SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ครูกับการพัฒนา อีคิว
เด็ก
ความรู้ความเข้าใจและทักษะในการเลี้ยงดูเด็ก
ครูมีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสม ต้องพัฒนาตนเองให้มี
ทักษะในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงให้ความใกล้ชิด มีเวลาพอเพียงที่จะอบรม ชี้แนะ ฝึกหัด
ให้กับเด็ก และควรศึกษาวิธีการเลี้ยงดูเด็กแต่ละวัยที่มีความแตกต่างกัน
การเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละวัย
ครูเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละวัยด้วยการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมที่มีส่วนพัฒนาเรื่องนี้ เช่น
พัฒนาการ สุขภาพจิต จิตวิทยา เป็นต้น เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อสร้างหรือจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับ
วัย วุฒิภาวะ ที่จะพัฒนาให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องจากวัยหนึ่งสู่วัยหนึ่ง หรือช่วงอายุหนึ่งสู่ช่วงอายุถัดไป
ตลอดจนความต่อเนื่องของการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ทั้งพ่อแม่ ครู บุคลากรสาธารณสุข และผู้เกี่ยวข้อง
การเป็ นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี
เด็กจะเรียนรู้และซึมซับจากแบบอย่างในการปฏิบัติของครู ดังนั้น การพัฒนาความฉลาดทาง
อารมณ์ตนเองของครู จึงส่งผลต่อการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก ให้เอื้อต่อการพัฒนาเด็ก
นอกจากนี้ครูยังมีส่วนช่วยเหลือให้เด็กที่มีอีคิวบกพร่องในบางด้านได้รับการปรับปรุงไปในแนวทางที่ดีขึ้น
และส่งเสริมอีคิวเด็กร่วมกับพ่อแม่ ในกิจกรรมต่างๆ ที่ครู สร้างหรือประยุกต์ขึ้น ทั้งในและนอกแผนการสอนที่มีอยู่
การพัฒนาเด็กแบบบูรณาการ
เป็นการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม คือ การพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
ไปพร้อม ๆ กัน โดยสอดแทรกการพัฒนาในกิจกรรมประจาวัน กิจกรรมบูรณาการ นอกจากนี้ยังสามารถจัดการเรียนรู้ให้
สอดคล้องกับวิถีในชุมชน และเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งรูปแบบ นิทานพื้นบ้าน ดนตรีและการละเล่นพื้นบ้าน
วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่น
การวางแผนการดูแล
ครู ควรมีความรู้เรื่องพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย ทั้งลักษณะธรรมชาติของเด็ก จุดเด่น ความสนใจ และความ
ต้องการของเด็กแต่ละคนและครอบครัว ครูจะต้องสังเกต ประเมินพัฒนาการของเด็กแต่ละคนให้บรรลุเป้าหมายของ
กิจกรรม เพื่อพิจารณาปรับเปลี่ยนการดูแลให้เหมาะสมกับเด็ก นอกจากนี้ควรกาหนดตารางเวลาประจาวันที่ปฏิบัติจนเป็น
กิจวัตร แต่สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ ครู ควรทาตามโปรแกรมการดูแลอย่างสม่าเสมอและมี
ปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กสัมผัสโอบกอดเพื่อให้เด็กได้รับการสัมผัสและความสนใจอย่างทั่วถึง และดูแลปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน
ให้ได้รับความปลอดภัย เช่น การรับประทานอาหาร การนอนหลับ การแต่งตัว การเข้าห้องน้าการล้างมือ
การติดตามและประเมินผล
การพัฒนาอีคิว ควรดาเนินควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และดาเนินการติดตามการจัด
กิจกรรมเป็นระยะ รวมทั้งมีการประเมินผลการพัฒนาความฉลาดของเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลายอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงวิธีการจัดกิจกรรมของครู และพัฒนาการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น
การบรูณาการกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กอายุ 2 - 5 ปี
การพัฒนาไอคิวและอีคิวเด็กอายุ 2 - 5 ปี สามารถบูรณาการใน กิจกรรมการเรียนรู้ 2 รูปแบบ
ได้แก่
1. บูรณาการในการทากิจวัตรประจาวัน ด้วยการที่ครู ให้เด็กทากิจวัตรประจาวันตามหลักการพัฒนาอี
คิวเด็กตามวัย ได้แก่
 การฝึกหัดให้รู้จักมารยาททางสังคมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น เน่น
- การไหว้ กล่าวทักทายสวัสดี ขอโทษ ขอบคุณ
- มารยาทในการรับประทานอาหาร ไม่เล่นกันขณะรับประทานอาหาร ไม่รับประทานอาหารมูมมาม
- ขออนุญาตเมื่อจะเข้าห้องน้าหรือออกจากห้องเรียน
 ฝึกหัดการมีระเบียบวินัย เน่น
- การเข้าแถว
- การทากิจวัตรต่างๆ เป็ นเวลา และตรงต่อเวลา
- ฝึกการเก็บของเล่นและของใน้เข้าที่ให้เรียบร้อย
 ฝึกหัดการรับผิดนอบ เน่น
- ให้เด็กรู้จักนาถาดอาหารไปเก็บเอง
- ฝึกหัดให้เด็กน่วยเหลือตนเองตามวัยได้ เน่น แปรงฟันเองตักอาหารรับประทานเอง
 ฝึกหัดการควบคุมอารมณ์ เน่น
- ฝึกการสวดมนต์ ทาสมาธิในน่วงสั้นๆ 1 - 5 นาที
 ฝึกหัดความจาเน่น
- ให้มีการทบทวนบทเรียน
- การท่องจาบทเพลง
- การแก้ไขปัญหา เน่น ฝึกหัดโดยใน้สถานการณ์ความขัดแย้งขณะเล่นและทากิจกรรม
- การถ่ายทอดจินตนาการ เน่น ฝึกโดยการเล่นบทบาทสมมุติและการเล่านิทาน
 ฝึกการสังเกต เน่น ฝึกหัดโดยการถามถึงสิ่งของ และ ฝึกให้สังเกตขณะที่เดินทางพบเห็นอะไรบ้าง
2.บูรณาการในกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
2.1กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
เป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตามจังหวะ ตามเสียงดนตรี บท
เพลง โดยจัดให้เด็กเคลื่อนไหวทุกเน้าในรูปแบบต่างๆ เน่น การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ การเคลื่อนไหว
ตามคาสั่ง การเคลื่อนไหวแบบเป็ นผู้นาและผู้ตาม การเคลื่อนไหวเลียนแบบ ฯลฯ
วัตถุประสงค์เพื่อ
1. ให้เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ และอวัยวะทุกส่วนให้มีความสัมพันธ์กัน
2. ตอบสนองความต้องการตามธรรมนาติความสนใจ ทาให้เด็กสนกุ สนานมีความซาบซึ้ง มีสุนทรียภาพ
ได้ผ่อนคลายความตึงเครียด
3. เปิ ดโอกาสให้เดก็ ได้แสดงออก และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
4. พัฒนาทักษะด้านสังคม การปรับตัว และความร่วมมือในกลุ่ม
2.2 กิจกรรมสร้างสรรค์
เป็ นกิจกรรมที่ให้เด็กปฏิบัติกิจกรรมเกี่ยวกับงานศิลปะต่างๆเน่น การวาดภาพระบายสี การปั้น
การพิมพ์ภาพ การพับ ฉีก ตัด ปะกระดาษ และงานประดิษฐ์เศษวัสดุ เป็ นต้น
วัตถุประสงค์ เพื่อ
1. พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ
2. ให้เด็กได้รับรู้เกี่ยวกับความงาม รู้จักนื่นนมความงาม
3. ให้เด็กได้แสดงออกตามความรู้สึก และความสามารถของตน
4. พัฒนาทักษะทางภาษา ด้วยการบอกอธิบายผลงานของตน
5. พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก ประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
6. พัฒนาทักษะทางสังคม รู้จักการปรับตัวในการทางานร่วมกับ ผู้อื่น มีความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่
และมีความรับผิดนอบ
2.3 กิจกรรมเสรี (เล่นตามมุม)
เป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เลือกเล่นสื่อและเครื่องเล่นอย่างอิสระ ในมุมการเล่นตามความ
สนใจ และความสามารถของเด็กแต่ละคน โดยครู เป็ นผู้จัดมุมประสบการณ์เหล่านี้ในห้องเรียน เน่น
มุมบ้าน มุมหมอ
มุมร้านค้า มุมครัว เป็ นต้น
วัตถุประสงค์เพื่อ
1. พัฒนาทักษะทางภาษา คือ การฟัง การพูดบอกอธิบายเรื่องราว
2. พัฒนาทักษะทางสังคม คือ การปรับตัว การเล่น และการทางานร่วมกับผู้อื่น
3. พัฒนาทักษะทางอารมณ์ คือ ฝึกการรู้จักรอคอย เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ แบ่งปัน การเสียสละ และให้อภัย
4. พัฒนาการมีระเบียบวินัย และความรับผิดนอบ คือ การเก็บของเล่นเข้าที่เดิมไม่นาของเล่นกลับบ้าน
การรู้จักดูแลรักษาของเล่นที่ใน้ร่วมกัน ฯลฯ
2.4 กิจกรรมเสริมประสบการณ์นีวิต (กิจกรรมวงกลม)
เป็ นกิจกรรมที่ครูและเด็ก ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ข่าวสารต่างๆ ด้วยรูปแบบต่างๆ เน่น
การสนทนา การอภิปรายทัศนศึกษา การเล่านิทาน การร้องเพลง การสาธิต การปฏิบัติการทดลอง เป็ น
ต้น
วัตถุประสงค์เพื่อ
1. สนับสนุนให้เด็กมีความรอบรู้และสนใจสิ่งแวดล้อม
2. ฝึกทักษะการพูด การฟัง การกล้าแสดงออก
3. ให้เด็กได้เรียนรู้การคิดอย่างมีเหตุผล และการสรุปความคิดรวบยอด
4. ให้เด็กรู้จักมารยาทในการฟัง การพูด การสังเกต
5. ให้เด็กได้เรียนรู้ในการรับฟัง ให้ความสนใจ และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
6. ให้เด็กได้เรียนรู้คุณธรรม จริยธรรม จากการที่ครูบอกสอน และการคิดวิเคราะห์ผ่านเรื่องราวที่นามา
เรียนรู้ต่างๆ
2.5 กิจกรรมกลางแจ้ง
เป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้ออกนอกห้องเรียนไปสู่สนามเด็กเล่นทั้งบริเวณกลางแจ้ง และในร่ม
โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมให้มีความหลากหลาย เพื่อเปิ ดโอกาสให้เด็กได้เล่นสนุกสนานอย่าง
เสรี ตามความสนใจและความสามารถของเด็กแต่ละคน เน่น การเล่นน้าเล่นทราย การเล่นอิสระ การ
เล่นเครื่องเล่นสนาม การเล่นอุปกรณ์กีฬา การละเล่นพื้นเมือง เกมการละเล่นต่างๆ
วัตถุประสงค์เพื่อ
1. พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ให้สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่ว
2. พัฒนาประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
3. ให้เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวในการเล่นและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
4. เสริมสร้างอารมณ์สนุกสนาน ร่าเริง ตามวัยของเด็ก
5. ให้เด็กได้รู้จักผ่อนคลายความเครียด
6. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ต่างๆ เน่น การสังเกต การเปรียบเทียบ
2.6 เกมการศึกษา
เป็ นกิจกรรมการเล่นที่เป็ นเกมประเภทต่างๆเน่นเกมการจับคู่ภาพเหมือน เกมโดมิโน เกมต่อ
ภาพ เกมเรียงลาดับ เกมการจัดหมวดหมู่ เกมพื้นฐานการบวก
วัตถุประสงค์เพื่อ
1. ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และมีความคิดรวบยอดในสิ่งที่เรียน
2. ฝึกการสังเกต การจาแนก การเปรียบเทียบ การคิดหาเหตุผล
3. ให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะพื้นฐานต่างๆ เน่น คณิตศาสตร์ภาษาไทย การรู้จักสัญลักษณ์ต่างๆ
4. ฝึกประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
5. ให้เด็กได้เรียนรู้คุณธรรมต่างๆ เน่น การรู้จักรอคอยมีความรับผิดนอบ มีระเบียบวินัย

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมssuser34255a
 
พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์Nootuk
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์rpg26
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาRujruj
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าsripai52
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาThammawat Yamsri
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การwanna2728
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...Prachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
 
พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
บันทึกข้อความไปอบรมคอมพิวเตอร์
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
ขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนาขันโตกล้านนา
ขันโตกล้านนา
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้า
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Viewers also liked

Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัยPpt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัยสมนึก สุดหล่อ
 
แม่ครัวอนามัย
แม่ครัวอนามัยแม่ครัวอนามัย
แม่ครัวอนามัยPnong Club
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.Nkidsana
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นJindarat JB'x Kataowwy
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัยkrutitirut
 

Viewers also liked (6)

Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัยPpt   การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
Ppt การส่งเสริมพฤติกรรมรักการอ่านเด็กปฐมวัย
 
แม่ครัวอนามัย
แม่ครัวอนามัยแม่ครัวอนามัย
แม่ครัวอนามัย
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

Similar to บทบาทครู

สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมOrange Wongwaiwit
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12Orange Wongwaiwit
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55tassanee chaicharoen
 

Similar to บทบาทครู (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมสร้างสรรค์กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมสร้างสรรค์
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
วโรงเรียนบ้านเกาะสินไห
วโรงเรียนบ้านเกาะสินไหวโรงเรียนบ้านเกาะสินไห
วโรงเรียนบ้านเกาะสินไห
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 

บทบาทครู

  • 2. ความรู้ความเข้าใจและทักษะในการเลี้ยงดูเด็ก ครูมีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสม ต้องพัฒนาตนเองให้มี ทักษะในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงให้ความใกล้ชิด มีเวลาพอเพียงที่จะอบรม ชี้แนะ ฝึกหัด ให้กับเด็ก และควรศึกษาวิธีการเลี้ยงดูเด็กแต่ละวัยที่มีความแตกต่างกัน การเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละวัย ครูเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละวัยด้วยการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมที่มีส่วนพัฒนาเรื่องนี้ เช่น พัฒนาการ สุขภาพจิต จิตวิทยา เป็นต้น เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อสร้างหรือจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับ วัย วุฒิภาวะ ที่จะพัฒนาให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องจากวัยหนึ่งสู่วัยหนึ่ง หรือช่วงอายุหนึ่งสู่ช่วงอายุถัดไป ตลอดจนความต่อเนื่องของการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ทั้งพ่อแม่ ครู บุคลากรสาธารณสุข และผู้เกี่ยวข้อง
  • 3. การเป็ นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี เด็กจะเรียนรู้และซึมซับจากแบบอย่างในการปฏิบัติของครู ดังนั้น การพัฒนาความฉลาดทาง อารมณ์ตนเองของครู จึงส่งผลต่อการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก ให้เอื้อต่อการพัฒนาเด็ก นอกจากนี้ครูยังมีส่วนช่วยเหลือให้เด็กที่มีอีคิวบกพร่องในบางด้านได้รับการปรับปรุงไปในแนวทางที่ดีขึ้น และส่งเสริมอีคิวเด็กร่วมกับพ่อแม่ ในกิจกรรมต่างๆ ที่ครู สร้างหรือประยุกต์ขึ้น ทั้งในและนอกแผนการสอนที่มีอยู่ การพัฒนาเด็กแบบบูรณาการ เป็นการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม คือ การพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ไปพร้อม ๆ กัน โดยสอดแทรกการพัฒนาในกิจกรรมประจาวัน กิจกรรมบูรณาการ นอกจากนี้ยังสามารถจัดการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับวิถีในชุมชน และเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งรูปแบบ นิทานพื้นบ้าน ดนตรีและการละเล่นพื้นบ้าน วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่น
  • 4. การวางแผนการดูแล ครู ควรมีความรู้เรื่องพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย ทั้งลักษณะธรรมชาติของเด็ก จุดเด่น ความสนใจ และความ ต้องการของเด็กแต่ละคนและครอบครัว ครูจะต้องสังเกต ประเมินพัฒนาการของเด็กแต่ละคนให้บรรลุเป้าหมายของ กิจกรรม เพื่อพิจารณาปรับเปลี่ยนการดูแลให้เหมาะสมกับเด็ก นอกจากนี้ควรกาหนดตารางเวลาประจาวันที่ปฏิบัติจนเป็น กิจวัตร แต่สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ ครู ควรทาตามโปรแกรมการดูแลอย่างสม่าเสมอและมี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กสัมผัสโอบกอดเพื่อให้เด็กได้รับการสัมผัสและความสนใจอย่างทั่วถึง และดูแลปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ให้ได้รับความปลอดภัย เช่น การรับประทานอาหาร การนอนหลับ การแต่งตัว การเข้าห้องน้าการล้างมือ การติดตามและประเมินผล การพัฒนาอีคิว ควรดาเนินควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และดาเนินการติดตามการจัด กิจกรรมเป็นระยะ รวมทั้งมีการประเมินผลการพัฒนาความฉลาดของเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลายอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงวิธีการจัดกิจกรรมของครู และพัฒนาการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น
  • 5. การบรูณาการกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กอายุ 2 - 5 ปี การพัฒนาไอคิวและอีคิวเด็กอายุ 2 - 5 ปี สามารถบูรณาการใน กิจกรรมการเรียนรู้ 2 รูปแบบ ได้แก่ 1. บูรณาการในการทากิจวัตรประจาวัน ด้วยการที่ครู ให้เด็กทากิจวัตรประจาวันตามหลักการพัฒนาอี คิวเด็กตามวัย ได้แก่  การฝึกหัดให้รู้จักมารยาททางสังคมในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น เน่น - การไหว้ กล่าวทักทายสวัสดี ขอโทษ ขอบคุณ - มารยาทในการรับประทานอาหาร ไม่เล่นกันขณะรับประทานอาหาร ไม่รับประทานอาหารมูมมาม - ขออนุญาตเมื่อจะเข้าห้องน้าหรือออกจากห้องเรียน  ฝึกหัดการมีระเบียบวินัย เน่น - การเข้าแถว - การทากิจวัตรต่างๆ เป็ นเวลา และตรงต่อเวลา - ฝึกการเก็บของเล่นและของใน้เข้าที่ให้เรียบร้อย
  • 6.  ฝึกหัดการรับผิดนอบ เน่น - ให้เด็กรู้จักนาถาดอาหารไปเก็บเอง - ฝึกหัดให้เด็กน่วยเหลือตนเองตามวัยได้ เน่น แปรงฟันเองตักอาหารรับประทานเอง  ฝึกหัดการควบคุมอารมณ์ เน่น - ฝึกการสวดมนต์ ทาสมาธิในน่วงสั้นๆ 1 - 5 นาที  ฝึกหัดความจาเน่น - ให้มีการทบทวนบทเรียน - การท่องจาบทเพลง - การแก้ไขปัญหา เน่น ฝึกหัดโดยใน้สถานการณ์ความขัดแย้งขณะเล่นและทากิจกรรม - การถ่ายทอดจินตนาการ เน่น ฝึกโดยการเล่นบทบาทสมมุติและการเล่านิทาน  ฝึกการสังเกต เน่น ฝึกหัดโดยการถามถึงสิ่งของ และ ฝึกให้สังเกตขณะที่เดินทางพบเห็นอะไรบ้าง
  • 7. 2.บูรณาการในกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม 2.1กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตามจังหวะ ตามเสียงดนตรี บท เพลง โดยจัดให้เด็กเคลื่อนไหวทุกเน้าในรูปแบบต่างๆ เน่น การเคลื่อนไหวอย่างอิสระ การเคลื่อนไหว ตามคาสั่ง การเคลื่อนไหวแบบเป็ นผู้นาและผู้ตาม การเคลื่อนไหวเลียนแบบ ฯลฯ วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ให้เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ และอวัยวะทุกส่วนให้มีความสัมพันธ์กัน 2. ตอบสนองความต้องการตามธรรมนาติความสนใจ ทาให้เด็กสนกุ สนานมีความซาบซึ้ง มีสุนทรียภาพ ได้ผ่อนคลายความตึงเครียด 3. เปิ ดโอกาสให้เดก็ ได้แสดงออก และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. พัฒนาทักษะด้านสังคม การปรับตัว และความร่วมมือในกลุ่ม
  • 8. 2.2 กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็ นกิจกรรมที่ให้เด็กปฏิบัติกิจกรรมเกี่ยวกับงานศิลปะต่างๆเน่น การวาดภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ การพับ ฉีก ตัด ปะกระดาษ และงานประดิษฐ์เศษวัสดุ เป็ นต้น วัตถุประสงค์ เพื่อ 1. พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ 2. ให้เด็กได้รับรู้เกี่ยวกับความงาม รู้จักนื่นนมความงาม 3. ให้เด็กได้แสดงออกตามความรู้สึก และความสามารถของตน 4. พัฒนาทักษะทางภาษา ด้วยการบอกอธิบายผลงานของตน 5. พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก ประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา 6. พัฒนาทักษะทางสังคม รู้จักการปรับตัวในการทางานร่วมกับ ผู้อื่น มีความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ และมีความรับผิดนอบ
  • 9. 2.3 กิจกรรมเสรี (เล่นตามมุม) เป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เลือกเล่นสื่อและเครื่องเล่นอย่างอิสระ ในมุมการเล่นตามความ สนใจ และความสามารถของเด็กแต่ละคน โดยครู เป็ นผู้จัดมุมประสบการณ์เหล่านี้ในห้องเรียน เน่น มุมบ้าน มุมหมอ มุมร้านค้า มุมครัว เป็ นต้น วัตถุประสงค์เพื่อ 1. พัฒนาทักษะทางภาษา คือ การฟัง การพูดบอกอธิบายเรื่องราว 2. พัฒนาทักษะทางสังคม คือ การปรับตัว การเล่น และการทางานร่วมกับผู้อื่น 3. พัฒนาทักษะทางอารมณ์ คือ ฝึกการรู้จักรอคอย เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ แบ่งปัน การเสียสละ และให้อภัย 4. พัฒนาการมีระเบียบวินัย และความรับผิดนอบ คือ การเก็บของเล่นเข้าที่เดิมไม่นาของเล่นกลับบ้าน การรู้จักดูแลรักษาของเล่นที่ใน้ร่วมกัน ฯลฯ
  • 10. 2.4 กิจกรรมเสริมประสบการณ์นีวิต (กิจกรรมวงกลม) เป็ นกิจกรรมที่ครูและเด็ก ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ข่าวสารต่างๆ ด้วยรูปแบบต่างๆ เน่น การสนทนา การอภิปรายทัศนศึกษา การเล่านิทาน การร้องเพลง การสาธิต การปฏิบัติการทดลอง เป็ น ต้น วัตถุประสงค์เพื่อ 1. สนับสนุนให้เด็กมีความรอบรู้และสนใจสิ่งแวดล้อม 2. ฝึกทักษะการพูด การฟัง การกล้าแสดงออก 3. ให้เด็กได้เรียนรู้การคิดอย่างมีเหตุผล และการสรุปความคิดรวบยอด 4. ให้เด็กรู้จักมารยาทในการฟัง การพูด การสังเกต 5. ให้เด็กได้เรียนรู้ในการรับฟัง ให้ความสนใจ และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 6. ให้เด็กได้เรียนรู้คุณธรรม จริยธรรม จากการที่ครูบอกสอน และการคิดวิเคราะห์ผ่านเรื่องราวที่นามา เรียนรู้ต่างๆ
  • 11. 2.5 กิจกรรมกลางแจ้ง เป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้ออกนอกห้องเรียนไปสู่สนามเด็กเล่นทั้งบริเวณกลางแจ้ง และในร่ม โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมให้มีความหลากหลาย เพื่อเปิ ดโอกาสให้เด็กได้เล่นสนุกสนานอย่าง เสรี ตามความสนใจและความสามารถของเด็กแต่ละคน เน่น การเล่นน้าเล่นทราย การเล่นอิสระ การ เล่นเครื่องเล่นสนาม การเล่นอุปกรณ์กีฬา การละเล่นพื้นเมือง เกมการละเล่นต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อ 1. พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ให้สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่ว 2. พัฒนาประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา 3. ให้เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวในการเล่นและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น 4. เสริมสร้างอารมณ์สนุกสนาน ร่าเริง ตามวัยของเด็ก 5. ให้เด็กได้รู้จักผ่อนคลายความเครียด 6. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ต่างๆ เน่น การสังเกต การเปรียบเทียบ
  • 12. 2.6 เกมการศึกษา เป็ นกิจกรรมการเล่นที่เป็ นเกมประเภทต่างๆเน่นเกมการจับคู่ภาพเหมือน เกมโดมิโน เกมต่อ ภาพ เกมเรียงลาดับ เกมการจัดหมวดหมู่ เกมพื้นฐานการบวก วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และมีความคิดรวบยอดในสิ่งที่เรียน 2. ฝึกการสังเกต การจาแนก การเปรียบเทียบ การคิดหาเหตุผล 3. ให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะพื้นฐานต่างๆ เน่น คณิตศาสตร์ภาษาไทย การรู้จักสัญลักษณ์ต่างๆ 4. ฝึกประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา 5. ให้เด็กได้เรียนรู้คุณธรรมต่างๆ เน่น การรู้จักรอคอยมีความรับผิดนอบ มีระเบียบวินัย