SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ปริมาณสัมพันธ์                                                                            อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา

                                            แบบฝึกหัด 4-4 เรื่องสารละลาย
1. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด ถ้าผิดแก้ให้ถูกต้อง
       ..........1.1 น้ําเชื่อมเข้มข้น 5% โดยมวล หมายถึง มีนาตาลอยู่ 5 กรัม ในน้ํา 100 กรัม
                                                                ้ํ
       ..........1.2 เศษส่วนโดยโมลของน้ําตาล เท่ากับ 0.25 หมายถึง มีน้ําตาลอยู่ 0.25 โมล ในน้ํา 1 โมล
       ..........1.3 เศษส่วนโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 0.88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล
                         มีนํา 0.88 โมล
                              ้
       ..........1.4 ร้อยละโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล
                         มีนํา 88 โมล
                                ้
       ..........1.5 น้ําเชื่อมเข้มข้น 15% โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีน้ําตาลอยู่ 15 กรัม
       ..........1.6 สารละลายกรดอะซิติก เข้มข้นร้อยละ 12 โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีกรด
                         อะซิติกอยู่ 12 กรัม
       ..........1.7 น้ําส้มสายชูเข้มข้นร้อยละ 8 โดยมวล หมายถึง มีกรดอะซิติกอยู่ 8 กรัม ในสารละลาย
                         100 กรัม
       ..........1.8 ทิงเจอร์ไอโอดีน เข้มข้น 10 โมแลล หมายถึง มีไอโอดีน 10 โมล ในเอทานอล 100 cm3
       ..........1.9 สารละลาย HCl 0.5 M หมายถึง ในน้ํา 1,000 cm3 มี HCl อยู่ 0.5 โมล
       ..........1.10 สารละลาย NaOH 0.5 m หมายถึง ในน้า 1,000 kg มี NaOH อยู่ 0.5 โมล
                                                                   ํ

2. เมื่อละลายน้ําตาลกลูโคส ( C6H12O6 ) 20 กรัม ในน้ากลั่น 100 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้นเป็นร้อยละโดย
                                                        ํ
มวลของสารละลายที่ได้
3. น้ําส้มสายชู 50 กรัม มีกรดอะซิติกละลายอยู่ 4 กรัม ถ้าน้ําส้มสายชูมีความหนาแน่น 1.13 g/cm3 น้ําส้มสายชู
นี้เข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเท่าใด
4. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นมีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 และมี HCl 30 % โดยน้ําหนัก จงคํานวณหาน้ําหนัก HCl ใน
สารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตร 1 L
5. จงตอบคําถามต่อไปนี้ในหน่วย ppm หรือ ppb
           ก. Hg 1 mg ละลายน้ํา 1 kg คิดเป็นหน่วยความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนัก
           ข. SO2 0.1 cm3 ละลายน้ํา 105 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยปริมาตร
           ค. O2 10 mg ละลายน้ํา 100 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนักต่อปริมาตร
6. นมผงที่บรรจุในกระป๋องชนิดหนึ่งมี Pb เจือปนอยู่ 3.2 ppm จงคํานวณหาว่าในขวดนมขนาด 470 cm3 จะมี Pb
อยู่กี่กรัม
7. จงคํานวนหาโมลาริตีของสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10% โดยน้ําหนัก ซึ่งมีความหนาแน่น 1.07 g/cm3
8. จะต้องใช้กลูโคสหนักกี่กรัม เพื่อเตรียมสารละลายเข้มข้น 0.5 m โดยใช้น้ํา 200 g เป็นตัวทําละลาย
9. จงคํานวนหาเศษส่วนโมลของ NaCl และ H2O ในสารละลาย NaCl เข้มข้น 3.0 m
10. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยเอทานอล ( C2H5OH ) 92 กรัม และน้ํา 180 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้น
ของสารละลายในหน่วยต่อไปนี้ ( เอทานอลมีความหนาแน่น 0.79 g/cm3 และน้ํามีความหนาแน่น 1 g/cm3 )
               ก. Molal                 ข. Molar              ค. Mole Fraction                ง. ร้อยละโดยโมล
ปริมาณสัมพันธ์                                                                        อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา

                                แบบฝึกหัดที่ 4-5 เรื่องการเตรียมสารละลาย
    1. ในการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จํานวน 5 ลิตร จะต้องใช้ NaOH กี่กรัม

    2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.05 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 จากสารละลายซึ่งเข้มข้น
       0.2 mol/dm3
       ก. จะต้องใช้สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.2 mol/dm3 ปริมาตรเท่าใด
       ข. สารละลายที่เจือจางแล้วมีเลด (II) ไนเตรตละลายอยู่กี่กรัม

    3. จะต้องตวงสารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตรเท่าใดเพือเตรียมสารละลาย HCl เข้มข้น 12% จํานวน 50 cm3
                                                    ่
       ความเข้มข้นของสารละลาย HCl เข้มข้นคือ 37.2 % มีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 ส่วนสารละลาย HCl
       เข้มข้น 12.0% มีความหนาแน่น 1.11 g/cm3

    4. จะต้องใช้สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10.0 M ปริมาตรเท่าใด เพื่อเตรียมสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 0.2 M
       จํานวน 200 cm3

    5. จงคํานวณหาปริมาตรของสารละลาย HNO3 เข้มข้น 70% (ความหนาแน่น 1.42 g/cm3) ทีใช้เตรียม
                                                                                ่
                                                 3
       สารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.00 M จํานวน 500 cm

    6. มีสารละลายกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 1 mol/L จํานวน 200 cm3 เมื่อแบ่งมาเพียง 50 cm3 แล้วไปเติมน้ําเป็น
       200 cm3 ถ้าแบ่งสารละลายใหม่ที่ได้มา 10 cm3 จะมีเนื้อกรดซัลฟูรกกี่กรัม
                                                                    ิ

    7. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.0 M ให้มปริมาตร 14 L โดยเติมกรด HNO3 เข้มข้น 15 M
                                                       ี
       ลงในกรด HNO3 เข้มข้น 2.0 M จํานวน 1.25 L จะต้องใช้กรด HNO3 เข้มข้น 15 M ปริมาตรเท่าใด

    8. เมื่อนําสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 0.1, 0.3 และ 0.5 mol/dm3 จํานวน 300 250 และ 50
       cm3 ตามลําดับ มาผสมกัน สารละลายผสมที่ได้เข้มข้นกี่ mol/dm3

    9. จะต้องนําสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 mol/L และสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1
       mol/L อย่างละกีลิตรมาผสมกันจึงจะได้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/L จํานวน 2 L
                      ่
       (ข้อสอบ Ent)

More Related Content

What's hot

สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptxssuser124dc9
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 

What's hot (20)

9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 

Viewers also liked

4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนPornpichit55
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
1.4 Laboratory Equipment: Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment: Names & UsesCheryl Bausman
 

Viewers also liked (9)

4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอน
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
1.4 Laboratory Equipment: Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses1.4 Laboratory Equipment:  Names & Uses
1.4 Laboratory Equipment: Names & Uses
 

Similar to Ex solution

สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solutionseluluse
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)Saisard
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2Duduan
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 

Similar to Ex solution (13)

3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
6 solution
6 solution6 solution
6 solution
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
6 solution (1)
6 solution (1)6 solution (1)
6 solution (1)
 
Som
SomSom
Som
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2สอนเตรียมสารละลาย 2
สอนเตรียมสารละลาย 2
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 

Ex solution

  • 1. ปริมาณสัมพันธ์ อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา แบบฝึกหัด 4-4 เรื่องสารละลาย 1. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด ถ้าผิดแก้ให้ถูกต้อง ..........1.1 น้ําเชื่อมเข้มข้น 5% โดยมวล หมายถึง มีนาตาลอยู่ 5 กรัม ในน้ํา 100 กรัม ้ํ ..........1.2 เศษส่วนโดยโมลของน้ําตาล เท่ากับ 0.25 หมายถึง มีน้ําตาลอยู่ 0.25 โมล ในน้ํา 1 โมล ..........1.3 เศษส่วนโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 0.88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล มีนํา 0.88 โมล ้ ..........1.4 ร้อยละโดยโมลของน้ําในสารละลายยูเรีย เท่ากับ 88 หมายถึง ในสารละลาย 100 โมล มีนํา 88 โมล ้ ..........1.5 น้ําเชื่อมเข้มข้น 15% โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีน้ําตาลอยู่ 15 กรัม ..........1.6 สารละลายกรดอะซิติก เข้มข้นร้อยละ 12 โดยมวล หมายถึง ในน้ํา 100 กรัม มีกรด อะซิติกอยู่ 12 กรัม ..........1.7 น้ําส้มสายชูเข้มข้นร้อยละ 8 โดยมวล หมายถึง มีกรดอะซิติกอยู่ 8 กรัม ในสารละลาย 100 กรัม ..........1.8 ทิงเจอร์ไอโอดีน เข้มข้น 10 โมแลล หมายถึง มีไอโอดีน 10 โมล ในเอทานอล 100 cm3 ..........1.9 สารละลาย HCl 0.5 M หมายถึง ในน้ํา 1,000 cm3 มี HCl อยู่ 0.5 โมล ..........1.10 สารละลาย NaOH 0.5 m หมายถึง ในน้า 1,000 kg มี NaOH อยู่ 0.5 โมล ํ 2. เมื่อละลายน้ําตาลกลูโคส ( C6H12O6 ) 20 กรัม ในน้ากลั่น 100 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้นเป็นร้อยละโดย ํ มวลของสารละลายที่ได้ 3. น้ําส้มสายชู 50 กรัม มีกรดอะซิติกละลายอยู่ 4 กรัม ถ้าน้ําส้มสายชูมีความหนาแน่น 1.13 g/cm3 น้ําส้มสายชู นี้เข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเท่าใด 4. กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นมีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 และมี HCl 30 % โดยน้ําหนัก จงคํานวณหาน้ําหนัก HCl ใน สารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตร 1 L 5. จงตอบคําถามต่อไปนี้ในหน่วย ppm หรือ ppb ก. Hg 1 mg ละลายน้ํา 1 kg คิดเป็นหน่วยความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนัก ข. SO2 0.1 cm3 ละลายน้ํา 105 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยปริมาตร ค. O2 10 mg ละลายน้ํา 100 L คิดเป็นความเข้มข้นเท่าใดโดยน้ําหนักต่อปริมาตร 6. นมผงที่บรรจุในกระป๋องชนิดหนึ่งมี Pb เจือปนอยู่ 3.2 ppm จงคํานวณหาว่าในขวดนมขนาด 470 cm3 จะมี Pb อยู่กี่กรัม 7. จงคํานวนหาโมลาริตีของสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10% โดยน้ําหนัก ซึ่งมีความหนาแน่น 1.07 g/cm3 8. จะต้องใช้กลูโคสหนักกี่กรัม เพื่อเตรียมสารละลายเข้มข้น 0.5 m โดยใช้น้ํา 200 g เป็นตัวทําละลาย 9. จงคํานวนหาเศษส่วนโมลของ NaCl และ H2O ในสารละลาย NaCl เข้มข้น 3.0 m 10. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยเอทานอล ( C2H5OH ) 92 กรัม และน้ํา 180 กรัม จงคํานวณหาความเข้มข้น ของสารละลายในหน่วยต่อไปนี้ ( เอทานอลมีความหนาแน่น 0.79 g/cm3 และน้ํามีความหนาแน่น 1 g/cm3 ) ก. Molal ข. Molar ค. Mole Fraction ง. ร้อยละโดยโมล
  • 2. ปริมาณสัมพันธ์ อ.จตุภรณ์ สวัสดิ์รักษา แบบฝึกหัดที่ 4-5 เรื่องการเตรียมสารละลาย 1. ในการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จํานวน 5 ลิตร จะต้องใช้ NaOH กี่กรัม 2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.05 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 จากสารละลายซึ่งเข้มข้น 0.2 mol/dm3 ก. จะต้องใช้สารละลายเลด (II) ไนเตรต 0.2 mol/dm3 ปริมาตรเท่าใด ข. สารละลายที่เจือจางแล้วมีเลด (II) ไนเตรตละลายอยู่กี่กรัม 3. จะต้องตวงสารละลาย HCl เข้มข้นปริมาตรเท่าใดเพือเตรียมสารละลาย HCl เข้มข้น 12% จํานวน 50 cm3 ่ ความเข้มข้นของสารละลาย HCl เข้มข้นคือ 37.2 % มีความหนาแน่น 1.19 g/cm3 ส่วนสารละลาย HCl เข้มข้น 12.0% มีความหนาแน่น 1.11 g/cm3 4. จะต้องใช้สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 10.0 M ปริมาตรเท่าใด เพื่อเตรียมสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 0.2 M จํานวน 200 cm3 5. จงคํานวณหาปริมาตรของสารละลาย HNO3 เข้มข้น 70% (ความหนาแน่น 1.42 g/cm3) ทีใช้เตรียม ่ 3 สารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.00 M จํานวน 500 cm 6. มีสารละลายกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 1 mol/L จํานวน 200 cm3 เมื่อแบ่งมาเพียง 50 cm3 แล้วไปเติมน้ําเป็น 200 cm3 ถ้าแบ่งสารละลายใหม่ที่ได้มา 10 cm3 จะมีเนื้อกรดซัลฟูรกกี่กรัม ิ 7. ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย HNO3 เข้มข้น 1.0 M ให้มปริมาตร 14 L โดยเติมกรด HNO3 เข้มข้น 15 M ี ลงในกรด HNO3 เข้มข้น 2.0 M จํานวน 1.25 L จะต้องใช้กรด HNO3 เข้มข้น 15 M ปริมาตรเท่าใด 8. เมื่อนําสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 0.1, 0.3 และ 0.5 mol/dm3 จํานวน 300 250 และ 50 cm3 ตามลําดับ มาผสมกัน สารละลายผสมที่ได้เข้มข้นกี่ mol/dm3 9. จะต้องนําสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 mol/L และสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/L อย่างละกีลิตรมาผสมกันจึงจะได้สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/L จํานวน 2 L ่ (ข้อสอบ Ent)