Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Advertisement
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
Upcoming SlideShare
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
Loading in ... 3
1 of 36
Advertisement

More Related Content

Slideshows for you(20)

Advertisement

Recently uploaded(20)

Advertisement

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001

  1. หนังสือเรียนรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง (ทช 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน​ สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต หลักสูตร​การ​ศึกษานอกระบบระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำ�นัก​งาน​สงเสริม​การ​ศึกษานอกระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตามอัธยาศัย​ สำ�นัก​งาน​ปลัด​กระทรวง​ศึกษาธิการ กระทรวง​ศึกษาธิการ​
  2. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง (ทช 21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ISBN : 978-974-232-392-9 พิมพครั้ง​ที่ : 1 / 2553 จำ�นวน​พิมพ : 3,000 เลม เอกสาร​ทาง​วิชาการ​หมายเลข 63/2553
  3. คำ�นำ� สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ได​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือ​เรียน​ ชุด​ใหม​นี้​ขึ้น เพื่อ​สำ�หรับ​ใช​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่​มี​วัตถุ​ประสงค​ใน​การ​พัฒนา​ผูเรียน​ให​มี​คุณธรรม จริยธรรม มี​สติปญญา​และ​ศักยภาพ​ใน​การ​ ประกอบ​อาชีพ การ​ศึกษาตอ​และ​สามารถ​ดำ�รงชีวิต​อยู​ใน​ครอบครัว ชุมชน สังคม​ได​อยาง​มี​ความ​สุข โดย​ผูเรียน​ สามารถ​นำ�​หนังสือ​เรียน​ไป​ใช​ใน​การ​เรียน​ดวย​วิธีการ​ศึกษา​คนควา​ดวย​ตน​เอง ปฏิบัติ​กิจกรรม รวมทั้ง​แบบฝกหัด​เพื่อ​ ทดสอบ​ความ​รูความ​เขาใจ​ใน​สาระ​เนื้อหา โดย​เมื่อ​ศึกษา​แลว​ยัง​ไมเขาใจ สามารถ​กลับ​ไป​ศึกษา​ใหม​ได ผูเรียน​ อาจจะ​สามารถ​เพิ่มพูน​ความรู​หลังจาก​ศึกษา​หนังสือ​เรียน​นี้ โดย​นำ�​ความรู​ไป​แลกเปลี่ยน​กับ​เพื่อน​ใน​ชั้นเรียน ศึกษา​จาก​ภูมิปญญา​ทองถิ่น จาก​แหลง​เรียนรู​และ​จาก​สื่อ​อื่นๆ ใน​การ​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือ​เรียน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับ​ความ​รวมมือ​ที่​ดี​จาก​ผูทรงคุ​วุฒิ​และ​ผู​เกี่ยวของ​หลาย​ทาน​ซึ่ง​ชวยกัน​คนควา​และ​เรียบเรียง​ เนื้อหา​สา​ระ​จาก​สื่อ​ตาง ๆ เพื่อให​ได​สื่อ​ที่​สอดคลองกับ​หลักสูตร​และ​เปน​ประโยชน​ตอ​ผูเรียน​ที่อยู​นอก​ระบบ​ อยาง​แทจริง สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​ขอบคุณ​คณะ​ที่ปรึกษา​ คณะ​ผู​เรียบเรียง ตลอดจน​คณะ​ผูจัดทำ�​ทุกทาน​ที่​ได​ให​ความ​รวมมือ​ดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย หวัง​วา​หนังสือ​เรียน​ชุด​นี้​จะ​เปน​ ประโยชน​ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ตามสมควร หาก​มี​ขอ​เสนอแนะ​ประการใด สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​ นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​นอม​รับ​ไว​ดวย​ความ​ขอบคุณ​ยิ่ง (นาย​อภิ​ชาติ จี​ระ​วุฒิ) เลขาธิการ​ กศน.
  4. คำ�นำ� สารบัญ คำ�แนะนำ�​การ​ใช​หนังสือเรียน โครง​สรางรายวิชา​​ บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง 1 บท​ที่ 2 การ​ประกอบ​อาชีพ​อยาง​พอเพียง 6 บท​ที่ 3 การ​วาง​แผนประกอบ​อาชีพ​แบบ​พอเพียง 10 บท​ที่ 4 เครือขาย​ดำ�เนิน​ชีวิต​แบบ​พอเพียง 18 ภาค​ผนวก 34 คณะ​ผูจัดทำ� 36 สารบัญ
  5. หนังสือ​เรียน​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ทช 21001 ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอนตน เปน​หนังสือ​เรียน​ที่​จัด​ทำ�ขึ้น สำ�หรับ​ผูเรียน​ที่​เปน​นักศึกษา​นอก​ระบบ ใน​การ​ศึกษา​หนังสือ​เรียน​สาระทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต ผูเรียน​ควร​ปฏิบัติ​ดังนี้ 1. ศึกษา​โครงสราง​รายวิ​ขา​ให​เขา​ใน​ใน​หัวขอ​และ​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง และ​ขอบขาย​เนื้อหา​ของ​รายวิชา​นั้น ๆ โดย​ละเอียด 2. ศึกษา​รายละเอียด​เนื้อหา​ของ​แตละ​บท​อยาง​ละเอียด และ​ทำ�​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด แลว​ตรวจสอบ​กับ​ แนว​ตอบ​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด ถา​ผูเรียน​ตอบ​ผิด​ควร​กลับ​ไป​ศึกษา​และ​ทำ�ความ​เขาใจ​ใน​เนื้อหา​นั้น​ใหม​ให​เขาใจ กอน​ที่จะ​ศึกษา​เรื่อง​ตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติ​กิจกรรม​ทาย​เรื่อง​ของ​แตละ​เรื่อง เพื่อ​เปนการ​สรุป​ความรู ความ​เขาใจ​ของ​เนื้อหา​ใน​เรื่อง​นั้น ๆ อีกครั้ง และ​การ​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ของ​แตละ​เนื้อหา แตละ​เรื่อง ผูเรียน​สามารถ​นำ�ไป​ตรวจสอบ​กับ​ครู​และ​เพื่อน ๆ ที่​ รวม​เรียน​ใน​รายวิชา​และ​ระดับ​เดียวกัน​ได 4. หนังสือ​เรียน​เลม​นี้​มี 5 บท บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง บท​ที่ 2 การ​ประกอบ​อาชีพ​อยาง​พอเพียง บท​ที่ 3 การวาง​แผน​ประกอบ​อาชีพ​แบบ​พอเพียง บท​ที่ 4 เครือขาย​ดำ�เนิน​ชีวิต​แบบ​พอเพียง คำ�​แนะนำ�​ใน​การ​ใช​หนังสือเรียน
  6. สาระสำ�คัญ เศรษฐกิจ​พอเพียง เปน​ปรัชญา​ที่​พระบาท​สมเด็จ​พระเจาอยูหัว ทรง​พระ​ราช​ดำ�รัส​ชี้​แนะแนวทาง​ การ​ดำ�รงอยู​และ​การ​ปฏิบัติตน​ของ​ประชาชน​ใน​ทุก​ระดับ​ให​ดำ�เนิน​ชีวิต​ไป​ในทาง​สายกลางโดยเฉพาะ​ การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​เพื่อให​กาว​ทัน​ตอ​โลก​ยุค​โลกาภิวัตน ความ​พอเพียง หมายถึง ความ​พอประมาณ ความ​ มี​เหตุผล รวมถึง​ความ​จำ�เปน​ที่จะ​ตอง​มี​ระบบ​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตัว​ที่​ดี​พอสมควร​ตอ​ผล​กระทบ​ใด ๆ อัน​เกิด​ จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ภายนอก​และ​ภายใน ทั้งนี้​จะ​ตอง​อาศัย​ความ​รอบรู ความ​รอบคอบ​และ​ความ​ ระมัดระวัง​อยางยิ่ง​ใน​การนำ�​วิชาการ​ตาง ๆ มา​ใช​ใน​การ​วางแผน​และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน และ​ขณะ​ เดียวกัน​จะ​ตอง​เสริมสราง​พื้นฐาน​จิตใจ​ของ​คนใน​ชาติ​ให​มี​สำ�นึก​ใน​คุณธรรม ความ​ซื่อสัตย​สุจริต​และ​ให​ มี​ความ​รอบรู​ที่​เหมาะสม​ดำ�เนิน​ชีวิต​ดวย​ความ​อดทน ความ​เพียร มี​สติปญญา​และ​ความ​รอบคอบ เพื่อให​ สมดุล​และ​พรอม​ตอ​การ​รองรับ​การ​เปลี่ยนแปลง​อยาง​รวดเร็ว​และ​กวางขวาง ทั้ง​ดาน​วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม​ และ​วัฒนธรรม​จาก​โลก​ภายนอก​ได​เปน​อยาง​ดี ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง 1. อธิบาย​แนวคิด หลักการ ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ​ของ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได 2. บอก​แนว​ทางใน​การนำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต 3. เห็น​คุณคา​และ​ปฏิบัติ​ตามหลัก​เศรษฐกิจ​พอเพียง 4. แนะนำ� สงเสริม​ให​สมาชิก​ใน​ครอบครัว​เห็น​คุณคา​และ​นำ�ไป​ปฏิบัติ​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต ขอบขาย​เนื้อหา บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง บท​ที่ 2 การ​ประกอบ​อาชีพ​อยาง​พอเพียง บท​ที่ 3 การ​วาง​แผน​ประกอบ​อาชีพ​แบบ​พอเพียง บท​ที่ 4 เครือขาย​ดำ�เนิน​ชีวิต​แบบ​พอเพียง โครงสราง รายวิชา​เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน (ทช 21001)
  7. สาระสำ�คัญ ผูเรียน​สามารถ​เรียน​รู ถึงความเปนมา แนว​คิด และ​หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเ​พี​ยง ที่​พระ​บาท​ สมเด็จพระเจาอยูหัว​ทรง​พระดำ�รัสชี้แนะ​แนวทาง การ​ดำ�รง​อยู​และ​การ​ปฏิบัติ​ตน​ของ​ประชาชน​ใน​ทุกระดับ​ให​ ดำ�เนิน​ชีวิต​ไป​ใน​ทางสาย​กลาง ผลการเรียนที่​คาดหวัง 1. ผูเรียน​เรียนรูความ​เปนมา แนว​คิด​และ​หลักปรัชญา​​ของเศรษฐกิจ​พอเพียง 2. ผูเรียน​แสวง​หาความ​รูจาก​แนว​ทางเศรษฐกิจ​พอเพียง ขอบขายเนื้อหา เรื่อง​ที่ 1 ความ​พอเพียง ตาม​แนว​คิด​ของ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง บ​ทที่ 1 ความพอเพียง
  8. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน (ทช 21001)​10 ความ​เปนมา​ของ”​เศรษฐกิจ​พอเพียง”​​ ​ ​ ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​เปน​ปรัชญา​ที่​ชี้​แนวทาง​การ​ดำ�รง​อยู​และ​ ปฏิบัติตน ​ที่​พระบาท​สมเด็จพระปร​มินทร​มหา​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช​มี​พระ​ราช​ดำ�รัส​แก​พสกนิกร​ชาวไทย​มา​ตั้ง​แต​ป ​ พ.​ศ.​ ​2​5​1​7​ ​และ​พูด​ถึง​อยาง​ชัดเจน​ใน​วัน​ที่ ​4​ ​ธันวาคม ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​(​ภายหลัง​วิกฤติ​เศรษฐกิจ ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​)​ ​เพื่อ​เปน​ แนวทาง​การ​แกไข​เศรษฐกิจ​ของ​ประเทศ​ไทย ​ให​ดำ�รง​อยู​ได​อยาง​มั่นคง​และ​ยั่งยืน​ใน​กระ​แส​โลกาภิวัตน​และ​ความ​ เปลี่ยน​แปลง​ตาง ​ๆ​ในทาง​การเมือง​ของ​ไทย​แลว ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มี​บทบาท​สำ�คัญ​ใน​การ​สถาปนา​อำ�นาจ​นำ�​ดาน​ อุดมการณ ​โดยเฉพาะ​อุดมการณ​กษัตริย​นิยม​ใน​สังคม​ไทย ​ใน​ฐานะ ​“​กษัตริย​นัก​พัฒนา”​ ​ซึ่ง​สงผลตอ​การ​เติบโต​ ของ​อุดมการณ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สิ่ง​เหลานี้​ถูก​ตอกย้ำ�​และ​ผลิต​ซ้ำ�​โดย​สถาบัน​ทาง​สังคม​ตาง ​ๆ​ ​เชน ​สถาบัน​ การ​ศึกษา ​หนวยงาน​ราชการ ​สื่อมวลชน ​สงผล​ให​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มี​บทบาท​ตอ​การ​กำ�หนด​อุดมการณ​การ​ พัฒนา​ของ​ประเทศ ​และ​การ​พยายาม​ตีความ​เพื่อ​สราง​ความ​ชอบธรรม​ใน​การ​พัฒนา​โดย​ปญญาชน ​ซึ่ง​เชื่อมโยง​ แนวคิด​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เขากับ​อุดมการณ​วัฒนธรรม​ชุมชน ​ที่​ถูก​เสนอ​มา​กอนหนา​โดย​องคกร​พัฒนา​เอกชน​ จำ�นวน​หนึ่ง​ตั้ง​แต​พุทธ​ทศวรรษ ​2​5​2​0​ ​ ​ ​ ​ก็ได​ชวย​ให​อุดมการณ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ขยาย​ครอบคลุม​สวน​ตาง ​ๆ​ ​ของ​ สังคม สำ�นักงาน​คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ​ได​เชิญ​ผู​ทรงคุณวุฒิ​ในทาง​เศรษฐกิจ​ และ​สาขา​อื่น ​ๆ​ ​มา​รวม​กัน​ประมวล​และ​กลั่นกรอง​พระ​ราช​ดำ�รัส​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เพื่อ​บรรจุ​ใน​แผน​พัฒนา​ เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ ​ฉบับ​ที่ ​9​ ​(​พ.​ศ.​ ​2​5​4​5​-​2​5​4​9​)​ ​และ​ได​จัด​ทำ�เปน​บทความ​เรื่อง ​“​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​ พอเพียง”​ ​และ​ได​นำ�​ความ​กราบ​บังคล​ทูล​พระ​กรุณา​ขอ​พระราชทาน​พระ​บรม​ราช​วินิจฉัย ​เมื่อ​วัน​ที่ ​2​2​ ​ตุลาคม พ.​ศ.​ ​2​5​4​2​ ​โดย​ทรง​พระ​กรุณา​ปรับปรุง​แกไข​พระราชทาน​และ​ทรง​พระ​กรุณา​โปรด​เกลาฯ ​พระราชทาน​พระบรม ราชานุญาต​ให​นำ�​บทความ​ที่​ทรง​แกไข​แลวไป​เผย​แพร ​เพื่อ​เปน​แนวทาง​ปฏิบัติ​ของ​สำ�นักงานฯ ​และ​ทุกฝาย​ที่​ เกี่ยวของ ​ตลอดจน​ประชาชน​โดย​ทั่วไป ​เมื่อ​วัน​ที่ ​2​1​ ​พฤศจิกายน ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​2​ ​ ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงนี้​ไดรับ​การ​เชิดชู​สูงสุด​จาก​องคการ​สหประชาชาติ ​วา​เปน​ปรัชญา​ที่​มี​ประโยชน​ ตอ​ประเทศ​ไทย​และ​นานาประเทศ ​และ​สนับสนุน​ให​ประเทศ​สมาชิก​ยึด​เปน​แนวทาง​สู​การ​พัฒนา​แบบ​ยั่งยืน มี​นัก​วิชาการ ​นัก​เศรษฐศาสตร ​หลาย​คน​เห็นดวย ​และ​เชิดชู ​แนวทาง​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ความ​นา​เชื่อถือ​ของ​ รายงาน​ศึกษา​และ​ทาที​ของ​สหประชาชาติ ​แนวคิด ​และ​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช ได​พัฒนา​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เพื่อ​ที่​จะ​ให​ พสกนิกร​ชาวไทย​ได​เขา​ถึง​ทาง​สายกลาง​ของ​ชีวิต​และ​เพื่อ​คงไว​ซึ่ง​ทฤษฏี​ของ​การ​พัฒนา​ที่​ยั่งยืน ​ทฤษฎี​นี้​เปน​พื้นฐาน​ ของ​การ​ดำ�รงชีวิต​ซึ่ง​อยู​ระหวาง ​สังคม​ระดับ​ทองถิ่น​และ​ตลาด​ระดับ​สากล ​จุดเดน​ของ​แนว​ปรัชญา​นี้​คือ ​แนวทาง​ ที่​สมดุล ​โดย​ชาติ​สามารถ​ทันสมัย ​และ​กาว​สู​ความ​เปน​สากล​ได ​โดย​ปราศจาก​การ​ตอตาน​กระ​แส​โลกา​ภิวัฒน เรื่อง​ที่ 1 ความ​พอเพียง​ตาม​แนว​คิด​ของ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง
  9. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอนตน (ทช 21001)​ 11 ​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มี​ความ​สำ�คัญ​ใน​ชวง​ป ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​เมื่อ​ป​ที่​ประเทศ​ไทย​ตองการ​รักษา​ ความ​มั่นคง​และ​เสถียรภาพ​เพื่อ​ที่​จะ​ยืนหยัด​ใน​การ​พึ่งตนเอง​และ​พัฒนา​นโยบาย​ที่​สำ�คัญ​เพื่อ​การ​ฟนฟู​เศรษฐกิจ​ ของ​ประเทศ ​โดย​การ​สราง​แนวคิด​เศรษฐกิจ​ที่​พึ่งตนเอง​ได ​ซึ่ง​คน​ไทย​จะ​สามารถ​เลี้ยงชีพ​โดย​อยู​บน​พื้นฐาน​ของ​ ความ​พอเพียง ​ พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​มี​พระ​ราช​ดำ�ริ​วา ​มัน​ไมได​มี​ความ​จำ�เปน​ที่​เรา​จะ​กลาย​เปน​ประเทศ​ อุตสาหกรรม​ใหม ​(​N​I​C​)​ ​พระองค​ได​ทรง​อธิบาย​วา ​ความ​พอเพียง​และ​การ​พึ่งตนเอง ​คือ ​ทาง​สายกลาง​ที่​จะ​ปอง​ กัน​การ​เปลี่ยน​แปลง​ความ​ไมมั่นคง​ของ​ประเทศ​ได ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เชื่อ​วา​จะ​สามารถ​ปรับ​เปลี่ยน​โครงสราง​ทาง​สังคม​ของ​ชม​ชุน​ให​ดีขึ้น​โดย​มี​ปจจัย ​2​ ​อยาง​คือ ​1​.​ ​การ​ผลิต​จะ​ตอง​มี​ความ​สัมพันธ​กัน​ระหวาง ​ปริมาณ​ผล​ผลิต​และ​การ​บริโภค ​ ​2​.​ ​ชุมชน​จะ​ตอง​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​จัดการ​ทรัพยากร​ของ​ตน​เอง ​ ​ผล​ที่​เกิดขึ้น​คือ ​1​.​ ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​สามารถ​ที่​จะ​คงไว​ซึ่ง​ขนาด​ของ​ประชากร​ที่​ได​สัดสวน ​ ​2​.​ ​ใช​เทคโนโลยี​ได​อยาง​เหมาะสม ​ ​3​.​ ​รักษา​สมดุล​ของ​ระบบนิเวศ ​และ​ปราศจาก​การ​แทรก​แซง​จาก​ปจจัย​ภายนอก ​ ​ปจจุบัน​แนว​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได​มี​การ​นำ�ไป​ใช​เปน​นโยบาย​ของ​รัฐบาล ​และ​ปรากฏ​ใน​รัฐธรรมนูญ​แหง​ ราชอาณาจักร​ไทย ​พุทธศักราช ​2​5​5​0​ ​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​“​.​.​.​การ​พัฒนา​ประเทศ​จำ�เปน​ตอง​ทำ�ตาม​ลำ�ดับขั้น ​ตอง​สราง​พื้นฐาน ​คือ ​ความ​พอมีพอกิน ​พอ​ใช​ของ​ ประชาชน​สวน​ใหญ​เปน​เบื้องตน​กอน ​โดย​ใช​วิธีการ​และ​ใช​อุปกรณ​ที่​ประหยัด ​แต​ถูกตอง​ตามหลัก​วิชา ​เมื่อ​ได​ พื้นฐาน​มั่นคง​พรอม​พอควร​และ​ปฏิบัติ​ได​แลว ​จึง​คอย​สราง​คอย​เสริม​ความ​เจริญ​และ​ฐานะ​เศรษฐกิจ​ขั้น​ที่​สูงขึ้น​ โดย​ลำ�ดับตอไป ​หาก​มุง​แต​จะ​ทุมเท​สราง​ความ​เจริญ ​ยก​เศรษฐกิจ​ขึ้น​ให​รวดเร็ว​แต​ประการ​เดียว ​โดย​ไม​ให​แผน​ ปฏิบัติ​การ​สัมพันธกับ​สภาวะ​ของ​ประเทศ​และ​ของ​ประชาชน​โดย​สอดคลอง​ดวย ​ก็​จะ​เกิด​ความ​ไม​สมดุล​ใน​เรื่อง​ ตาง ​ๆ​ ​ขึ้น ​ซึ่ง​อาจ​กลาย​เปนความ​ยุงยาก​ลมเหลว​ได​ใน​ที่สุด.​.​.​”​ ​ พระ​บรม​ราโชวาท ​ใน​พิธี​พระราชทาน​ปริญญาบัตร​ของ ​มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร ​ณ ​หอประชุม​ มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร ​วันพฤหัสบดี​ที่ ​1​8​ ​กรกฎาคม ​พ.​ศ.​ ​2​5​1​7​ ​ “​.​.​.​คน​อื่น​จะ​วา​อยางไร​ก็ชาง​เขา​จะ​วา​เมืองไทย​ลาสมัย ​วา​เมืองไทย​เชย ​วา​เมืองไทย​ไมมี​สิ่ง​ใหม​แต​เรา​ อยู ​อยาง​พอมีพอกิน ​และ​ขอ​ให​ทุกคน​มี​ความ​ปรารถนา​ที่​จะ​ให​เมืองไทย​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ ​ชวย​กัน​รักษา​ สวนรวม ​ให​อยู​ที่​พอสมควร ​ขอ​ย้ำ�​พอควร ​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ​ไม​ให​คน​อื่น​มา​แยง​คุณสมบัติ​นี้​ไป​จาก​เรา​ได.​.​.​”​ ​พระ​ราช​กระ​แส​รับสั่ง​ใน​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง​แก​ผู​เขาเฝา​ถวายพระพร​ชัย​มงคล ​เนื่อง​ใน​วัน​เฉลิม​พระ​ ชนมพรรษา ​“​ ​การ​จะ​เปน​เสือ​นั้น​มัน​ไม​สำ�คัญ ​สำ�คัญ​อยู​ที่​เรา​พอ​อยู​พอ​กิน ​และ​มี​เศรษฐกิจ​การ​เปน​อยู​แบบ​พอมีพอ กิน ​แบบ​พอมีพอกิน ​หมายความวา ​อุมชู​ตัวเอง​ได ​ให​มี​พอเพียง​กับ​ตัวเอง”​
  10. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน (ทช 21001)​12 ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุมกันมีเหตุผล เงื่อนไข​ความรู (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไข คุณธรรม (ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบง​เปน) ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สมดุล มั่นคง ยั่งยืน ​ พระ​ราช​ดำ�รัส ​“​เศรษฐกิจ​แบบ​พอเพียง”​ ​พระบาท​สมเด็จพระปร​มินทร​มหา​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช ​พระราชทาน​ เมื่อ​วัน​ที่ ​4​ ​ธันวาคม ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​ จาก​พระ​ราช​ดำ�รัส​ดังกลาว​ขางตน ​ ​จะ​เห็น​ได​วา ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​เปน​ปรัชญา​ที่​ยึดหลัก​ทาง​สายกลาง ​ ที่​ชี้​แนวทาง​การ​ดำ�รง​อยู​และ​ปฏิบัติ​ของ​ประชาชน​ใน​ทุก​ระดับ ​ตั้ง​แต​ระดับ​ครอบครัว​ไป​จน​ถึง​ระดับ​รัฐ ​ทั้ง​ใน​ การ​พัฒนา​และ​บริหาร​ประเทศ ​ให​ดำ�เนิน​ไป​ในทาง​สายกลาง ​มี​ความ​พอเพียง ​และ​มี​ความ​พรอม​ที่​จะ​จัดการ​ตอ​ผล​ กระทบ​จาก​การ​เปลี่ยน​แปลง​ทั้ง​ภายนอก​และภาย​ใน ​ซึ่ง​จะ​ตอง​อาศัย​ความ​รอบรู ​รอบคอบ ​และ​ระมัดระวัง ​ใน​การ​ วาง​แผน​และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไม​ใช​เพียง​การ​ประหยัด ​แต​เปนการ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุล​ และ​ยั่งยืน ​เพื่อ​ให​สามารถ​อยู​ได​แม​ใน​โลก​โลกาภิวัตน​ที่​มี​การ​แขงขัน​สูง ​ ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ทรง​ปรับปรุง​พระราชทาน​เปน​ที่มา​ของ​นิยาม ​“​3​ ​หวง ​2​ ​เงื่อนไข”​ ที่คณะ​อนุกรรมการ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สำ�นักงาน​คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ ​ นำ�มา​ใช​ใน​การ​รณรงค​เผย​แพร ​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ผาน​ชองทาง​ตาง ​ๆ​ ​อยู​ใน​ปจจุบัน ​ซึ่ง​ประกอบดวย​ ความ ​“​พอประมาณ ​มี​เหตุผล ​มี​ภูมิ​คุม​กัน”​ ​บน​เงื่อนไข ​“​ความรู ​และ ​คุณธรรม”​ จาก​ภาพ​ดานบน 3 หวง ประกอบดวย ความ​พอประมาณ หมายถึง ความ​พอดี ที่​ไม​นอยเกินไป และ​ไมมาก​เกินไป​โดย​ไม​เบียดเบียน​ตน​เอง​ และ​ผูอื่น ความ​มี​เหตุผล หมายถึง การ​ตัดสินใจ​เกี่ยวกับ​ระดับ​ของ​ความ​พอ​เพียงนั้น จะ​ตอง​เปนไป​อยาง​มี​ เหตุผล โดย​พิจารณา​จาก​เหตุ​ปจจัย​ที่​เกี่ยวของ ตลอดจน​คำ�นึงถึง​ผล​ที่​คาดวา​จะ​เกิดขึ้นจา​การ​กระทำ�​นั้นๆ​ อยาง​ รอบคอบ
  11. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอนตน (ทช 21001)​ 13 มี​ระบบ​ภูมิ​คุม​กันที่​ดี​ใน​ตัวเอง หมายถึง การ​เตรียมตัว​ให​พรอม​รับ​ผล​กระทบ​และ​การ​เปลี่ยนแปลง​ดาน​ ตางๆ ​ที่จะ​เกิดขึ้น​โดย​คำ�นึงถึง​ความ​เปนไปได​ของ​สถานการณ​ตางๆ​ที่​คาดวา​จะ​เกิดขึ้น​ใน​อนาคต​ทั้ง​ใกล​และ​ไกล 2 เงื่อนไข ประกอบดวย เงื่อนไข​ความรู ประกอบดวย ความ​รอบรู​เกี่ยวกับ​วิชาการ​ตางๆ​ที่​เกี่ยวของ​อยาง​รอบดาน ความ​ รอบคอบ ที่จะ​นำ�​ความรู​เหลานั้น​มา​พิจารณา​ให​เชื่อมโยง​กัน เพื่อ​ประกอบการ​วางแผน​และ​ความ​ระมัดระวัง​ใน​ ขึ้น​ปฏิบัติ เงื่อนไข​คุณธรรม​ที่จะ​ตอง​เสริมสราง​ประกอบดวย​มี​ความตะ​หนัก​ใน​คุณธรรม มี​ความ​ซื่อสัตย​สุจริต มี​ความ​อดทน มี​ความ​เพียร ใช​สติปญญา​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​ไม​โลภ และ​ไม​ตระหนี่ อภิชัย พัน​ธเสน ผู​อำ�นวยการ​สถาบัน​การ​จัดการ​เพื่อ​ชนบท​และ​สังคม ได​จัด​แนวคิด​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง วา​เปน “ขอเสนอ​ใน​การ​ดำ�เนิน​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ตาม​แนวทาง​ของ​พุทธธรรม​อยาง​แทจริง” ทั้งนี้​เนื่องจาก​ใน​ พระ​ราช​ดำ�รัส​หนึ่ง ได​ให​คำ�​อธิบาย​ถึง เศรษฐกิจ​พอเพียง วา “คือ​ความ​พอประมาณ ซื่อตรง ไม​โลภมาก และ​ตอง​ ไม​เบียดเบียน​ผูอื่น” ระบบ​เศรษฐกิจ​พอเพียง มุงเนน​ให​บุคคล​สามารถ​ประกอบ​อาชีพ​ได​อยาง​ยั่งยืน และ​ใช​จายเงิน​ให​ได​ มา​อยาง​พอเพียง​และ​ประหยัด ตามกำ�ลัง​ของ​เงิน​ของ​บุคคล​นั้น โดย​ปราศจาก​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน และ​ถา​มี​เงิน​เหลือ ก็​แบง​เก็บ​ออมไว​บางสวน ชวยเหลือ​ผูอื่น​บางสวน และ​อาจจะ​ใชจาย​มา​เพื่อ​ปจจัย​เสริม​อีก​บางสวน (ปจจัย​เสริม​ ในที่นี้​เชน ทองเที่ยว ความ​บันเทิง เปนตน) สาเหตุ​ที่​แนวทาง​การ​ดำ�รงชีวิต​อยาง​พอเพียง ได​ถูก​กลาว​ถึง​อยาง​ กวางขวาง​ใน​ขณะนี้ เพราะ​สภาพ​การ​ดำ�รงชีวิต​ของ​สังคม​ทุนนิยม​ใน​ปจจุบัน​ได​ถูก​ปลูกฝง สราง หรือ​กระตุน ให​เกิด​การ​ใชจาย​อยาง​เกินตัว ใน​เรื่อง​ที่​ไม​เกี่ยวของ​หรือ​เกิน​กวา​ปจจัย​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต เชน การ​บริโภค​เกินตัว ความ​บันเทิง​หลากหลาย​รูปแบบ ความ​สวย​ความ​งาม การ​แตงตัว​ตามแฟชั่น การ​พนัน​หรือ​เสี่ยงโชค เปนตน จน​ทำ�ให​ไมมีเงิน​เพียงพอ​เพื่อ​ตอบสนอง​ความ​ตองการ​เหลานั้น สงผลให​เกิด​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน เกิด​เปน​วัฏจักร​ที่​ บุคคล​หนึ่ง​ไม​สามารถ​หลุด​ออกมา​ได ถา​ไม​เปลี่ยน​แนว​ทางใน​การ​ดำ�รงชีวิต
  12. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน (ทช 21001)​14 13 นัก​คิด​ระดับโลก​เห็นดวย​กับ​แนวทาง​เศรษฐกิจ​พอเพียง และ​มี​การ​นำ�เสนอ​บทความ บท​สัมภาษณ เปนการ​ยื่น​ขอเสนอ​แนวคิด​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ให​แก​โลก เชน ศ. ดร.​วูลฟกัง ​ซัคส นัก​วิชาการ​ดาน​สิ่งแวดลอม​ คน​สำ�คัญ​ของ​ประเทศ​เยอรมนี สนใจ​การ​ประยุกต​ใช​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​อยาง​มาก และ​มองวา​นา จะเปน​อีก​ทางเลือก​หนึ่ง​สำ�หรับ​ทุก​ชาติ​ใน​เวลานี้ ทั้ง​มี​แนวคิด​ผลักดัน​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ให​เปนที่​รูจัก​ใน​เยอรมนี, ศ. ดร.อ​มาต​ยา เซน ศาสตราจารย​ชาว​อินเดีย เจา​ของรางวัล​โนเบล​สาขา​เศรษฐศาสตร ป 1998 มองวา ปรัชญา​ เศรษฐกิจ​พอเพียง​เปนการ​ใช​สิ่ง​ตางๆ ที่​จำ�​เปนตอ​การ​ดำ�รงชีพ และ​ใช​โอกาส​ให​พอเพียง​กับ​ชีวิต​ที่​ดี ซึ่ง​ไมได​ หมายถึง​ความ​ไม​ตองการ แต​ตอง​รูจัก​ใชชีวิต​ให​ดี​พอ อยา​ให​ความ​สำ�คัญกับ​เรื่อง​ของ​รายได​และ​ความ​ร่ำ�รวย แต​ให​มอง​ที่​คุณคา​ของ​ชีวิต​มนุษย,นาย​จิก​มี ​ทินเลยนายกรัฐมนตรี​แหง​ประเทศ​ภูฏานให​ทรรศนะ​วา หาก​ประเทศ​ ไทย​กำ�หนด​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ให​เปน​วาระ​ระดับชาติ และ​ดำ�เนิน​ตาม​แนว​ทางนี้​อยาง​จริงจัง “ผม​วา​ประเทศ​ ไทย​สามารถ​สราง​โลก​ใบ​ใหม​จาก​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียงสราง​ชีวิต​ที่​ยั่งยืนและ​สุดทาย​จะ​ไมหยุด​เพียงแค​ ในประเทศ แต​จะ​เปน​หลักการ​และ​แนวปฏิบัติ​ของโลก ซึ่ง​หาก​ทำ�ได​สำ�เร็จ ไทย​ก็​คือ​ผูนำ�” ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงนี้ ไดรับ​การ​เชิดชู​สูงสุด​จาก​องคการ​สหประชาชาติ (UN) โดย​นาย​โคฟ อันนัน ใน​ฐานะ​เลขาธิการ​องคการ​สหประชาชาติ ได​ทูลเกลาฯ​ถวาย​รางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แก​พระบาท​สมเด็จ​พระเจาอยูหัว เมื่อ​วันที่ 26 พฤษภาคม 2549 และ​ได​มี​ปาฐกถา​ถึง​ปรัชญา​ เศรษฐกิจ​พอเพียง วา​เปน​ปรัชญา​ที่​มี​ประโยชน​ตอ​ประเทศ​ไทย​และ​นานาประเทศ และ สามารถ​เริ่ม​ได​จาก​การ​ สราง​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตน​เอง สู​หมูบาน และ​สู​เศรษฐกิจ​ใน​วงกวาง​ขึ้น​ในที่สุด นาย Håkan Björkman รักษาการ​ผู​ อำ�นวยการ UNDP ในประเทศ​ไทย​กลาว​เชิดชู​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง และ UNDP นั้น​ตระหนักถึง​วิสัยทัศน​ และ​แนวคิด​ใน​การ​พัฒนา​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจาอยูหัวฯ โดย​ที่​องคการ​สหประชาชาติ​ได​สนับสนุน​ให​ ประเทศ​ตาง ๆ ที่​เปนสมาชิก 166 ประเทศ​ยึด​เปน​แนวทาง​สู​การ​พัฒนา​ประเทศ​แบบ​ยั่งยืน
  13. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอนตน (ทช 21001)​ 15 สาระสำ�คัญ ผูเรียนศึกษาการนำ�​หลักการ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ใชใน​ประเทศ​ไทย และ​นอก​ประเทศ ตลอดจนเปน การ​ศึกษา​การนำ�​วิธี​การของเศรษฐกิจ​พอเพียง​​มาประยุกต​ใชกับ​ชีวิต​ประจำ�​วัน ใน​เรื่อง​ของการ​ประกอบอาชีพ​ อยาง​พอเพียง ผลการเรียนที่​คาดหวัง 1. ผูเรียน​นำ�​หลักปรัชญาเศรษฐกิจ​พอเพียงไป​ใชในการจัด​ทรัพยากร ที่มีอยู​ของ​ตน​เอง ครอบครัว​ ชุมชน 2. ผูเรียน​สามารถ​กำ�หนด​แนวทาง​ และ​ปฏิบัติ​ตน​ในการนำ�หลักปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ ใชในการ​ประกอบอาชีพ ขอบขายเนื้อหา เรื่อง​ที่ 1 การนำ�​หลักปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใชใน​ประเทศ​ไทย เรื่อง​ที่ 2 การนำ�​หลั​กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง​ไป​ใชใน​ตาง​ประเทศ เรื่อง​ที่ 3 การนำ�​วิธี​ของเศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ประยุกต​ใชกับ​ชีวิต​ประจำ�​วัน​ บ​ทที่ 2 การ​ประกอบอาชีพ​อยาง​พอเพียง
  14. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน (ทช 21001)​16 เรื่อง​ที่ 1 การนำ�​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใช​ในประเทศ​ไทย ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงนี้ ถูก​ใช​เปน​กรอบ​แนวความคิด​และ​ทิศทาง​การ​พัฒนา​ระบบ​เศรษฐกิจม​ห​ภาค​ ของ​ไทยซึ่ง​บรรจุ​อยู​ในแผน​พัฒนา​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติฉบับ​ที่10(พ.ศ.2550-2554)เพื่อ​มุงสู​การ​พัฒนา​ ที่​สมดุล ยั่งยืน และ​มี​ภูมิ​คุมกัน เพื่อ​ความ​อยู​ดี​มี​สุข มุงสู​สังคม​ที่​มี​ความ​สุข​อยาง​ยั่งยืน หรือ​ที่​เรียกวา “สังคม​สีเขียว” ดวย​หลักการ​ดังกลาว แผน​พัฒนาฯ ฉบับ​ที่ 10 นี้​จะ​ไม​เนน​เรื่อง​ตัวเลข​การ​เจริญ​เติบโต​ทาง​เศรษฐกิจ แต​ยังคง​ให​ ความ​สำ�คัญตอ​ระบบ​เศรษฐกิจ​แบบ​ทวิ​ลักษณ หรือ​ระบบ​เศรษฐกิจ​ที่​มี​ความ​แตกตางกัน​ระหวาง​เศรษฐกิจ​ชุมชน เมือง​และ​ชนบท แนว​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ยัง​ถูก​บรรจุ​ใน​รัฐธรรมนูญ​ของ​ไทย เชน รัฐธรรมนูญ​แหง​ราชอาณาจักร​ ไทย พุทธศักราช 2550ใน​สวน​ที่ 3 แนวนโยบาย​ดาน​การ​บริหาร​ราชการ​แผนดิน มาตรา 78 (1) บริหาร​ราชการ​ แผนดิน​ใหเปนไป​เพื่อ​การ​พัฒนา​สังคม เศรษฐกิจ และ​ความ​มั่นคง ของ​ประเทศ​อยาง​ยั่งยืน โดย​ตอง​สงเสริม​การ​ ดำ�เนินการ​ตาม​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​และ​คำ�นึงถึง ผล​ประโยชน​ของ​ประเทศชาติ​ใน​ภาพรวม​เปนสำ�คัญ ปญหา​หนึ่ง​ของ​การนำ�​ปรัญ​ชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใช​ก็​คือ ผู​นำ�ไปใช​อาจ​ยัง​ไมได​ศึกษา​หรือไม​มี ความรู​เพียงพอ ทั้ง​ยัง​ไมกลา​วิเคราะห​หรือ​ตั้งคำ�ถาม​ตอตัว​ปรัชญา เนื่องจาก​เปน​ปรัชญา​ของ​พระมหากษัตริย นาย​สมเกียรติ ออน​วิมล เรียก​สิ่ง​นี้​วา “วิกฤต​เศรษฐกิจ​พอเพียง” โดย​นาย​สมเกียรติ​มี​ความ​เห็นวา ผู​นำ�ไปใช​อาจ​ ไม​รูวา​ปรัชญา​นี้​แทจริง​คือ​อะไร ซึ่ง​อาจ​เพราะ​สับสน​วา เศรษฐกิจ​พอเพียง​กับ​ทฤษฎี​ใหม​นั้น​เปนเรื่อง​เดียวกัน ทำ�ให​เขาใจผิด​วา เศรษฐกิจ​พอเพียง​หมายถึง​การ​ปฏิเสธ​อุตสาหกรรม​แลว​กลับ​ไป​สู​เกษตรกรรม ซึ่ง​เปนความ​ เขาใจ​ที่​ผิด การ​ประยุกต​นำ�​หลัก​ปรัชญา​เพื่อ​นำ�​พัฒนา​ประเทศ​ใน​ตางประเทศ​นั้น ประเทศ​ไทย​ได​เปน​ศูนยกลาง​ การ​แลกเปลี่ยน ผาน​ทาง​สำ�นักงาน​ความ​รวมมือ​เพื่อ​การ​พัฒนา​ระหวาง​ประเทศ (ส​พร.) โดย ส​พร.มี​หนาที่ คอย​ ประสานงาน​รับ​ความ​ชวยเหลือ​ทาง​วิชาการ​ดาน​ตาง ๆ จาก​ตางประเทศ​มาสู​ภาครัฐ แลว​ถายทอด​ตอไป​ยัง​ภาค​ ประชาชน และ​ยัง​สงผาน​ความรู​ที่​มี​ไป​ยัง​ประเทศ​กำ�ลัง​พัฒนา​อื่น ๆ เรื่อง​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงนั้น ส​พร. ถายทอด​มา​ไม​ต่ำ�กวา 5 ป ประสานกับ​สำ�นักงาน​คณะกรรมการ​พิเศษ​เพื่อ​ประสานงาน​โครงการ​อัน​เนื่อง​มาจาก​ พระ​ราช​ดำ�ริ (กปร.) และ​คณะ​อนุกรรมการ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง ซึ่ง​ตางชาติ​ก็​สนใจ​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง เพราะ​พิสูจน​แลว​วา​เปน​สิ่ง​ที่​ดี​และ​มี​ประโยชน ซึ่ง​แตละ​ประเทศ​มี​ความ​ตองการ​ประยุกต​ใช​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​ พอเพียง​ไม​เหมือนกัน ขึ้นอยู​กับ​วิถี​ชีวิต สภาพ​ภูมิศาสตร ฯลฯ เชน พมา ศรีลังกา เลโซโท ซูดาน อัฟกานิสถาน บังกลาเทศ ภูฏาน จีน จิบูตี โคลัมเบีย อียิปต เอธิโอเปย แกมเบีย อินโดนีเซีย เคนยา เกาหลีใต มาดากัสการ มัลดีฟ ส ปาปวนิวกินี แทนซาเนีย เวียดนาม ฯลฯ โดย​ได​ให​ประเทศ​เหลานี้​ได​มา​ดูงาน ใน​หลาย​ระดับ ทั้ง​เจาหนาที่​ ปฏิบัติ​งาน เจาหนาที่​ฝาย​นโยบาย จนถึง​ระดับ​ปลัด​กระทรวง รัฐมนตรี​กระทรวง​ตาง ๆ เรื่อง​ที่ 2 การนำ�​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใช​ในตางประเทศ
  15. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอนตน (ทช 21001)​ 17 นอกจากนั้นอดิ​ศักดิ์ ภาณุ​พงศ เอกอัครราชทูต​ไทย​ประจำ�​กรุง​เวียนนา ประเทศ​ออสเตรีย ได​กลาว​วา ตางชาติ​สนใจ​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง เนื่องจาก​มาจาก​พระ​ราช​ดำ�ริ​ใน​พระบาท​สมเด็จ​พระเจาอยูหัว​ที่​ทรง​หวงใย​ ราษฎร​ของ​พระองค และ​อยาก​รูวา​ทำ�ไม​รัฐบาล​ไทย​ถึง​ได​นำ�มา​เปน​นโยบาย สวน​ประเทศ​ที่​พัฒนา​แลวก็​ตองการ​ ศึกษา​พิจารณา​เพื่อ​นำ�ไป​ชวยเหลือ​ประเทศ​อื่น ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไมใช​ปรัชญา​ที่​ใชได​เฉพาะ​ครอบครัว​หรือ​ชุมชน​เทานั้น แต​เปน​ปรัชญา​ ที่​สามารถ​นำ�มา​ประยุกต​ใชได​กับ​สังคม​โดย​รวม การ​จะ​ดำ�รงชีวิต​อยู​ได​ตามหลัก การ​พื้นฐาน​ของ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง นั้น สมาชิก​จำ�เปน​ที่จะ​ตอง​เขาใจ สภาพ​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สังคม​โลก ที่​เกิดขึ้น​อยาง​รวดเร็ว​ตาม​อิทธิพล​ของ​ กระแส​โลกาภิวัตน ควบคู​ไป​กับ​การ​พยายาม​หา​หนทาง​หรือ​วิธีการ ที่จะ​ดำ�รงชีวิต​ตาม​หลักการ​พื้นฐาน​ของ​ เศรษฐกิจ​พอเพียง​ให​ดำ�เนิน​ไป ได​อยาง​สมดุล​และ​สอดคลองกับ​สภาพแวดลอม​ใน​ยุค​โลกาภิวัตน โดย​อาศัย​ ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เปนตัว​สราง​ภูมิ​คุมกัน​ตอ​ผล กระทบ​ที่​ชุมชน​อาจจะ​ไดรับ​จาก​กระแส​โลกาภิวัตน ไม​ให​กระแส​เหลานั้น​เขามา​ทำ�ลาย​เอกลักษณ​และ​วัฒนธรรม​ชุมชน จน​ชุมชน​ตอง​ลมสลาย​ไป ดังนั้น เพื่อให​สามารถ​ดำ�เนินการ​ได​ตาม​แนวทาง​ขางตน จึง​จำ�เปน​ที่จะ​ตอง​เขาใจ ปฏิสัมพันธ​ระหวาง​ กระแส​โลกาภิวัตน​กับ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​กอน โดย​การ​ทบทวน​หรือ​มอง​ยอนกลับไป​ถึง​วิกฤต​เศรษฐกิจ​ที่​เกิดขึ้น​ ใน​ป ๒๕๔๐ อันเปน​เหตุการณ​ที่​แสดงใหเห็น​ถึง​ผล​กระทบ​ทั้ง​ทาง​ดาน​เศรษฐกิจ​และ​สังคม กระแส​โลกาภิวัตน คือ​กระบวนการ​เชื่อม​และ​ใช​โลก​รวมกัน อยาง​ใบ​เดียวกัน อยาง​ถึงกัน​และ​มี​ระบบ​ แบบแผน ที่​สำ�คัญ โลกาภิวัตน ดาน​หนึ่ง​คือ​ความ​เปน​โลก​น้ำ�หนึ่ง​ใน​การ​รับรู​เรื่องราว​กัน​และ​กัน แต​อีก​ดาน​หนึ่ง​ ก็​คือ​กระบวนการ​ถูก​ทำ�ให​รับรู ถูก​ทำ�ให​เคลื่อน​และ​คลอยตาม โดยเฉพาะ​ใน​เปาหมาย​ดาน​เศรษฐกิจ​ซึ่ง​คอน​เร็ว แรง​และ​ตอเนื่อง ผาน​ระบบ​การ​สื่อสาร​ตางๆ ที่​ถูก​พัฒนา​ดวย​เทคโนโลยี ทำ�ให​ปจจุบัน​นี้ ไมมี​พื้น​ที่ใด​ใน​โลก​ที่​ รอดพน​จาก​อิทธิพล​นี้​ทั้ง​ในดาน​เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ​วัฒนธรรม การนำ�​วิธี​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ประยุกต​ใชกับ​ชีวิต​ประจำ�วัน การนำ�​วิธีการ​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ประยุกต​ใช​ใน​ระดับ​บุคคล​ทั่วไป คือ ความ​สามารถ​ใน​การ​ดำ�รง ชีวิต​อยาง​ไม​เดือดรอน มี​ความ​เปนอยู​อยาง​ประมาณตน​ตามฐานะ โดย​สามารถ​เลี้ยง​ตัวเอง​ได​บน​พื้นฐาน​ของ​การ​ ประหยัด เรื่อง​ที่ 3 การนำ�​วิธี​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ประยุกต​ใชกับชีวิต​ประจำ�​วัน
  16. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน (ทช 21001)​18 ตัวอยาง ทรง​พล​นำ�​หลัก​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ประยุกต​ใช​ใน​ครอบครัว​ของ​ตน​เอง​เก็บ​ออมเงิน​สวน​ที่เหลือ​จาก​ การ​บริโภค​ไว​ใชจาย​ใน​อนาคต เชน​คารักษา​พยาบาล นำ�​น้ำ�​ที่​ผาน​การ​ใชแลว​ใน​ครัวเรือน​มารด​พืช​ผักสวนครัว​ ปลูก​ผักสวนครัว​ลดคา​ใชจาย​นำ�​เงิน​จาก​การ​ขาย​พืช​ผักสวนครัว​และ​หมู ไป​ซื้อ​สินคา​และ​บริการ​ที่​สมาชิก​ใน​ครัว เรือน​ตองการ​และ​มี​ความ​จำ�เปน​ใน​การ​อุปโภค​บริโภค​นำ�​พืช​ผักสวนครัว​ที่​เพราะ​ปลูก​ได​มา​บริโภค บางสวน​นำ� ไป​ขาย​ที่​ตลาดสวน​ที่เหลือ​นำ�ไป​เลี้ยง​หมู​นำ�​เงิน​สวนหนึ่ง​มา​ใชจาย​ใน​การ​รักษา​พยาบาล​เมื่อ​เจ็บปวย​และ​นำ�มา​ซื้อ​ เมล็ดพืช เพื่อ​เพาะปลูก ทรง​พล​นำ�​หลัก​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ประยุกต​ใช​ใน​ครอบครัว​ของ​ตน​เอง​ดังนี้ 1. ปลูก​ผักสวนครัว​ลดคา​ใชจาย 2. นำ�​น้ำ�​ที่​ผาน​การ​ใชแลว​ใน​ครัวเรือน​มารด​พืช​ผักสวนครัว 3. นำ�​พืช​ผักสวนครัว​ที่​เพราะ​ปลูก​ได​มา​บริโภค บางสวน​นำ�ไป​ขาย​ที่​ตลาด สวน​ที่เหลือ​นำ�ไป​เลี้ยง​หมู 4. นำ�​เงิน​จาก​การ​ขาย​พืช​ผักสวนครัว​และ​หมู​ไป​ซื้อ​สินคา​และ​บริการ​ที่​สมาชิก​ใน​ครัวเรือน​ตองการ​ และ​มี​ความ​จำ�เปน​ใน​การ​อุปโภค​บริโภค 5. เก็บ​ออมเงิน​สวน​ที่เหลือ​จาก​การ​บริโภค​ไว​ใชจาย​ใน​อนาคต เชน​คารักษา​พยาบาล 6. นำ�​เงิน​สวนหนึ่ง​มา​ใชจาย​ใน​การ​รักษา​พยาบาล​เมื่อ​เจ็บปวย​และ​นำ�มา​ซื้อ​เมล็ดพืช เพื่อ​เพาะปลูก ตัวอยาง​อีก​แนว​หนึ่ง​ของ​การ​ประกอบ​อาชีพ​แบบ​เศรษฐกิจ​พอเพียง แนวทาง​การ​ทำ�การ​เกษตร​แบบ​เศรษฐกิจ​พอเพียง โดย​เนน​หา​ขาว​หา​ปลา​กอน​หาเงิน​หา​ทอง คือ ทำ�มา หากิน​กอน​ทำ�มาคาขาย​ดังนี้ 1. การ​ทำ�​ไรนาสวนผสม​และ​การ​เกษตร​ผสม​ผสาน​เพื่อให​เกษตรกร​พัฒนา​ตน​เอง​แบบ​เศรษฐกิ​พอเพียง 2. การ​ปลูกพืช​ผักสวนครัว​ลดคา​ใชจาย 3. การ​ทำ�​ปุยหมัก​ปุยคอก​และ​ใช​วัสดุ​เหลือใช​เปน​ปจจัย​การ​ผลิต(ปุย)เพื่อ​ลดคา​ใชจาย​และ​บำ�รุง​ดิน 4. การ​เพาะ​เห็ด​ฟาง​จาก​วัสดุ​เหลือใช​ใน​ไรนา 5. การ​ปลูก​ไมผล​สวน​หลังบาน และ​ไม​ใชสอย​ใน​ครัวเรือน 6. การ​ปลูก​พืชสมุนไพร ชวย​สงเสริม​สุขภาพ​อนามัย 7. การ​เลี้ยง​ปลา​ใน​รองสวน ใน​นา​ขาว​และ​แหลงน้ำ� เพื่อ​เปน​อาหาร​โปรตีน​และ​รายได​เสริม 8. การ​เลี้ยง​ไก​พื้นเมือง และ​ไก​ไข ประมาณ 10-15 ตัวตอ​ครัวเรือน​เพื่อ​เปน​อาหาร​ใน​ครัวเรือน โดย​ใช​ เศษอาหาร รำ� และ​ปลายขาว​จาก​ผล​ผลิต​การ​ทำ�นา ขาวโพด​เลี้ยง​สัตว​จาก​การ​ปลูก​พืชไร เปนตน 9. การ​ทำ�​กาซ​ชีวภาพ​จาก​มูลสัตว
  17. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอนตน (ทช 21001)​ 19 กิจกรรม กิจกรรม​ที่ 1 แบงกลุม​ผูเรียน​ตาม​ความ​สนใจ กลุม​ละ 5 คน แลว​ดำ�เนินการ​ดัง​ตอไปนี้ 1. ใน​แตละ​กลุม​ระดม​ความคิด ใน​ประเด็น “การนำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ ชีวิต” แลว​เลือก​นำ�เสนอ​เพียง​หัวขอ​เดียว​วา กลุม​ของ​ตน​สามารถ​นำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใช​ใน​การ​ ดำ�เนิน​ชีวิต​ได​อยางไร เชน การ​ประหยัด​คา​ใชจาย การ​พึ่ง ตน​เอง ความ​มี​เหตุผล และ​การ​ดำ�รงชีวิต​ตาม อัตภาพ เปนตน 2. ให​ผูเรียน​แตละ​กลุม​เสนอ​แนวทาง​การ​เผยแพร​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำ�​ วันหนา​ชั้นเรียน กลุม​ละ 3-5 นาที โดย​ให​ผูเรียน​และ​ผูสอน​รวม​ประเมิน แนวทาง​การ​เผยแพรฯ วา​เหมาะสม​ หรือ​ควร​แกไข​อยางไร เชน การ​เผยแพร​โดย​ใช​ปาย​โปสเตอร แผนพับ และ​การ​ประชา​สัมพันธ​ทาง Internet เปนตน 3. ผูเรียน​แตละ​กลุม​นำ�​แนวทาง​การ​เผยแพร​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต ไป​เผยแพร​ใน​สถานศึกษา​และ​ชุมชน​ใกล​สถานศึกษา 4. ศึกษา​คนควา​เรื่อง“เกษตร​ทฤษฎี​ใหม”แลว​จัดทำ�​แบบจำ�ลอง“เกษตร​ทฤษฎี​ใหม”กลุม​ละ1ชิ้น กิจกรรม​ที่ 2 แบงกลุม​ผูเรียน​ตาม​ความ​สนใจ หอง​ละ 4-5 กลุม ให​แตละ​กลุม​เขียน​บทความ เรื่อง “การ​ดำ�เนินชีวิต​ตามหลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง”แลว​ดำ�เนินการ​เผยแพรใน​สถานศึกษา​และ​ชุมชนโดย 1. กลุม​ที่ 1 ทำ�​แผนพับ​แจก​ใน​สถานศึกษา​และ​ชุมชน 2. กลุม​ที่ 2 ทำ� โปสเตอร​ติด​ใน​สถานศึกษา หรือ​ใน​ศูนย​การ​เรียนรู​ใน​ชุมชน​ใกลเคียง 3. กลุม​ที่ 3 เขียน​บทความ​แลว​นำ�มา​อาน​หนา​ชั้นเรียน แลว​คัดเลือก​บทความ​ดีเดน​อาน​ใน​หอง เรียน หรือ​ออก​รายการ​ของ​วิทยุ​หรือ​หอ​กระจายขาว​ของ​ชุมชน กิจกรรม​ที่ 3 ให​ผูเรียน​แตละคน​ออก​แบบแผนผัง​การ​จัดการ​แบง​พื้นฐาน​ที่ดิน​ตาม​ทฤษฎี​ใหม พรอมทั้ง​สรุป หลักการ​และ​ขั้นตอน​ของ​ทฤษฎี​ใหม​พอสังเขป​ลง​ใน​กระดาษ​ขาว​ขนาด 4F แลว​นำ�ไป​ติด​ที่​ปาย​นิเทศ​หนา​ สถานศึกษา ให​ผู​สนใจใน​สถานศึกษา​และ​ใน​ชุมชน​ได​เรียนรู และ​ผูสอน​เลือก​แผนที่​สวยงาม​ลง​ใน​วารสาร​ ของ​สถานศึกษา​เพื่อ​เผยแพร​ใน​วงกวาง​ตอไป
  18. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอนตน (ทช 21001)​ 21 สาระสำ�คัญ ผูเรียน​มัก​เขาใจ​วา​การ​ประกอบอาชีพ​ตาม​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง เปน​แค​เรื่อง​ของเกษตรกร แต​จริง​แลว​ ผู​ประกอบอาชีพ​อื่นๆ ตล​อด​จน​ขาราชการ​ก็​สามารถ​นำ�แนว​พระราชดำ�รัส​เศรษฐกิจ​พอเพียง ไป​ประยุกตใชในการ​ วาง​แผนการ​ประกอบอาชีพ​ตางๆ โดย​ประชาชน​จะ​ตอง​ไมใช​จาย​ฟุมเฟอย​เกินตัว จึง​จะ​ถือวา​ประพฤติ​ตน​โดย​ การ​วาง​แผนการ​ประกอบอาชีพ อยู​ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ตาม​แนว​พระราชดำ�ริ ผลการเรียนที่​คาดหวัง 1. ผูเรียน​สามารถ​นำ�​ความรูจากการเรียน​ไป​ใชในการ​วาง​แผน การ​ประกอบอาชีพ ตาม​ปรัชญา​ของ เศรษฐกิจ​พอเพียง 2. ผูเรียน​สามารถ​นำ�​ความรูจา​กการเรียน​โดย​​สามารถจัด​ทำ�โครง​งาน​ตาม​แผนงาน​ที่วางไว​ได​อยาง​ถูก ตอง​เหมาะสม ขอบขายเนื้อหา ​เรื่อง​ที่ 1 กรอบแนว​คิดเศร​ษฐกิจ​พอเพียง ​เรื่อง​ที่ 2 การ​ปฏิบัติ​ตน​ตาม​แนวทาง​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​เรื่อง​ที่ 3 ทฤษฎี​ใหม บ​ทที่ 3 การ​วาง​แผนการ​ประกอบอาชีพ​แบบพอเพียง​
  19. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ตน (ทช 21001)​22 ​.​.​.​​การ​ที่​ตองการ​ให​ทุกคน​พยายาม​ที่​จะ​หาความรู ​และ​สราง​ตน​เอง​ให​มั่นคง​นี้ ​เพื่อ​ตน​เอง ​เพื่อ​ที่​จะ​ให​ตัวเอง ​มี​ความ​เปน​อยู​ที่​กาวหนา ​ที่​มี​ความ​สุข ​พอมีพอกิน​เปน​ขั้น​หนึ่ง ​และ​ขั้น​ตอไป ​ก็​คือ​ให​มี​เกียรติ​วา​ยืน​ได​ดวย​ตัวเอง ​.​.​.​ ​ ตอมา​ได​พระราชทาน​พระ​ราช​ดำ�ริ​เพิ่มเติม​มา ​โดย​ตลอด ​เพื่อ​ให​เกษตรกร​ซึ่ง​เปน​คน​สวน​ใหญ​ของ​ ประเทศ​มี​ความ​แข็ง​แรง​พอ ​กอน​ที่​จะ​ไป​ผลิต​เพื่อ​การ​คา​หรือ​เชิง​พาณิชย ​โดย​ยึด​หลักการ ​“​ทฤษฎี​ใหม”​ ​ ​3​ ​ขั้น ​คือ ​ขั้น​ที่ ​1​ ​มี​ความ​พอเพียง ​เลี้ยง​ตัวเอง​ได​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​ประหยัด​และ​ขจัด​การ​ใชจาย ​ ขั้น​ที่ ​2​ ​รวม​พลัง​กัน​ใน​รูป​กลุม ​เพื่อ​การ​ผลิต ​การ​ตลาด ​การ​จัดการ ​รวม​ทั้ง​ดาน​สวัสดิการ ​การ​ศึกษา การ​พัฒนา​สังคม ​ ​ขั้น​ที่ ​3​ ​สราง​เครือขาย ​กลุม​อาชีพ​และ​ขยาย​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ที่​หลากหลาย ​โดย​ประสาน​ความ​รวม มือ​กับ​ภาค​ธุรกิจ ​ภาค​องคกร​พัฒนา​เอกชน ​และ​ภาค​ราชการ​ในดาน​เงินทุน ​การ​ตลาด ​การ​ผลิต ​การ​จัดการ​และ ​ขาวสาร​ขอมูล ​ ​สำ�หรับ​ใน​ภาค​อุตสาหกรรม ​ก็​สามารถ​นำ� ​“​เศรษฐกิจ​พอเพียง”​ ​มา​ประยุกต​ใชได ​คือ ​เนน​การ​ผลิต​ดาน​ การ​เกษตร​อยาง​ตอเนื่อง ​และ​ไม​ควร​ทำ�​อุตสาหกรรม​ขนาด​ใหญ​เกินไป ​เพราะ​หาก​ทำ�​อุตสาหกรรม​ขนาด​ใหญ ​ ก็​จะ​ตอง​พึ่งพิง​สินคา​วัตถุดิบ​และ​เทคโนโลยี​จาก​ตางประเทศ ​เพื่อ​นำ�มา​ผลิต​สินคา ​เรา​ตอง​คำ�นึง​ถึง​สิ่ง​ที่​มี​อยู​ใน ประเทศ​กอน ​จึง​จะ​ทำ�​ให​ประเทศ​ไม​ตอง​พึ่งพิง​ตางชาติ​อยาง​เชน​ปจจุบัน ​ดัง​นั้น ​เรา​จะ​ตอง​ชวยเหลือ​ประเทศ​ให​ มี​ความ​เขม​แข็ง ​ซึ่ง​พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว ​ได​เปน​ผู​จุดประกาย​ระบบ​เศรษฐกิจ​แบบ​พอเพียง ​ซึ่ง​จะ​เปนการ​ ชวย​ลด ​ปญ​หา​การ​นำ�เขา​วัตถุดิบ ​และ​ชิ้นสวน​ที่​เรา​นำ�มา​ใช​ใน​การ​ผลิต​ให​เปน​ลักษณะ​พึ่งพา ​ซึ่ง​มี​มา​แลว​เกือบ 2​0​ ​ป ​แต​ทุกคน​มองขาม​ประเด็น​นี้​ไป ​ตลอดจน​ไดรับ​ผล​จาก​ภายนอก​ประเทศ​ทำ�​ให​ประชาชน​หลงลืม ​และ​มัวเมา​ อยู​กับ​การ​เปน​นัก​บริโภค​นิยม ​รับ​เอา​ของ​ตางชาติ​เขามา​อยาง​ไมรูตัว ​และ​รวดเร็ว​จน​ทำ�​ให​เศรษฐกิจ​ของ​ไทย​ตกต่ำ� ​.​​.​​.​​พยายาม​ไม​กอ​ความ​ชั่ว​ให​เปน​เครื่อง​ทำ�ลาย​ตัว ​ทำ�ลาย​ผูอื่น ​พยายาม​ลด ​พยายาม​ละ​ความ​ชั่ว​ที่​ตัวเอง​มี​อยู ​พยายาม​กอ​ความ​ดี​ให​แกตัว​อยู​เสมอ ​พยายาม​รักษา ​และ​เพิ่มพูน​ความ​ดี​ที่​มี​อยู​นั้น ​ให​งอกงาม​สมบูรณขึ้น ​.​​.​​.​ “คน​สวนมาก​มัก​เขา​ใจ​วา ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เปนเรื่อง​ของ​เกษตรกร​ใน​ชนบท​เทา​นั้น ​แต​แท​ที่จริง ​ผู​ประกอบ​อาชีพ​อื่น ​เชน ​พอคา ​ขาราชการ ​และ​พนักงาน​บริษัท​ตางๆ​ ​สามารถ​นำ�​แนว ​พระ​ราช​ดำ�รัส​เศรษฐกิจ​พอ เพียง ​ไป​ประยุกต​ใชได​แตวา​พอ​เพียงนี้​มีความหมาย​กวางขวาง​ยิ่งกวา​นี้​อีก ​คือ ​คำ�​วา​พอ ​ก็​พอ​เพียงนี้​ก็​พอ​แค​นั้น​เอง ​ คน​เรา​ถา​พอ​ใจ​ใน​ความ​ตองการ​มัน​ก็​มี​ความ​โลภ​นอย ​เมื่อ​มี​ความ​โลภ​นอย​ก็​เบียดเบียน​ผูอื่น​นอย บท​ที่ 1 กรอ​บแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
Advertisement