางแหงกรุงมิถิลาในที่สุด ก็ไดรอดชีวิตกลับไปกรุงมิถิลาได ชาดกเรื่องนี้เปนที่มาแหงภาษิตที่วาเปนชายควรเพียรร่ําไป อยาเบื่อหนาย(ความเพียร)เสียเราเห็นตัวเองเปนไดอยางที่ปรารถนาขึ้นจากน้ํามาสูบกได
  • 15. รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 5 3. สุวรรณสามชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญเมตตาบารมีคือการแผไมตริจิตคิดจะใหสัตวทั้งปวง เปนสุขทั่วหนา มีเรื่องเลาวา สุวรรณสามเลี้ยงมารดาบิดาของตนซึ่งเสียจักษุในปาและ เนื่องจากเปนผูเมตตาปรารถดีตอผูอื่นหมูเนื้อก็เดินตามแวดลอมไปในที่ตางๆวันหนึ่งถูก พระเจากรุงพาราณสีชื่อพระเจากบิลยักษยิงเอาดวยธนูดวยเขาพระทัยผิดภายหลังเมื่อทราบ วาเปนมาณพผูเลี้ยงมารดาบิดาก็สลดพระทัยจึงไปจูงมารดาของสุวรรณสามมามารดาบิดา ของสุวรรณก็ตั้งสัจจกริยาอางคุณความดีของสุวรรณสาม สุวรรณสามก็ฟนคืนสติและไดสอน พระราชาแสดงคติธรรมวาผูใดเลี้ยงมารดาบิดาโดยธรรมแมเทวดาก็ยอมรักษาผูนั้นยอมมี คนสรรเสริญในโลกนี้ละโลกนี้ไปแลวก็ไปเกิดในสวรรคตอจากนั้นเมื่อพระราชาขอใหสั่งสอน ตอไปอีกก็สอนใหทรงปฏิบัติธรรมปฏิบัติชอบในบุคคลทั้งปวง 4. เนมิราชชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวาเนมิ ราชไดขึ้นครองราชยตอจากพระราชบิดาทรงบําเพ็ญคุณงามความดีเปนที่รักของมหาชนและ ในที่สุดเมื่อทรงมอบราชสมบัติแกพระราชโอรสเสด็จออกผนวชเชนเดียวกับที่พระราชบิดา ของพระองคเคยทรงบําเพ็ญมาทอดพระเนตรเห็นเสนพระเกศาหงอกบางก็สลดพระทัยใน สังขารจึงทรงออกผนวช 5. มโหสถชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอธิฐานบารมีคือความตั้งใจมั่นคงมีเรื่องเลาวามโห สถบัณฑิตเปนที่ปรึกษาหนุมของพระเจาวิเทหะแหงกรุงมิถิลาทานมีความฉลาดรูสามารถ แนะนําในปญหาตางๆไดอยางถูกตองรอบคอบเอาชนะที่ปรึกษาอื่นๆที่ริษยาใสความดวย ความดีไมพยาบาทอาฆาตครั้งหลังใชอุบายปองกันพระราชาจากราชศัตรูและจับราชศัตรูซึ่ง เปนกษัตริยพระนครอื่นได 6. ภูริทัตชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญศีลบารมี คือการรักษาศีลมีเรื่องเลาวาภูริทัตตนา คราชไปจําศีลอยูริมฝงแมน้ํายนุนายอมอดทนใหหมองูจับไปทรมานตางๆทั้งที่สามารถจะ ทําลายหมองูไดดวยฤทธิ์ดวยความที่มีใจมั่นตอศีลของตนในที่สุดก็ไดอิสรภาพ 7. จันทกุมารชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญขันติบารมีคือความอดทนจันทกุมารเปนโอรสของ พระเจาเอกราชพระองคทรงชวยประชาชนใหพนจากคดีซึ่งกัณฑหาลพราหมณราชปุโรหิต เปนผูรับสินบนตัดสินคดีขาดความเปนธรรมสงผลใหกัณฑหาลพราหมณผูกอาฆาตพยาบาท วันหนึ่งพระเจาเอกราชทรงพระสุบินเห็นดาวดึงสเทวโลกเมื่อทรงตื่นบรรทมทรงพระประสงค ทางไปดาวดึงสเทวโลกจึงตรัสถามกัณฑหาลพราหมหกัณฑหาลพราหมหจึงกราบทูลแนะนํา ใหตรัสพระเศียรโอรส ธิดา มเหสี บูชายัญแมใครจะทัดทานขอรองก็ไมเปนผลรอนถึง ทาวสักกะ(พระอินทร)ตองมาชี้แจงใหหายเขาใจผิดวาวิธีนี้ไมใชทางไปสวรรค มหาชนจึงรุมฆา กัณฑหาลพราหมณ และเนรเทศพระเจาเอกราชแลวกราบทูลเชิญจันทกุมารขึ้นครองราชย
  • 16. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม6 8. นารทชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอุเบกขาบารมีคือการวางเฉยพระพรหมนารถไดชวย ใหพระเจาอังคติราชแหงกรุงมิถิลามหานครพนจากความคิดเห็นผิดที่ไดรับคําสอนจาก คุณาชีวกวารูปกายของคนสัตวเปนของเที่ยงแมตัดศรีษะผูอื่นแลวไมบาปสุ ทุกข เกิดไดเอง ไมมีเหตุคนเราเวียนวายตายเกิดหนักเขาก็บริสุทธิ์เองเมื่อพระองคมีความเห็นดังนั้นพระเจา อังคติราชจึงสั่งใหรื้อโรงทานและมัวเมาในโลกียรอนถึงพระธิดาคือพระนางรุจาทรงหวงพระบิดา จึงสวดออนวอนขอใหพระบิดาพนจากความมัวเมารอนถึงพระพรหมนาทรทรงจําแลงกาย เปนนักบวชทรงสอนใหพระเจาอังคติราชใหกลับความเห็นที่ผิดมาบําเพ็ญกุศล ถือศีล ทําทาน ปกครองเมืองโดยสงบรมเย็น 9. วิทูรชาดก ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญสัจจบารมีคือความซื่อสัตยบัณฑิตมีหนาที่ถวาย คําแนะนําแกพระเจาธนัญชัยโกรัพยะซึ่งเปนพระราชาที่คนนับถือมากครั้งหนึ่งปุณณกยักษ มาทาพระเจาธนัญชัยโกทัพยะเลนสกาถาแพจะถวายมณีรัตนะอันวิเศษถาพระราชาแพตอง ใหสิ่งที่ปุณณกยักษตองการในที่สุดพระราชาแพปุณณกยักษของตังวิฑูรบัณฑิตพระราชา หนวงเหนี่ยวประการใดไมสําเร็จวิฑูรบัณฑิตรักษาสัจจะไปกับยักษในที่สุดแมแมยักษจะทํา อยางไรวิฑูรบัณฑิตก็ไมตายกับแสดงธรรมจนยักษเลื่อมใสและไดกลับคืนบานเมืองมีการ ฉลองรับขวัญเปนการใหญ 10. เวสสันดรชาดก เปนชาติสุดทายของพระพุทธเจาชาติตอไปจึงจะเกิดเปนพระพุทธเจาชาดกเรื่องนี้ แสดงถึงการบําเพ็ญทานบารมีคือการบริจาคทานมีเรื่องเลาวาพระเวสสันดรผูใจดีบริจาคทุกอยาง ที่มีคนขอครั้งหนึ่งประทานชางเผือกคูบานคูเมืองแกพราหมณชาวกาลิงคะซึ่งตอมาขอชาง ไปเพื่อใหเมืองของตนหายจากฝนแลงแตประชาชนโกรธขอใหเนรเทศพระราชบิดาจึงจํา พระทัยตองเนรเทศพระเวสสันดรซึ่งพระนางมัทรีพรอมดวยพระโอรสธิดาไดตามเสด็จไปดวย เมื่อชูชกไปขอสองกุมารก็ประทานใหอีกภายหลังพระเจาสัญชัยพระราชบิดาไดทรงไถสอง กุมารจากชูชกและเสด็จไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับกรุง(เรื่องนี้แสดงการเสีย สละสวนนอยเพื่อประโยชนสวนใหญคือการตรัสรูเปนพระพุทธเจาอันจะเปนทางใหไดบําเพ็ญ ประโยชนสวนรวมไดมิใชเสียสละโดยไมมีจุดมุงหมายหรือเหตุผล)
  • 17. รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 7 ประวัติพระพุทธเจา พระพุทธเจาทรงมีพระนามเดิมวา“สิทธัตถะ”ทรงเปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธ ทนะกษัตริยผูครองกรุงกบิลพัสดุ แควนสักกะและ “พระนางสิริมหามายา” พระราชธิดาของ กษัตริยราชสกุลโกลิยวงศแหงกรุงเทวทหะ แควนโกลิยะ ในคืนที่พระพุทธเจาเสด็จปฏิสนธิในครรภพระนางสิริมหามายา พระนางทรงพระ สุบินนิมิตวามีชางเผือกมีงาสามคูไดเขามาสูพระครรภ ณ ที่บรรทมกอนที่พระนางจะมีพระ ประสูติกาลที่ใตตนสาละ ณ สวนลุมพินีวัน เมื่อวันศุกร ขึ้นสิบหาค่ํา เดือนวิสาขะ ปจอ 80 ปกอนพุทธศักราช (ปจจุบันสวนลุมพินีวันอยูในประเทศเนปาล) ทันทีที่ประสูติ เจาชายสิทธัตถะทรงดําเนินดวยพระบาท 7 กาวและมีดอกบัวผุดขึ้น มารองรับพระบาทพรอมเปลงวาจาวา “เราเปนเลิศที่สุดในโลกประเสริฐที่สุดในโลกการ เกิดครั้งนี้เปนครั้งสุดทายของเรา”แตหลังจากเจาชายสิทธัตถะประสูติกาลไดแลว7วันพระ นางสิริมหามายาก็เสด็จสวรรคาลัย เจาชายสิทธัตถะจึงอยูในความดูแลของพระนางประชาบดี โคตรมี ซึ่งเปนพระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา ทั้งนี้ พราหมณทั้ง 8 ไดทํานายวาเจาชายสิทธัตถะมีลักษณะเปนมหาบุรุษ คือ หาก ดํารงตนในฆราวาสจะไดเปนจักรพรรดิ ถาออกบวชจะไดเปนศาสดาเอกของโลกแตโกณ ฑัญญะพราหมณผูอายุนอยที่สุดในจํานวนนั้นยืนยันหนักแนนวาพระราชกุมารสิทธัตถะจะ เสด็จออกบวชและจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาแนนอน ชีวิตในวัยเด็ก เจาชายสิทธัตถะทรงศึกษาเลาเรียนจนจบศิลปะศาสตรทั้ง 18 ศาสตรในสํานักครูวิ ศวามิตรและเนื่องจากพระบิดาไมประสงคใหเจาชายสิทธัตถะเปนศาสดาเอกของโลกจึง
  • 18. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม8 พยายามทําใหเจาชายสิทธัตถะพบเห็นแตความสุขโดยการสรางปราสาท 3 ฤดู ใหอยูประทับ และจัดเตรียมความพรอมสําหรับการราชาภิเษกใหเจาชายขึ้นครองราชย เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพา หรือยโสธรา พระธิดาของพระเจากรุงเทวท หะซึ้งเปนพระญาติฝายมารดาจนเมื่อมีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางพิมพาไดใหประสูติ พระราชโอรสมีพระนามวา “ราหุล” ซึ่งหมายถึง “ชวงบาย” เสด็จออกผนวช วันหนึ่งเจาชายสิทธัตถะทรงเบื่อความจําเจในปราสาท 3 ฤดู จึงชวนสารถีทรงรถมา ประพาสอุทยานครั้งนั้นไดทอดพระเนตรเห็นคนแก คนเจ็บ คนตาย และนักบวช โดยเทวทูต (ทูตสวรรค) ที่แปลงกายมาพระองคจึงทรงคิดไดวานี่เปนธรรมดาของโลกชีวิตของทุกคน ตองตกอยูในสภาพเชนนั้น ไมมีใครสามารถหลีกเลี่ยงเกิด แก เจ็บ ตายได จึงทรงเห็นวา ความสุขทางโลกเปนเพียงภาพมายาเทานั้น และวิถีทางที่จะพนจากความทุกขคือตองครอง เรือนเปนสมณะ ดังนั้นพระองคจึงใครจะเสด็จออกบรรพชาในขณะที่มีพระชนมายุ 29 พรรษา ครานั้นพระองคไดเสด็จไปพรอมกับนายฉันทะ สารถีซึ่งเตรียมมาพระที่นั่ง นามวา กัณฑกะมุงตรงไปยังแมน้ําอโนมานทีกอนจะประทับนั่งบนกองทรายทรงตัดพระเมาลีดวย พระขรรคและเปลี่ยนชุดผากาสาวพัตร (ผายอมดวยรสฝาดแหงตนไม) และใหนายฉันทะนํา เครื่องทรงกลับพระนครกอนที่พระองคจะเสด็จออกมหาภิเนษกรณ(การเสด็จออกเพื่อคุณ อันยิ่งใหญ) ไปโดยเพียงลําพังเพื่อมุงพระพักตรไปแควนมคธ บําเพ็ญทุกรกิริยา หลังจากทรงผนวชแลวพระองคมุง ไปที่แมน้ําคยา แควนมคธไดพยายามเสาะแสวง
  • 19. รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 9 ทางพนทุกขดวยการศึกษาคนควาทดลองในสํานักอาฬารบสกาลามโครตร และอุทกดาบส รามบุตรเมื่อเรียนจบทั้ง 2 สํานักแลวทรงเห็นวานี่ยังไมใชทางพนทุกข จากนั้นพระองคไดเสด็จไปที่แมน้ําเนรัญชรา ในตําบลอุรุเวลาเสนานิคม และทรง บําเพ็ญทุกรกิริยา ดวยการขบฟนดวยฟน กลั้นหายใจ และอดอาหารจนรางกายซูบผอมแต หลังจากทดลองได 6 ป ทรงเห็นวานี่ยังไมใชทางพนทุกขจึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยาและ หันมาฉันอาหารตามเดิมดวยพระราชดําริตามที่ทาวสักกเทวราชไดเสด็จลงมาดีดพิณถวาย 3 วาระ คือดีดพิณสาย 1 ขึงไวตึงเกินไปเมื่อดีก็จะขาดดีดพิณวาระที่ 2 ซึ่งขึงไวหยอนเสียง จะยืดยาดขาดความไพเราะและวาระที่ 3 ดีดพิณสายสุดทายที่ขึงไวพอดีจึงมีเสียงกังวาน ไพเราะดังนั้นจึงทรงพิจารณาเห็นวาทางสายกลางคือไมตึงเกินไป และไมหยอนเกินไป นั้น คือทางที่จะนําสูการพนทุกข หลังจากพระองคเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยา ทําใหพระปญจวัคคีย 5 ไดแก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยา มหานามะ อัสสชิ ที่มาคอยรับใชพระองคดวยความคาดหวังวาเมื่อพระองค คนพบทางพนทุกขจะไดสอนพวกตนใหบรรลุดวยเกิดเลื่อมศัทธาที่พระองคลมเลิกความ ตั้งใจ จึงเดินทางกลับไปที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ตําบลสารนาถ เมืองพาราณสี ตรัสรู ครานั้นพระองคทรงประทับนั่งขัดสมาธิใตตนพระศรีมหาโพธิ์ ณ อุรุเวลาเสนานิคม เมืองพาราณสี หันพระพักตรไปทางทิศตะวันออก และตั้งจิตอธิษฐานดวยความแนวแนวา ตราบใดที่ยังไมบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ ก็จะไมลุกขึ้นจากสมาธิบัลลังกแมจะมีหมูมารเขามา ขัดขวางแตก็พายแพพระบารมีของพระองคกลับไปจนเวลาผานไปในที่สุดพระองคทรงบรรลุ รูปฌาณ คือ ภาพพระพุทธเจาเทศนาโปรดปญจวัคคียทั้ง 5
  • 20. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม10 ยามตน หรือปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ สามารถระลึกชาติได ยามสอง ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ (ทิพยจักษุญาณ) คือรูเรื่องการเกิด การตายของ สัตวทั้งหลายวาเปนไปตามกรรมที่กําหนดไว ยามสาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ คือ ความรูที่ทําใหสิ้นอาสวะ หรือกิเลสดวย อริยสัจ 4 ไดแก ทุกข สมุทัย นิโรธ และมรรค และไดตรัสรูดวยพระองคเองเปนพระสัมมา สัมพุทธเจาและเปนศาสดาเอกของโลกซึ่งวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสรู ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 6 ขณะที่มีพระชนมายุ 35 พรรษา แสดงปฐมเทศนา หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสรูแลวทรงพิจารณาธรรมที่พระองคตรัสรูมาเปน เวลา 7 สัปดาห และทรงเห็นวาพระธรรมนั้นยากสําหรับบุคคลทั่วไปที่จะเขาใจและปฏิบัติได พระองคจึงทรงพิจารณาวา บุคคลในโลกนี้มีหลายจําพวกอยาง บัว 4 เหลา ที่มีทั้งผูที่สอน ไดงาย และผูที่สอนไดยาก พระองคจึงทรงระลึกถึงอาฬารดาบสและอุทกดาบส ผูเปนพระ อาจารยจึงหวังเสด็จไปโปรดแตทั้งสองทานเสียชีวิตแลว พระองคจึงทรงระลึกถึงปญจวัคคีย ทั้ง 5 ที่เคยมาเฝารับใชจึงไดเสด็จไปโปรดปญจวัคคียที่ปาอิสิปตนมคทายวัน ธรรมเทศนากัณฑแรกที่พระองคทรงแสดงธรรม คือ “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” แปลวา สูตรของการหมุนวงลอแหงพระธรรมใหเปนไปซึ่งถือเปนการแสดงพระธรรมเทศนา ครั้งแรกในวันเพ็ญ 15 ค่ํา เดือน 8 ซึ่งตรงกับวันอาสาฬหบูชา ในการนี้พระโกณฑัญญะไดธรรมจักษุ คือดวงตาเห็นธรรมเปนคนแรก พระพุทธองค จึงทรงเปรงวาจาวา “อัญญาสิ วตโกณฑัญโญ” แปลวา โกณฑัญญะ ไดรูแลว ทาน โกณ ฑัญญะ จึงไดสมญาวา อัญญาโกณฑัญญะ และไดรับการบวชเปนพระสงฆองคแรกใน พระพุทธศาสนา โดยเรียกการบวชที่พระพุทธเจาบวชใหวา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” หลังจากปญจวัคคียอุปสมบททั้งหมดแลว พุทธองคจึงทรงเทศนอนัตตลักขณสูตร ปญจวัคคีย จึงสําเร็จเปนอรหันตในเวลาตอมา การเผยแพรพระพุทธศาสนา ตอมาพระพุทธเจาไดเทศนพระธรรมเทศนาโปรดแกสกุลบุตรรวมทั้งเพื่อนของสกุล บุตรจนไดสําเร็จเปนพระอรหันตทั้งหมดรวม 60 รูป พระพุทธเจาทรงมีพระราชประสงคจะใหมนุษยโลกพนทุกข พนกิเลส จึงตรัสเรียก สาวกทั้ง 60 รูป มาประชุมกันและตรัสใหสาวก 60 รูปจาริกแยกยายกันเดินทางไปประกาศ ศาสนา 60 แหง โดยลําพังในเสนทางที่ไมซ้ํากันเพื่อใหสามารถเผยแผพระพุทธศาสนาใน หลายพื้นที่อยางครอบคลุมสวนพระองคเองไดเสด็จไปแสดงธรรมณตําบลอุรุเวลาเสนานิคม หลังจากสาวกไดเดินทางไปเผยแพรพระพุทธศาสนาในพื้นที่ตางๆทําใหมีผูเลื่อมใส พระพุทธศาสนาเปนจํานวนมากพระองคจึงทรงอนุญาตใหสาวกสามารถดําเนินการบวชได โดยใชวิธีการ “ติสรณคมนูปสัมปทา” คือการปฏิญาณตนเปนผูถึงพระรัตนตรัยพระพุทธ ศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกและแพรหลายในดินแดนแหงนั้นเปนตนมา
  • 21. รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 11 เสด็จดับขันธุปรินิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงโปรดสัตวและแสดงพระธรรมเทศนาตลอดระยะเวลา 45 พรรษาทรงสดับวาอีก 3 เดือนขางหนาจะปรินิพพานจึงไดทรงปลงอายุสังขารขณะนั้น พระองคไดประทับจําพรรษา ณ เวฬุคาม ใกลเมืองเวสาลี แควนวัชชีโดยกอนเสด็จดับขันธ ปรินิพพาน 1 วันพระองคไดเสวยสุกรมัททวะที่นายจุนทะทําถวายแตเกิดอาพาธลงทําให พระอานนทโกรธแตพระองคตรัสวา “บิณฑบาตที่มีอานิสงสที่สุด”มี 2 ประการ คือ เมื่อ ตถาคต (พุทธองค) เสวยบิณฑบาตแลวตรัสรูและปรินิพพาน” และมีพระดํารัสวา “โย โว อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิ โต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา” อันแปลวา “ดูกอน อานนท ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแลว บัญญัติแลวแกเธอทั้งหลายธรรมวินัยจักเปนศาสดา ของเธอทั้งหลาย เมือเราลวงลับไปแลว” พระพุทธเจาทรงประชวรหนักแตทรงอดกลั้นมุงหนาไปเมืองกุสินารา ประทับ ณ ปา สละเพื่อเสด็จดับขันธุปรินิพพานโดยกอนที่จะเสด็จดับขันธุปรินิพพานนั้นพระองคได อุปสมบทแกพระสุภัททะปริพาชกซึ่งถือไดวา “พระสุภัททะ” คือสาวกองคสุดทายที่พระพุทธ องคทรงบวชใหในทามกลางคณะสงฆทั้งที่เปนพระอรหันต และปุถุชนจากแควนตางๆรวม ทั้งเทวดาที่มารวมตัวกันในวันนี้ ในครานั้นพระองคทรงมีปจฉิมโอวาทวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลายเราขอบอกเธอทั้ง หลายสังขารทั้งปวงมีความเสื่อมสลายไปเปนธรรมดาพวกเธอจึงทําประโยชนตนเองและ ประโยชนของผูอื่นใหสมบูรณดวยความไมประมาทเถิด” (อปปมาเทน สมปาเทต) จากนั้นไดเสด็จดับขันธุปรินิพพานใตตนสาละณสาลวโนทยานของเหลามัลลกษัตริย เมืองกุสินารา แควนมัลละ ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 รวมพระชนมายุ 80 พรรษา และวันนี้ ถือเปนการเริ่มตนของพุทธศักราช
  • 22. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม12 สรุปหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเปนศาสนาประเภทเทวนิยม คือ ไมนับถือพระเจา พระสัมมาสัม พุทธเจาทรงตรัสรูความจริงของชีวิตวาองคประกอบของชีวิตมนุษยประกอบดวยรูปและนาม เทานั้น รูปและนามเมื่อขยายความก็จะเปน รูป จิต และเจตสิก จากรูปจิตและเจตสิกก็ขยาย ความดวยขันธ 5 ไดแก รูปขันธ วิญญาณขันธ เวทนาขันธ สัญญาขันธ และสังขารขันธ สรุป ไดดังแผนภูมิองคประกอบของชีวิต แผนภูมิ แสดงองคประกอบของชีวิตมนุษย จากแผนภูมิองคประกอบของชีวิตมนุษยดังกลาวในทางพระพุทธศาสนาอธิบายวา ชีวิตคือความเปนอยูของรางกาย (รูป) จิตและเจตสิก (นาม) โดยอาศัยความเปนผูนําเกิด และตามรักษาดํารงชีวิตและการกระทําตางๆไดโดยอาศัยจิตและเจตสิกเปนผูกําหนด รูป คือรางกายเปนธรรมชาติที่ไมมีความรูสึกนึกคิดใดๆ ทั้งสิ้น นาม คือสวนที่เปนจิตและเจตสิกเปนธรรมชาติที่รับรูสิ่งตางๆและสามารถรถนึกคิด เรื่องราวสิ่งตางๆได จิต คือธรรมชาติที่รูอารมณ ทําหนาที่เห็น ไดยิน รูรส รูกลิ่น รูสึกตอการสัมผัสถูก ตองทางกายและรูสึกคิดทางใจ เจตสิก คือ ธรรมชาติที่รูสึกนึกคิดเรื่องราวสิ่งตางๆ เมื่อแยกรูปและนามใหละเอียดขึ้นก็จะอธิบายดวยขันธ 5 คือ รูปขันธ (รูป) หมายถึง อวัยวะนอยใหญหรือกลุมรูปที่มีอยูในรางกายทั้งหมดของเรา วิญญาณขันธ (จิต) หมายถึง ธรรมชาติที่รับรูสิ่งตางๆ ที่มาปรากฏทางตา หู จมูก ลิ้นกาย ใจ อีกทั้งเปนธรรมชาติที่ทําใหเกิดความรูสํานึกคิดตางๆ เวทนาขันธ(เจตสิก) หมายถึงความรูสึกเปนสุข เปนทุกข ดีใจ เสียใจ หรือเฉยๆ องคประกอบของชีวิตมนุษย รูปขันธ วิญญาณ เวทนา สัญญา สังขาร จิต เจตสิก รูป นาม
  • 23. รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 13 สัญญาขันธ (เจตสิก) หมายถึง ธรรมชาติที่มีหนาที่ในการจําหรือเปนหนวยความ จําของจิตนั่นเอง สังขารขันธ(เจตสิก)หมายถึง ธรรมชาติที่ปรุงแตงจิตใหมีลักษณะตางๆ เปนกุศลบาง การเกิดขึ้นของจิต (วิญญาณขันธ) จะเกิดขึ้นโดยมีเจตสิก (เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขาร ขันธ)เกิดขึ้นรวมดวยเสมอเฉพาะจิตอยางเดียวไมสามารถรับรูหรือนึกคิดอะไรไดเลย จิตและ เจตสิกจะแยกจากกันไมไดตองเกิดรวมกันอิงอาศัยกัน จิตแตละดวงที่เกิดจะตองมีเจตสิก เกิดรวมดวยเสมอ จากความจริงของชีวิตที่พระพุทธองคทรงคนพบวาชีวิตเปนเพียงองคประกอบของ รูปและนามเทานั้นแตเหตุที่คนเรามีความทุกขอยูเพราะความรูสึกนึกคิดที่เปนเรื่องเปนราว วา “มีเรามีเขา” ทําใหเกิดการยึดมั่นถือมั่นดวยอวิชา (ความไมรู) วาสภาพธรรมเทานั้นเปน เพียงรูปและนามที่ “เกิดขึ้น ตั้งอยูแลว ดับไป” เทานั้น 1. หลักธรรมเพื่อความหลุดพนเฉพาะตัว คือ อริยสัจ 4 อริยสัจ 4 แปลวา ความจริงอันประเสริฐมีอยูสี่ประการ คือ 1) ทุกข คือ สภาพที่ทนไดยาก ภาวะที่ทนอยูในสภาพเดิมไมไดสภาพที่บีบคั้น ไดแก ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก การเกา) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไมเปนที่รัก พลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแลว ไมสมหวังในสิ่งนั้นกลาวโดยยอ ทุกขก็คืออุปาทานขันธหรือขันธ 5 2) ทุกขสมุทัย คือสาเหตุที่ทําใหเกิดทุกข ไดแกตัณหา 3 คือกามตัณหา-ความ ทะยานอยากในกาม ความอยากไดทางกามารมณ, ภวตัณหา-ความทะยานอยากในภพ ความ อยากเปนโนนเปนนี่ ความอยากที่ประกอบดวยภาวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิ และวิภาวตัณหา- ความทะยานอยากในความปรารถนาจากภพความอยากไมเปนโนนไมเปนนี่ ความอยากที่ ประกอบดวยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิ 3) ทุกขนิโรธ คือความดับทุกข ไดแกดับสาเหตุที่ทําใหเกิดทุกขกลาวคือดับ ตัณหาทั้ง 3 ไดอยางสิ้นเชิง 4) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา คือแนวปฏิบัติที่นําไปสูหรือนําไปถึงความดับทุกข ไดแก มรรคอันมี องคประกอบอยูแปดประการ คือ (1)สัมมาทิฏฐิ – ความเห็นชอบ(2)สัมมา สังกัปปะ-ความดําหริชอบ(3)สัมมาวาจา-เจรจาชอบ(4)สัมมากัมมันตะ-ทําการงานชอบ(5) สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ(6)สัมมาวายามะ-พยายามชอบ(7)สัมมาสติ-ระลึกชอบ และ (8) สัมมาสมาธิ-ตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งไดวา “มัชฌิมาปฏิปทา” หรือทางสายกลาง 2. หลักธรรมเพื่อการอยูรวมกันในสังคม 1) สัปปุริสธรรม 7 สัปปุริสธรรม 7 คือหลักธรรมของคนดีหรือหลักธรรมของสัตตบุรุษ 7 ประการ ไดแก รูจัก เหตุรูจักผล (1) รูจักเหตุหรือธัมมัญญตา หมายถึง ความเปนผูรูจักเหตุ รูจะจักวิเคราะห หาสาเหตุของสิ่งตางๆ
  • 24. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม14 (2) รูจักผลหรืออัตถัญญตา หมายถึง ความเปนผูรูจักผลที่เกิดขึ้นจากการกระทํา (3) รูจักตนหรืออัตตัญญาหมายถึงความเปนผูรูจักตนทังในดานความรูคุณธรรม และความสามารถ (4) รูจักประมาณหรือมัตตัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักประมาณรูจักหลัก ของความพอดี การดําเนินชีวิตพอเหมาะพอควร (5) รูจักกาลเวลาหรือกาลัญุตา หมายถึงความเปนผูรูจักกาลเวลารูจักเวลาไหน ควรทําอะไรแลวปฏิบัติใหเหมาะสมกับเวลานั้นๆ (6) รูจักบุคคลหรือบุคคลสัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักปฏิบัติการปรับตน และแกไขตนใหเหมาะสมกับสภาพของกลุมและชุมชน (7) รูจักบุคคลหรือบุคคลสัญุตา หมายถึงความเปนผูรูจักปฏิบัติตนใหเหมาะสม กับบุคคลซึ่งมีความแตกตางกัน การที่บุคคลไดนําหลักสัปปุริสธรรม 7 มาใชในการดําเนินชีวิตพบกับความสุข ในชีวิตได 2) อิทธิบาท 4 อิทธิบาท 4 คือหลักธรรมที่นําไปสูความสําเร็จแหงกิจการมี 4 ประการคือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา (1) ฉันทะ คือ ความพอใจใฝรักใฝหาความรูและความสรางสรรค (2) วิริยะคือความเพียรพยายามมีความอดทนไมทอถอย (3) จิตตะคือความเอาใจใสและตั้งใจแนวแนในการทํางาน (4) วิมังสาคือความหมั่นใชปญญาและสติในการตรวจตราและคิดไตรตรอง 3) กุศลธรรมบถ 10 กุศลกรรมบถ 10 เปนหนทางแหงการทําความดีงามทางแหงกุศลซึ่งเปนหนทาง นําไปสูความสุขความเจริญแบงออกเปน 3 ทางคือ กายกรรม 3 วจีกรรม4 และมโนกรรม 1. กายกรรม 3 หมายถึง ความประพฤติดีที่แสดงออกทางกาย 3 ประการ ไดแก (1) เวนจากการฆาสัตว คือการละเวนจากการฆาสัตวการเบียนเบียนกัน เปน ผูเมตตากรุณา (2) เวนจากการลักทรัพยคือเวนจาการลักขโมย เคารพในสิทธิของผูอื่นไม หยิบฉวยเอาของคนอื่นมาเปนของตน (3) เวนจากการประพฤติในกาม คือการไมลวงละเมิดสามีหรือภรรยาผูอื่น ไมลวงละเมิดประเวณีทางเพศ 2. วจีกรรม 4 หมายถึงการเปนผูมีความประพฤติดีซึ่งแสดงออกทางวาจา 4 ประการ ไดแก (1) เวนจากการพูดเท็จ คือการพูดแตความจริง ไมพูดโกหก หลอกลวง (2) เวนจากการพูดสอเสียดคือพูดแตในสิ่งที่ทําใหเกิดความสามัคคีกลมเกลียว ไมพูดจาในสิ่งที่กอใหเกิดความแตกแยก แตกราว
  • 25. รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 15 (3) เวนจากการพูดคําหยาบคือพูดแตคําสุภาพ ออนหวาน ออนโยน กับ บุคคลอื่นทั้งตอหนาและลับหลัง (4) เวนจากการพูดเพอเจอคือพูดแตความจริงมีเหตุผลเนนเนื้อหาสาระที่ เปนประโยชนพูดแตสิ่งที่จําเปนและพูดถูกกาลเทศะ 3. มโนกรรม 3 หมายถึง ความประพฤติที่เกิดขึ้นในใจ 3 ประการ ไดแก (1) ไมอยากไดของของเขา คือ ไมคิดจะโลภอยากไดของผูอื่นมาเปนของตน (2) ไมพยาบาทปองรายผูอื่น คือมีจิตใจมีปรารถนาดี อยากใหผูอื่นมีความ สุขความเจริญ (3) มีความเห็นที่ถูกตอง คือ ความเชื่อที่ถูกตอง คือความเชื่อในเรื่องการ ทําความดีไดดี ทําชั่วไดชั่วและมีความเชื่อวาความพยายามเปนหนทางแหงความสําเร็จ สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ 4 เปนหลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาที่เปน วิธีปฏิบัติเพื่อ ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนที่ยังไมเคยรักใครนับถือ ใหความรัก ความนับถือ สังคหวัตถุเปน หลักธรรมที่ชวยผูกไมตรีซึ่งกันและกันใหแนนแฟนยิ่งขึ้นประกอบดวย ทาน ปยวาจา อัตถจริยา สมานนัตตตา 1. ทาน คือการใหเปนสิ่งของตนใหแกผูอื่นดวยความเต็มใจเพื่อเปนประโยชนแก ผูรับการใหเปนการยึดเหนี่ยวน้ําใจกันอยางดียิ่งเปนการสงเคราะหสมานน้ําใจกันผูกมิตรไมตรี กันใหยั่งยืน 2. ปยวาจา คือ การเจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวานพูดชวนใหคนอื่นเกิด ความรักและนับถือคําพูดที่ดีนั้นยอมผูกใจคนใหแนนแฟนตลอดไปหรือแสวงความเห็นอกเห็นใจ ใหกําลังใจรูจักพูดใหเกิดความเขาใจดี สมานสามัคคี ยอมทําใหเกิดไมตรีทําใหรักใครนับถือ และชวยเหลือเกื้อกูลกัน 3. อัตถจริยา คือ การประพฤติสิ่งที่เปนประโยชนแกกัน คือชวยเหลือดวยแรงกาย และขวนขวายชวยเหลือกิจกรรมตางๆใหลุลวงไปเปนคนไมดูดายชวยใหความผิดชอบชั่วดี หรือชวยแนะนําใหเกิดความรูความสามารถในการประกอบอาชีพ 4. สมานนัตตตาคือการวางตนเปนปกติเสมอตนเสมอปลายไมถือตัวและการวางตน ใหเหมาะสมกับฐานะของตนตามสภาพ ไดแก เปนผูใหญ ผูนอย หรือผูเสมอกันเอาไปใส ปฏิบัติตามฐานะ ผูนอยคาราวะนอบนอมยําเกรงผูใหญ อบายมุข 6 คําวาอบายมุขคือหนทางแหงความเลื่อมหรือหนทางแหงความหายนะความฉิบหาย มี 6 อยาง ไดแก 1. การเปนนักเลงผูหญิง หมายถึง การเปนคนมีจิตใจใฝในเรื่องเพศเปนนักเจาชู ทําใหเสียทรัพยสินเงินทอง สูญเสียเวลาและเสียสุขภาพ