SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Download to read offline
สารละลาย
(solution)
หัวข้อ
1. สารละลายคืออะไร
2. ชนิดของสารละลาย
3. ความเข้มข้นของ
สารละลาย
4. สภาพการละลายได้
5. ปัจจัยที่มีผลต่อการ
ละลาย
6. สารละลายสมบูรณ์แบบและ
สารละลายไม่สมบูรณ์แบบ
7. ความดันไอ กฎของราอูลท์
กฎของเฮนรี
8. สมบัติคอลลิเกทีฟ
9. สารละลายนอนอิเล็กโตรไลต์
สารละลาย
เป็นของผสมเนื้อเดียว (homogeneous mixture) เกิด
จาก สารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมเป็นเนื้อเดียวกัน
- สารที่มีปริมาณมากกว่า เรียกว่า ตัวทําละลาย (Solvent)
- สารที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า ตัวถูกละลาย (Solute)
เช่น นํ้าตาล 5 g + นํ้า 100 cm3
ได้สารละลาย คือ นํ้าเชื่อม
การเรียกชนิดสารละลาย
ตามจํานวนองค์ประกอบ
1. สารละลายทวิภาค (Binary Solution)
: สารละลายที่มี 2 องค์ประกอบ เช่น นํ้าเชื่อม
2. สารละลายไตรภาค (Ternary Solution)
: สารละลายที่มี 3 องค์ประกอบ
เช่น นํ้าหวานโซดา (นํ้า + นํ้าตาล + โซดา)
สารละลายที่มีนํ้าเป็นตัวทําละลาย เรียกว่า Aqueous Solution , aq
- สารละลายนั้นเป็นของผสมเนื้อเดียว
- สมบัติของสารละลายเหมือนองค์ประกอบ
นํ้าตาล + นํ้า → นํ้าเชื่อม
⇓ ⇓
หวาน หวาน
มวลของสารละลาย = มวลขององค์ประกอบรวมกัน
ชนิดของสารละลาย
1. สารละลายแก๊ส
ประเภทสารละลาย
2. สารละลายของเหลว
3. สารละลายของแข็ง
แก๊ส
แก๊ส
แก๊ส
ของแข็ง
ของแข็ง
ของแข็ง
ของเหลว
ของเหลว
ของเหลว
ตัวทําละลาย ตัวถูกละลาย ตัวอย่าง
แก๊ส
ของแข็ง
ของเหลว
แก๊ส
ของแข็ง
ของเหลว
แก๊ส
ของแข็ง
ของเหลว
อากาศ แก๊สผสมต่างๆ
ไอโอดีนในอากาศ
นํ้าในอากาศ
แอลกอฮอล์ในนํ้า
นํ้าเกลือ นํ้าเชื่อม
นํ้าโซดา
ทองเหลือง นาก
ปรอทในทอง
H2 ใน Pd
ความเข้มข้นของสารละลาย
1. ร้อยละของตัวถูกละลาย มี 3 แบบ
ก. ร้อยละโดยมวล / มวลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสาร
ละลาย 100 หน่วยมวลเดียวกัน
เช่น NaOH เข้มข้น 5% โดยมวล
ในสารละลาย 100 กรัม มี NaOH ละลายอยู่ 5 กรัม
การเตรียม ชั่ง NaOH 5 กรัม ละลายนํ้า 95.0 กรัม
ข. ร้อยละโดยปริมาตร : ปริมาตรของตัวถูกละลายที่ละลาย
ในสารละลาย 100 หน่วย ปริมาตรเดียวกัน
เช่น สารละลายเอทานอลเข้มข้น 30% โดยปริมาตร
 ในสารละลาย 100 cm3 มีเอทานอลละลาย อยู่ 30 cm3
การเตรียม ตวงเอทานอล 30 cm3
เติมนํ้าจนได้สารละลาย 100 cm3
ค. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร : มวลของตัวถูกละลายใน
สารละลาย 100 หน่วยปริมาตร
เช่น สารละลาย NaCl เข้มข้น 15 % โดยมวลต่อปริมาตร
= NaCl 15 กรัม ในสารละลาย 100 cm3
การเตรียม ชั่ง NaCl 15 กรัม
เติมนํ้าจนได้สารละลาย 100 cm3
อุปกรณ์เตรียมสารละลาย
การหาความเข้มข้นเป็นร้อยละ
1. ร้อยละโดยมวล =
2. ร้อยละโดยปริมาตร =
3. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร =
มวลของตัวถูกละลาย
มวลของสารละลาย
X 100
ปริมาตรของตัวถูกละลาย
ปริมาตรของสารละลาย
X 100
มวลของตัวถูกละลาย
ปริมาตรของสารละลาย
X 100
ตัวอย่าง สารละลายนํ้าตาลซูโครส ประกอบด้วยซูโครส
28.6 กรัม ในนํ้า 101.4 กรัม จงหาความเข้มข้นเป็น
ร้อยละโดยมวลของสารละลายนี้
% ( w / w) =
28.6
101.4+28.6
X 100
ตัวอย่าง จะต้องใช้ CaCl2 กี่กรัม ละลายนํ้า 80 กรัมเพื่อให้
ได้สารละลายเข้มข้น 5 % โดยมวล
% ( w/w ) =
มวลของตัวถูกละลาย
มวลของสารละลาย
x 100
X
80
x 1005 ≈
X = มวลของตัวถูกละลายX
80 + X
x 1005 =
: จํานวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลายอยู่ในสารละลาย 1 dm3
( = 1 ลิตร = 1000 cm3 )
โมลาริตี้ =
หน่วยที่ใช้ : mol / dm3 , mol / L หรือ โมลาร์ (M)
2. โมลาริตี้ (Molarity , M)
จํานวนโมลตัวถูกละลาย
ปริมาตรสารละลายหน่วยลิตร
เช่น สารละลาย Ca(OH)2 เข้มข้น 0.05 mol / dm3
หมายถึง Ca(OH)2 0.05 โมล ในสารละลาย 1 dm3
จํานวนโมล =
นํ้าหนัก (กรัม)
มวลโมเลกุล (กรัม/โมล)
ตัวอย่าง จงคํานวณความเข้มข้นเป็นโมลาริตี้ของ
สารละลาย KCl ซึ่งประกอบด้วย KCl จํานวน
12.4 กรัม ละลายอยู่ในสารละลาย 900 cm3
( K = 39.1 , Cl = 35.5 )
สารละลาย 900 cm3 มี KCl อยู่ โมล
1000 cm3 มี KCl อยู่ x โมล
∴ สารละลาย KCl เข้มข้น ________ โมลาร์
6.74
4.12
12.4
74.6
1000
900
: จํานวนโมล ของตัวถูกละลายที่มีอยู่ในตัวทําละลาย 1000
กรัม (1 kg)
หน่วยที่ใช้ ⇒ โมแลล (m)
เช่น สารละลาย NaCl ในนํ้า เข้มข้น 0.050 โมแลล
หมายถึง NaCl 0.050 โมล ในนํ้า 1000 กรัม (1 kg)
3. โมแลลิตี้(Molality)
ตัวอย่าง จงหาความเข้มข้นเป็นโมแลลิตี้ของสาร ละลาย NaCl
ซึ่งประกอบด้วย NaCl 5.00 กรัม ในนํ้า 200 กรัม
(นํ้าหนักอะตอม : Na = 23.0 , Cl = 35.5)
นํ้า 200 กรัม มี NaCl จํานวน = โมล
นํ้า 1000 กรัม มี NaCl จํานวน = x โมล
∴ สารละลาย เข้มข้น ________ โมแลล
5.58
00.5
5.00
58.5
1000
200
: จํานวนโมลของตัวถูกละลาย / ตัวทําละลายต่อจํานวนโมล
ทั้งหมดในสารละลาย
ให้ n1 = จํานวนโมลตัวทําละลาย
n2 = จํานวนโมลตัวถูกละลาย
x1 =
x2 =
และ x1 + x2 = 1 เสมอ
n
n n
1
1 2+
n
n n
2
1 2+
4. เศษส่วนโมล (Mole fraction , x)
ตัวอย่าง สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยนํ้า 36.0 กรัม
และกลีเซอรีน [C3H5(OH)3] 46.0 กรัม จงหา
เศษส่วนโมลของนํ้าและกลีเซอรีน
(H =1.0, C= 12.0)
จํานวนโมลของนํ้า (n1) = โมล
จํานวนโมลของกลีเซอรีน (n2) = โมล
เศษส่วนโมลของนํ้า (x1) =
เศษส่วนโมลของกลีเซอรีน (x2) =
8.0
5.00.2
5.0
+
5.00.2
0.2
+
2.0
0.92
0.46
5.0
0.18
0.36
0.2
• มวลของตัวทําละลาย (solvent) → โมล solvent
• มวลของสารละลาย (solution) = มวลตัวถูกละลาย + มวลตัวทําละลาย
• มวลของตัวถูกละลาย (solute) → โมล solute
• จํานวนโมลรวมของสารละลาย = โมล solute + โมล solvent
• ปริมาตรของสารละลาย (ความหนาแน่น & มวลของสารละลาย)
การละลายได้ (Solubility)
สารละลายเกิดขึ้นได้อย่างไร?
สารละลาย → ตัวถูกละลาย + ตัวทําละลาย โดยอนุภาคของ
ตัวถูกละลายเข้าไปแทนที่อนุภาคของตัวทําละลาย
Step 1 ,2 endothermic Step 3 exothermic
www.chem.sc.edu/goode/ C112Web/CH12NF/sld020.htm
สารละลายอิ่มตัว (Saturated Solution)
คือสารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายละลายอยู่มากที่สุดเท่าที่
จะเป็นไปได้ที่อุณหภูมินั้นๆ
• จะไม่มีการละลายเพิ่มอีกแม้จะใส่ตัวถูกละลายเพิ่ม
• อาจสังเกตได้จากการที่มีตัวถูกละลายตกตะกอน
ปริมาณของตัวถูกละลายที่ละลายได้ในตัวทําละลายใน
สารละลายอิ่มตัว ณ.อุณหภูมิหนึ่ง เรียกว่า การละลายได้
สภาพการละลายได้ (solubility)
จํานวนกรัมของตัวถูกละลายในตัวทําละลาย 100 กรัม
: สําหรับสารละลายนํ้า
ปริมาณสารที่ละลายได้ < 0.1 g /นํ้า 100 g ไม่ละลาย
 ปริมาณสารที่ละลายได้0.1 - 1 g /นํ้า 100 g ละลายได้ เล็กน้อย
 ปริมาณสารที่ละลายได้ > 1 g /นํ้า 100 g ละลาย
อิทธิพลที่มีต่อการละลายได้
1. ชนิดของสารละลาย
: อนุภาคของตัวถูกละลาย แทนที่ ตัวทําละลายได้ขึ้นกับ
ก. แรงดึงดูดระหว่าง ตัวถูกละลาย - ตัวถูกละลาย
ข. แรงดึงดูดระหว่าง ตัวทําละลาย - ตัวทําละลาย
ค. แรงดึงดูดระหว่าง ตัวถูกละลาย - ตัวทําละลาย
∴ ถ้าแรงทั้ง 3 ชนิดเหมือน/ใกล้เคียงกัน ละลายได้
∴ ถ้าแรงทั้ง 3 ชนิดไม่เหมือน/ไม่ใกล้เคียงกัน ละลายไม่ได้
H2O + CCl4 → ไม่ละลาย
H2O + NH3 → ?
ตัวถูกละลาย ตัวทําละลาย การละลาย
ไม่มีขั้ว ไม่มีขั้ว ได้
มีขั้ว มีขั้ว ได้
ไม่มีขั้ว มีขั้ว ไม่ได้
มีขั้ว ไม่มีขั้ว ไม่ได้
ละลายได้
แรงแบบมีขั้ว จะมีค่ามากกว่า
แรงแบบไม่มีขั้ว
สารประกอบไอออนิก
- ส่วนใหญ่ละลายนํ้าได้ เช่น NaCl , KCl
- บางชนิดไม่ละลายนํ้า เช่น AgCl
(AgCl 0.0018 g / นํ้า 1 ลิตร ที่ 25 oC)
NaCl ละลายนํ้าได้เพราะอะไร?
 แรงดึงดูดระหว่าง ขั้วของนํ้ากับไอออนบวก และไอออนลบ
> แรงดึงดูดของไอออนบวก และไอออนลบในโครงผลึก
ไอออนบวก ดึงดูดปลายขั้ว - ของนํ้า
,, ลบ ดึงดูดปลายขั้ว + ,,
ไอออนที่ถูกล้อมรอบด้วยโมเลกุลของนํ้า Hydrated ion
การละลายของ NaCl ในนํ้า
Cl-
2. อุณหภูมิ
: เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน สารจะละลายน้อยลงหรือมากขึ้น ขึ้นกับว่า
สารละลาย ดูด (∆ H = +) หรือคายความร้อน (∆ H = -)
ก. ดูดความร้อน สาร + ความร้อน ⇔ สารละลาย
∴เพิ่ม T สารละลายมากขึ้น
ข. คายความร้อน สาร ⇔ สารละลาย + ความร้อน
∴เพิ่ม T สารละลายน้อยลง
ผลของอุณหภูมิต่อการละลาย
ตัวอย่าง
ความร้อนของสารละลาย LiCl มีค่า = -37.42 kJ/mol
(ก). การละลายของ LiCl คาย หรือ ดูดความร้อน
(ข). ถ้าเพิ่ม T , LiCl ละลายมากขึ้น หรือ น้อยลง
3. ความดัน
solute (g) + solvent (l) ⇔ solution (l)
ถ้าความดันแก๊สเพิ่ม ⇒ แก๊สจะละลายได้มากขึ้น
ตัวถูกละลายจะละลายในตัวทําละลายได้
1. แรงดึงดูดระหว่างตัวถูกละลาย - ตัวถูกละลาย
,, ตัวทําละลาย - ตัวทําละลาย
⇒ ถูกทําลาย : ใช้พลังงาน (+)
2. ตัวถูกละลาย + ตัวทําละลาย เกิดการสร้างพันธะ
⇒ การสร้างพันธะ : คายพลังงาน (-)
ความร้อนของสารละลาย , ∆ Hsoln
∴พลังงานที่ใช้ทําลายแรงยึดเหนี่ยว + พลังงานที่คาย
เมื่อสร้างพันธะ = ∆ Hsoln
∆ Hsoln = + → ดูดความร้อน
∆ Hsoln = - → คายความร้อน
ถ้าพลังงานทั้ง 2 เท่ากัน ∆ Hsoln = 0
สารละลายนั้นเป็นสารละลายสมบูรณ์แบบ
สารละลายสมบูรณ์แบบ และไม่สมบูรณ์แบบ
(Ideal solution and non-ideal solution)
∆ Hsoln = 0 → ideal solution
∆ Hsoln ≠ 0 → non-ideal solution
สารละลายสมบูรณ์แบบ จะมี solute และ solvent
- โครงสร้างคล้ายกัน
- ขนาดใกล้เคียงกัน
เช่น SiCl4 + CCl4 ∆ Hsoln = 0
ความดันไอของสารองค์ประกอบในสารละลาย
ราอูลท์ (Raoult) ได้ศึกษาพฤติกรรมความดันไอของสารใน
สารละลายสมบูรณ์แบบ สรุปว่า
ความดันไอของสารองค์ประกอบในสารละลาย ที่ T คงที่ :
ความดันไอของส่วนประกอบชนิดหนึ่งในสารละลาย
= ผลคูณของเศษส่วนโมลกับความดันไอของของเหลว
บริสุทธิ์ ”
A
PA
º PA
PA
º > PA
PA = XA × PA
º
P1 = x1P1
0
P2 = x2P2
0
P1 , P2 = ความดันไอของส่วนประกอบ 1 , 2 ในสารละลาย
P1
0, P2
0 = ความดันไอของส่วนประกอบ 1 , 2 ในสถานะ
ของเหลวบริสุทธิ์
x1 , x2 = เศษส่วนโมลของส่วนประกอบ 1 , 2
ความดันไอของสารละลาย
1. สารละลายที่มีตัวถูกละลายไม่ระเหย และไม่แตกตัว
ถ้าให้ : 1 = ตัวทําละลาย
2 = ตัวถูกละลาย
Pสารละลาย = x1P1
0
Pสารละลาย = ความดันไอของสารละลาย
x1 = เศษส่วนโมลของตัวทําละลาย
P1
0 = ความดันไอของตัวทําละลายบริสุทธิ์
2. สารละลายที่มีตัวถูกละลายและตัวทําละลายระเหยได้
ทั้งคู่
Pสารละลาย = P1 + P2 = Pรวม
Pรวม = x1P1
0 + x2P2
0
- เส้นกราฟความดันไอจะเป็นเส้นตรงของ P1 + P2
P1 P2
P1 + P2
เศษส่วนโมลของสาร 1
ความดัน
0 1
P2
º
P1
º
0.5
ตัวอย่าง จงคํานวณหา Pสารละลาย ที่ 30oC ของสารละลาย
สมบูรณ์แบบ ซึ่งประกอบด้วย ethyl alcohol และ
propyl alcohol ซึ่ง ethyl alcohol มีเศษส่วนโมล
= 0.75
กําหนดให้ : ethyl alcohol บริสุทธิ์มีความดันไอ = 79.1 torr
และ propyl alcohol = 27.6 torr
Pสารละลาย = x1P1
0 + x2P2
0(1 – x1)P2
0
P1
0
P2
0
= x1
กรณีสารละลายไม่สมบูรณ์แบบ
- ไม่เป็นไปตามราอูลท์
- ในสารละลายหนึ่งๆ การหาความดันไอของ
องค์ประกอบ
: ถ้าเป็นของตัวทําละลาย ใช้ตามกฎราอูลท์
P1 = x1P1
0
: ถ้าเป็นของตัวถูกละลาย ใช้ตามกฎของเฮนรี
“ ในสารละลายเจือจาง ความดันไอของตัวถูกละลาย ∝
ความเข้มข้นของตัวถูกละลาย”
P2 = k2x2
P2 = ความดันไอตัวถูกละลาย
x2 = เศษส่วนโมลของตัวถูกละลาย
k2 = ค่าคงที่ของเฮนรี
ความดันไอของสารละลายไม่สมบูรณ์แบบ
Pสารละลาย = x1P1
0 + k2x2
เส้นกราฟความดันไอเป็นเส้นโค้งขึ้นหรือลงก็ได้
P1
P2
P1 + P2
เศษส่วนโมลของสาร
ความดัน
P1
P2
P1 + P2
ความดัน
เศษส่วนโมลของสาร
สมบัติคอลลิเกทีฟ
: สมบัติทางกายภาพของสารละลายขึ้นกับ
1. จํานวนอนุภาคตัวถูกละลายในสารละลาย
2. ชนิดของตัวทําละลาย
แต่ไม่ขึ้นกับชนิดของตัวถูกละลาย
(ตัวถูกละลายต้องไม่ระเหยและไม่แตกตัว)
สมบัติคอลลิเกทีฟมี 4 ชนิด
1. การลดตํ่าลงของความดันไอ
2. การสูงขึ้นของจุดเดือด
3. การลดตํ่าลงของจุดเยือกแข็ง
4. ความดันออสโมติก
1. การลดตํ่าลงของความดันไอ
- ถ้าสารละลายมี solute ที่ไม่ระเหย จากกฎของราอูลท์
Psoln = xsolvent . P0
solvent
พบว่า
 ผิวหน้าสารละลายมีจํานวนโมเลกุลของตัวทําละลาย
น้อยลง เพราะมี solute ปนอยู่
การลดตํ่าลงของความดันไอ
การหาความดันไอที่ลดตํ่าลง
Pสารละลาย = x1P1
0
แต่ x1 + x2 = 1
ให้ x2 = เศษส่วนโมลของ solute
∴ x1 = 1 - x2
Pสารละลาย = (1 - x2) P1
0
= P1
0 - x2P1
0
P1
0 - Pสารละลาย = x2P1
0
← ความดันไอของ
สารละลายที่ลดตํ่าลง
∆ P = x2P1
0
1 = ตัวทําละลาย
2 = ตัวถูกละลาย (ไม่ระเหย)
ตัวอย่าง สารละลายประกอบด้วยซูโครส (C12H22O11) หนัก
68 g ในนํ้า 1 kg ที่อุณหภูมิ 28oC จงหา
ก. ความดันไอที่ลดตํ่าลง
ข. ความดันไอของสารละลายเมื่อความดันไอของนํ้า
บริสุทธิ์ที่อุณหภูมินี้มีค่าเท่ากับ 28.35 torr
(C = 12, H = 1, O = 16)
∆ P = x2P1
0
2. การสูงขึ้นของจุดเดือดและการลดตํ่าลงของจุดเยือกแข็ง
เมื่อ Pสารละลาย ลดตํ่าลง  จุดเดือดและจุดเยือกแข็ง
ของสารละลายจะเปลี่ยนไป
-นํ้าบริสุทธิ์ จุดเดือดที่ Tb → T′b
จุดเยือกแข็งที่ Tf → T′f
∴ b.p. ของ solvent สูงขึ้น , ∆ Tb = T′b - Tb
f.p. ,, ลดตํ่าลง, ∆ Tf = Tf - T′f
∆ Tb & ∆ Tf ∝ โมแลลิตีของสารละลาย
∆ Tb = Kb × m
∆ Tf = Kf × m
เมื่อ m = โมแลลิตีของสารละลาย
Kb = ค่าคงที่ ( b.p. ของ solution ที่เพิ่มขึ้น เมื่อ solute
1 โมล ละลาย ในตัวทําละลาย 1 kg)
Kf = ค่าคงที่ ( f.p. ของ solution ที่ลดตํ่าลง เมื่อ solute
1 โมล ละลาย ในตัวทําละลาย 1 kg)
ค่า Kb , Kf เป็นค่าคงที่ของแต่ละตัวทําละลาย
ตัวอย่าง สารละลายใดๆใน solvent ชนิดเดียวกัน solute
ชนิดใดก็ได้ที่ไม่ระเหย & ไม่แตกตัว 1 โมลใน
solvent 1 kg จะมี b.p. และ f.p. เท่ากันหมด
∆ Tb = Kb × m
∆ Tf = Kf × m
ตัวอย่าง จงหา b.p. ของสารละลายซึ่งประกอบด้วยสาร
หนัก 28.0 กรัม (MW=64) ละลายนํ้า 850 กรัม และนํ้า
บริสุทธิ์เดือดที่ 99.8oC (Kb ของนํ้า = 0.51oC/mol)
∆ Tb = Kb × m
T′b - Tb
ตัวอย่าง เมื่อตัวถูกละลายไม่ระเหยและไม่แตกตัวหนัก 4. 50 g
ละลายในนํ้า 125 g ได้สารละลายซึ่งมี f.p.
- 0.372 oC จงหานํ้าหนักโมเลกุลของตัว solute
( Kf ของนํ้า = - 1.86 oC/mol )
∆ Tf = Kf × mTf - T′f
3. ความดันออสโมติก (π)
= ผลต่างของความสูงของลํา ของเหลวของสารละลาย &
ตัวทําละลาย ∝ ความเข้มข้นของสารละลาย ( π ∝ C )
Van’t Hoff พบว่า π = CRT
π = ความดันออสโมติก , บรรยากาศ
C = ความเข้มข้นของสารละลาย , mol/dm3 = n / V
R = ค่าคงที่ของแก๊ส = 0.0821 dm3atm/K mol
T = อุณหภูมิ , K
∴ πV = nRT
• molo.concord.org/database/ activities/72.html
ตัวอย่าง ที่อุณหภูมิ 4 oC สารละลายที่มี ฮีโมโกบิน หนัก 80 กรัม
ในสารละลาย 1 dm3 มี ความดันออสโมติก 0.026 atm
จงหานํ้าหนักโมเลกุลของฮีโมโกบิน
πV = nRT
π = 0.026 atm
n = 80 / MW mol/dm3
R = 0.0821 dm3atm/K mol
T = 277 °K
πV = RTMW
80
MW = V
RT
π
80
MW = 10260
2770821080
×
××
.
.
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte solution)
สารอิเล็กโทรไลต์ : สารที่แตกตัวเป็นไอออนเมื่ออยู่ ในนํ้า
1. สารอิเล็กโทรไลต์แก่ ( แตกตัว 100% )
 กรดแก่ เบสแก่ เกลือที่ละลายนํ้าได้ดี
2. สารอิเล็กโทรไลต์อ่อน
 กรดอ่อน เบสอ่อน เกลือที่ละลายนํ้าได้น้อย
3. สารนอนอิเล็กโทรไลต์ ( ไม่แตกตัว )
สารอิเล็กโทรไลต์ + นํ้า  สารละลาย อิเล็กโทรไลต์
สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ สารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่
สาร m ∆ Tf , °C สาร m ∆Tf , °C
กลีเซอรีน 0.100 0.187 HCl 0.100 0.352
ซูโครส 0.100 0.188 KNO3 0.100 0.331
เดกซ์โทรส 0.100 0.186 KCl 0.100 0.345
ซูโครส 0.200 0.376 Na2SO4 0.100 0.434
เดกซ์โทรส 0.200 0.372 CaCl2 0.100 0.4940
เดกซ์โทรส 0.300 0.558 NiCl2 0.100 0.538
HCl H+ + Cl-
HCl → H+ + Cl-
ก่อนแตกตัว 0.100 - - โมล
หลังแตกตัว - 0.100 0.100 โมล
0.200 โมล / 1 HCl
∆ Tf = Kf. m
= 1.80 °C/m × 0.200m
= 0.372 °C
ion+ / ion- = 1 / 1
∆Tf  2 เท่าของ ∆Tf ของ สารละลายนอนอิเล็กโตรไลต์
ที่ความเข้มข้นเดียวกัน
ion+/ion- = 1/2 หรือ 2/1
∆Tf  3 เท่าของ ∆Tf ของ สารละลายนอนอิเล็กโตรไลต์
ที่ความเข้มข้นเดียวกัน
แต่ในความเป็นจริง ค่าที่วัดได้น้อยกว่าค่าจากการคํานวณ
Na2SO4  2Na+ + SO4
2-
NaCl  Na+ + Cl-
Van’t Hoff factor
P = i Xsolute .P0
solv
∆Tf = i Kf.m
∆ Tb = i Kb.m
π = i MRT
i =
ค่า ∆Tf ที่วัดได้ของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
ค่า ∆Tf ที่คํานวณได้ของสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์
i factor ของสารละลายที่ความเข้มข้นต่างๆ
สาร จํานวน
ion
i factorที่ความเข้มข้น
0.1 0.01 0.001 เจือจาง
กลูโคส 1 1 1 1 1
NaCl 2 1.87 1.94 1.97 2.00
MgSO4
2 1.21 1.53 1.82 2.00
K2SO4
3 2.32 2.69 2.84 3.00
i factor และปริมาณการแตกตัวเป็น ion
α =
=
i = i factor
v = จํานวน ion ที่เกิดจากการแตกตัวของตัวถูกละลาย
ปริมาณสารที่แตกตัว
ปริมาณสารเริ่มต้น
i - 1
v - 1
ตัวอย่าง NaCl มี i factor 1. 87 และมีจํานวน ion ที่เกิดจาก
การแตกตัวตามสูตรต่อ NaCl 1 สูตร = 2
α =
= 0.87
% α = 0.87 x 100 = 87
1.87 - 1
2 - 1

More Related Content

What's hot

รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์Preeyapat Lengrabam
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 

What's hot (20)

รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
Punmanee study 5
Punmanee study 5Punmanee study 5
Punmanee study 5
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 

Similar to 6 solution (2)

Similar to 6 solution (2) (15)

3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
 
Solu partition2555
Solu partition2555Solu partition2555
Solu partition2555
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
Dissolution2555
Dissolution2555Dissolution2555
Dissolution2555
 
Ex solution
Ex solutionEx solution
Ex solution
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
 

6 solution (2)