SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
87
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติศาสตร์น่ารู้ ระยะเวลาในการสอน......................ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด
ป. 4/1	 นับช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ
ป. 4/2	 อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติโดยสังเขป
ป. 4/3	 แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น
ป. 5/1	 อธิบายความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย
ป. 5/2	 นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต
ป. 5/3	 อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น
ป. 6/1	 อธิบายความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย
ป. 6/2	 นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต
2. 	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 1. 	บอกความแตกต่างของการนับวัน เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษได้
	 2.	อธิบายยุคสมัยในการศึกษาทางประวัติศาสตร์ได้
	 3.	เปรียบเทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์และการใช้คำเพื่อนับช่วงเวลาได้
	 4.	เล่า และอธิบาย ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น และในประเทศไทยได้ (โดยศึกษา
จากประวัติศาสตร์)
	 5.	บอกความสำคัญ และวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ได้
	 6.	อธิบาย แยกแยะ ความแตกต่าง ระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้
	 7.	ตั้งประเด็นคำถามทางประวัติศาสตร์ และบอกข้อดี ข้อจำกัดของหลักฐานชั้นต้นและชั้นรองทาง
ประวัติศาสตร์ได้
	 8.	ศึกษา และรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล
	 9.	นำเสนอข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อทำความเข้าใจเรื่องราวในอดีตได้
	 10.	ระบุเหตุและผล รวมทั้งผลกระทบที่หลากหลายของเหตุการณ์ต่างๆ ได้
88
3.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
1.	 คุณครูและนักเรียนร่วมกันศึกษาความเป็นมาของประวัติศาสตร์ไทยจากหนังสือ
ภาพ ภาพถ่าย แผนภูมิ ซีดี จากสื่อหลากหลายที่คุณครูและนักเรียนช่วยกันจัดหา
มา
		 จากการอ่านประวัติศาสตร์ตามที่คุณครูกำหนดให้ นักเรียนสามารถบอก
ความแตกต่างของการนับวัน เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษได้ ทั้งนี้
เรื่องราวในประวัติศาสตร์ตอนนั้นมีตัวเลขบอกเป็นจุลศักราช พุทธศักราช ฯลฯ
พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับปฏิทิน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเขียนรายงานเป็น
ประวัติศาสตร์กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงเทพฯ ประกอบการเรียนรู้
ปฏิบัติตามโรงเรียนต้นทาง
–	 ศึกษา ค้นคว้าประวัติศาสตร์
ของชุมชนของนักเรียน
–	 นำเสนอหน้าชั้นเรียนและ
รวบรวมเป็นเล่ม
2.	 ศึกษาประวัติเมืองหลวงต่างๆ ของไทย รวมทั้งเมืองที่นักเรียนอาศัยอยู่ มี
เหตุการณ์สำคัญอะไรบ้าง เกิดขึ้นเมื่อไร มีภาพประกอบ
		 การศึกษา ควรแบ่งกลุ่มนักเรียนไปศึกษาเรื่องแตกต่างกัน เช่น กลุ่มที่ 1
ศึกษาเรื่องกรุงสุโขทัย กลุ่มที่ 2 ศึกษาเรื่องกรุงศรีอยุธยา และพระมหากษัตริย์/
เหตุการณ์ กลุ่มที่ 3 ศึกษาเรื่องกรุงธนบุรี และพระเจ้าตากสินมหาราช กลุ่มที่ 4
ศึกษาเรื่องกรุงเทพมหานคร และพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเหตุการณ์
สำคัญๆ กลุ่มที่ 5 ศึกษาเรื่องประวัติเมืองสำคัญอื่นๆ หรือเมืองที่นักเรียนอาศัยอยู่
ในหัวข้อต่างๆ เช่น ก่อตั้งเมื่อไร มีความสำคัญอย่างไร ภูมิประเทศ ประวัติศาสตร์
ที่สำคัญ ฯลฯ
		 กลุ่มนักเรียนรายงานหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อธิบายความ
สัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นและในประเทศไทย


–	 ศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์
ชาติไทยสมัยต่างๆ
–	 นำเสนอหน้าชั้นเรียนและ
รวมเล่ม
–	 แลกเปลี่ยนเรียนรู้
–	 จัดนิทรรศการ
3.	 ศึกษาประวัติศาสตร์ที่มีเหตุการณ์สำคัญๆ ของประเทศไทย เช่น
	 3.1	 สมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนเสียกรุงทั้ง 2 ครั้ง เพราะเหตุใด วิเคราะห์ข้อเท็จจริง
เปรียบเทียบกับเหตุการณ์บ้านเมืองในสมัยปัจจุบัน
	 3.2	 สงครามกู้ชาติ ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมัยพระเจ้าตากสิน
มหาราช
	 3.3	 สงคราม 9 ทัพ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
	 3.4	 การสร้างบ้านแปลงเมือง ในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี (คนไทยถูก
กวาดต้อนไปเป็นเชลยศึกที่พม่ามากถึง 30,000 คน) ผู้คนจากไพร่บ้าน
พลเมือง พระบรมวงศานุวงศ์ พระมหากษัตริย์ บ้านเมืองเต็มไปด้วยซาก
ปรักหรักพัง เถ้าถ่าน ผสมเลือดและชีวิต (จากจดหมายเหตุ มหากษัตรา
ธิราชฯ - กีรติ เกียรติยากร บรรณาธิการ) และความหมายของชื่อเต็มของ
กรุงเทพฯ	
	 3.5	 การตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี สมัยพระเจ้าตากสินมหาราช

–	 วิเคราะห์เหตุการณ์บ้านเมือง
ปัจจุบัน เปรียบเทียบกับสมัย
ใดบ้างในประวัติศาสตร์
–	 รวบรวมธรรมะเกี่ยวกับการ
รู้รักสามัคคี
–	 มีความสำคัญต่อคนในชาติ
หรือไม่ เพราะเหตุใด
–	 รวบรวมพระบรมราโชวาท
พระราชดำรัสที่สอนในเรื่อง
นี้
89
ภาคผนวก
ความคิด ความเชื่อ และศาสนา
เมื่อเริ่มมีมนุษยชาติขึ้นในโลก มนุษย์ก็เชื่อว่ามีอำนาจบางอย่างอยู่เหนือโลกที่เราอาศัยอยู่ ศาสนาต่างๆ ได้ทำให้
ความเชื่อนี้มีสาระ จริงจัง และถาวร ก่อให้เกิดพิธีกรรมและศาสนพิธีที่ซับซ้อน ขณะที่นักการศาสนาได้เถียงกันเรื่องสัจ
ธรรม นักปรัชญาก็พยายามทำความเข้าใจโลก ในเชิงวัตถุธรรม โดยถือตรรกศาสตร์เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้และ
ความมั่นใจในความรู้นั้น
ศิลปะและการออกแบบ
ศิลปะ คือการแสดงออกทางอารยธรรมที่ประจักษ์ได้ด้วยสายตา ทุกยุค ทุกสมัย ล้วนมีมรดกทางศิลปะไว้เป็น
ที่จดจำ รำลึกถึงจิตรกรและประติมากร ทำให้เราปีติและตื่นตาตื่นใจไปกับผลงานที่แสดงออกถึงตัวตนของพวกเรา 

และขณะเดียวกันก็สะท้อนภาวะต่างๆ ของมนุษย์ด้วย ช่างภาพ บันทึกความเปลี่ยนแปลงทางสังคมขณะที่จับภาพอารมณ์
และเหตุการณ์ในแต่ละช่วง นักออกแบบจัดรูปทรงและแต่งแต้มสีสันให้กับโลกประจำวันของเรา และมีบทบาท

ต่อเสื้อผ้าที่เราสวมใส่ และบ้านที่เราอยู่อาศัย ถ้าปราศจากศิลปินเหล่านี้ ชีวิตของเราคงอับเฉาและหม่นมัว
สถาปัตยกรรมและวิศวกรรม
ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ที่จะมีที่พักพิงอาศัยและความปรารถนาที่จะบูชาเทพเจ้า ก่อให้เกิดสิ่ง

ปลูกสร้างหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่บ้าน และอาคารสำนักงาน ไปจนถึงโบสถ์ วิหาร และพระราชวัง สิ่งปลูกสร้าง

ทั้งหลายล้วนสะท้อนวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผู้สร้างและผู้ใช้สอย ความเชี่ยวชาญของวิศวกรช่วยสานความคิดฝัน

ของสถาปนิก หล่อหลอมความงามและประโยชน์ใช้สอยเข้าด้วยกัน
สังคมมนุษย์
สมองมนุษย์ที่วิวัฒนาการไปมากกว่าสัญชาตญาณตามธรรมชาติ ดังที่พบในสัตว์อื่นๆ ทำให้บรรพบุรุษของเรา
สามารถสร้างภาษาที่ซับซ้อน และรู้จักการตั้งถิ่นฐาน เป็นชุมชนที่เป็นระเบียบ สังคมแต่ละแห่งในโลก พัฒนามาต่างกัน
ตามเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของตน แต่ทุกสังคมมีสายใยของระบบเครือญาติที่ละเอียดซับซ้อน และมี
พิธีกรรมที่บ่งบอกว่าคนแต่ละคนจะมีช่วงเปลี่ยนแปลงในชีวิตแต่ละขั้นอย่างไร
ชาวอะบอริจินัล ชนพื้นเมือง มนุษย์กลุ่มแรกที่ตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลีย มีจำนวนราว 750,000 คน เมื่อ
ชาวยุโรปอพยพไปตั้งรกรากใน ค.ศ. 1788 คำว่าอะบิริจินัลยังอาจหมายถึง กลุ่มชนพื้นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของดินแดนใดๆ
ก็ได้ เขายังชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บของป่า (Hunter-gathere) อพยพมาจากตอนใต้ของทวีปเอเชีย เมื่อ 50,000 - 60,000
ปีมาแล้วเป็นอย่างน้อย ปัญหาหลักของพวกเขาคือเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เขามีชีวิตผูกพันกับเรื่องวิญญาณที่เกี่ยวข้อง

กับ “ห้วงฝัน” ซึ่งเป็นช่วงเวลาอันรุ่งโรจน์ของการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เมื่อครั้งที่ต้นไม้ สัตว์ และมนุษย์ถือกำเนิดขึ้นใน
โลก ในอดีตนั้น เขามีภาษาพูดต่างกันถึง 600 ภาษา (ปัจจุบันได้สูญหายไปแล้วถึง 2 ใน 3) และยังมีวัฒนธรรมที่แตกต่าง
หลากหลายกันมาก แต่พวกเขาก็รู้สึกถึงความเป็นพวกเดียวกันอย่างเหนียวแน่น
90
วัฒนธรรม (Culture)
ทัศนะ แบบแผน ขนบธรรมเนียม ความเชื่อ และคุณค่าที่ทำให้คนกลุ่มหนึ่งแตกต่างจากกลุ่มอื่น วัฒนธรรม
ถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งด้วยการใช้ภาษา วัตถุสิ่งของ พิธีกรรม สถาบันและด้านอื่นๆ ของชีวิตประจำวัน
นักมานุษยวิทยาเห็นว่า สิ่งที่เป็นหัวใจของวัฒนธรรม คือ การใช้ภาษา การทำเครื่องมือเครื่องใช้ และการควบคุม

จัดระเบียบความประพฤติ เป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์
ประวัติศาสตร์โลก
โลกปัจจุบันก่อรูปร่างขึ้นจากเหตุการณ์ในอดีต จักรวรรดิและอารยธรรมมากมายเจริญรุ่งเรือง แล้วล่มสลายไป
สงครามนับครั้งไม่ถ้วนได้เปลี่ยนโฉมหน้าของแผนที่โลกมาโดยตลอด และการปฏิบัติครั้งแล้วครั้งเล่า ได้ส่งผลให้เกิด
สังคมที่เสรีหรืออาจเป็นสังคมที่กดขี่มากกว่าเดิม นอกจากนี้ ปัจเจกบุคคลอันหลากหลายไม่ว่าจะเป็นจูเลียส ซีซาร์
มหาตมะคานธี หรือเหมา เจ๋อตุง ต่างก็มีส่วนเปลี่ยนแปลงกระแสแห่งประวัติศาสตร์และส่งผลกระทบมาถึงตัวเรา ณ 

วันนี้ทั้งสิ้น
โลกและสิ่งแวดล้อม
โลกของเราผ่านมหาวัฏจักรแห่งการก่อกำเนิดและการทำลายล้างมากกว่า 4,000 ล้านปีแล้ว ชีวิตมนุษย์ยังคง
ขึ้นอยู่กับความปรานีของปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เราไม่อาจควบคุมได้ ทว่าความเข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อมที่มีมากขึ้น 

กลับกลายเป็นสิ่งท้าทายมิให้กิจกรรมนานาชนิดของมนุษย์ไปคุกคามสมดุลอันเปราะบางของธรรมชาติที่ค้ำจุนชีวิต

ทั้งหลายบนโลก
(คัดบางตอนจาก สารานุกรมรอบรู้รอบโลก, รีดเดอร์สไดเจสท์)
สมัยตำนานและนิทานปรัมปรา
ภาคใต้แหลมมลายู ไทย (Thai Malay Peninsula) เป็นดินแดนเก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมืองโบราณต่างๆ ถือกำเนิดขึ้น มักจะมีเทพนิยายเทวปกรณ์ (Myth) เช่นคัมภีร์ปัญจตันตระ หรือ
นิยายปกรณัม ของพราหมณ์อินเดียใต้ หรือเป็นตำนาน (Legend) หรือนิยายนิทานปรัมปราพื้นบ้าน (Folklore) บอกเล่า
เรื่องประวัติความเป็นมาประจำเมืองนั้นๆ เสมอ จนดูคล้ายกับจะเป็นดินแดนเทพนิยาย (Fairyland Kingdom) เป็นที่

สิงสถิตของเทพยดาเทวปกรณ์ หรือกลายเป็นอาณาจักรมหัศจรรย์แห่งยุคทอง เนื่องจากล้วนได้รับอารยธรรมความเจริญ
จากอินเดียมาแต่แรกตั้ง จากจีน และจากชนชาติอื่น ตามลำดับประวัติศาสตร์อันหลากหลายยาวนาน ในจินตนาการความ
ทรงจำจึงมีแต่ความศิวิไลซ์งดงาม เนื่องด้วยเอกลักษณ์ทางสภาพภูมิศาสตร์เป็นแหลมที่ยื่นยาวลงไปในทะเล ตั้งขวางอยู่
กึ่งกลางเป็นชุมทางแยก (Cross road) ระหว่างอินเดียกับจีน จึงเป็นศูนย์กลางแหล่งชุมชนตลาดการค้านานาชาติ หรือ

จุดนัดพบแลกเปลี่ยน ถ่ายทอด (Market Place) ระหว่างพ่อค้านักเดินทางจากตะวันตก กับตะวันออก ตลอดจนมีสภาพ
เป็นสะพาน (Land Bridge) สำหรับการอพยพเดินทางผ่านของผู้คนเผ่าต่างๆ นับแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ทั้งฝ่ายเหนือ (แผ่นดิน
ใหญ่) และดินแดนกลุ่มเกาะฝ่ายใต้ (Cluster) จำเป็นต้องอาศัยแหลมมลายูเป็นเส้นทางคมนาคมเดินทางขึ้นล่องผ่าน

ไปมาเสมอ แผ่นดินแหลมทองนี้จึงมีผู้คนตกค้างอยู่หลายรุ่น และปรากฏหลักฐานทางอารยธรรมมากมายหลายยุคสมัย
บ้านเมืองเป็นแบบพหุสังคม หรือสังคมที่มีหลายชนเผ่า มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม แต่มีความ
กลมกลืนอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ไม่มีการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง
91
เรื่องนิทานตำนานเป็นเรื่องพื้นฐาน เรื่องเก่าแก่ ที่มนุษย์จดจำแต่งขึ้นในมิติของกาลเวลา สถานที่ และ

เหตุการณ์อันต่างๆ กัน เจือปนอภินิหารจริงบ้างไม่จริงบ้าง เล่าต่อกันมาแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยประวัติศาสตร์
อิทธิพลอินเดีย 
อินเดียเป็นชาติที่มีอารยธรรมเก่าแก่และติดต่อกับชาติอื่นมาช้านาน รวมทั้งแหลมมลายูภาคใต้ หมู่เกาะ
อันดามัน (หนุมาน) หรือเกาะนาคา (นาคเปลือย) อันเป็นที่พระรามเคยมีดำริจะใช้เป็นฐานยกทัพไปตีกรุงลงกา
ในยุคแรก ชาวอินเดีย ชาวเปอร์เซีย อาหรับ ชาวยุโรป กรีก โรมัน จะรู้จักสุวรรณภูมิ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
ว่าเป็น “ดินแดนแห่งความฝัน” เต็มไปด้วยนิยายผจญภัย อยู่สุดขอบฟ้า เต็มไปด้วย “ทองคำ” มีในคัมภีร์ชาดก เช่นเรื่อง
พระมหาชนก
ชาวอินเดียมีบทบาทสำคัญที่สุดทั้งทางการค้าและศิลปวัฒนธรรม ได้เอาศาสนา ศิลปวิทยา และคติต่างๆ มา
เผยแพร่มากมาย เช่น คติเทวราชา ธรรมราชา การปกครองจักรมณฑล ชื่อบ้านนามเมือง การสืบสันตติวงศ์ การถือ
ศาสนาบรรพต ภาษา ตัวอักษร หนังสือวรรณคดี คัมภีร์ธรรมศาสตร์ จักรวรตติน ตำนานพระธาตุ ฯลฯ ชาวอินเดียได้มา
ตั้งรกรากแต่งงานกับคนพื้นเมืองกลายเป็นชนชาติพันธุ์ผสม และได้เป็นกษัตริย์ปกครองเมืองในสมัยเริ่มแรกด้วย ดังนั้น
จึงอาจเรียกวัฒนธรรมยุคแรกนี้ได้ว่าเป็นอารยธรรมยุคอินโด - มลาโยโปลินิเชี่ยนก็ได้ ทั้งพุทธและพราหมณ์ที่มาเผยแพร่
แข่งขันกัน ก็ไม่มีความขัดแย้งกัน จนผสมกลายเป็นฮินดู - พุทธ
อิทธิพลศรีวิชัย และชวามลายู
1.	 เรื่องกษัตริย์ หรือเจ้าเมือง ดั้งเดิมจำนวนไม่น้อยเป็นชาวชวาและมลายู เช่น เมื่อแรกตั้งเมือง 12 นักษัตร 

เจ้าเมืองต่างๆ มักเป็นคนมลายู เมืองไชยา เมืองพระเวียง (นคร) เมืองพัทลุง เมืองสงขลา ฯลฯ เนื่องจากความเป็น

เครือญาติกัน จึงมีความเกี่ยวพันกันสืบมา เพิ่งมาเริ่มห่างเหินกันเมื่อชาวมลายูปลายแหลมเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม
ในพุทธศตวรรษที่ 21 - 22 มานี้
2.	 เรื่องศรีวิชัย มีเขาศรีวิชัยอยู่ที่อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นปัญหาว่าเพิ่งเรียกหรือเรียกมาแต่
โบราณ
	 เรื่องอาณาจักรศรีวิชัย พ.ศ. 2469 สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตามแผนที่ภาพวัดบนคาบสมุทร
สทิงพระที่ขึ้นวัดพระโคะ เมืองพัทลุง พ.ศ. 2158 มีชื่อหมู่บ้าน “ศรีวิชัย” (ปัจจุบันเรียกศรีชัย) อยู่ใกล้คลองสทิงพระ
อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
3.	 ตำนาน มีนิทานพื้นบ้านเล่าที่มาของสถานที่ต่างๆ คล้ายกันว่า เมื่อครั้งโบราณน้ำทะเลท่วมสูงกว่าปัจจุบัน
มาก ภูเขาหลายลูกเคยเป็นเกาะอยู่ในทะเล เช่น “เขาสายสมอ” (ไชยา) “เขากำปั่น” (ยะลา) เรื่องการไปมาค้าขาย การ
แต่งงาน ประเพณี การละเล่น ฯลฯ ไทยกับมลายูแยกกันไม่ออก
อิทธิพลเขมร
1.	 เมืองพระเวียง มีหลายเมือง เช่น ตะกั่วป่า (อำเภอกะปง) ไชยา เวียงสระ และนครศรีธรรมราช มีมาก่อน
พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 เมื่ออิทธิพลเขมรเข้ามาทั้งทางการเมือง ภาษา และศิลปวัฒนธรรม ก็มาสวมบทบาททับเมืองเก่า
2.	 เมืองบันไทสมอ คือ เมืองไชยา ปัจจุบันพบหลักฐานทั้งโบราณวัตถุ โบราณสถาน ศิลาจารึก มีอายุ

พุทธศตวรรษที่ 15 - 16 จนถึงสมัยนครวัด นครธม จำนวนมาก รวมทั้งศิลปะจามปา
92
3.	 เมืองสะทิงพระ หรือจะทิ้งพระ พบศิลปกรรมเขมรหลายอย่าง แม้ในชั้นอยุธยา ยังพบจารึกกัลปนาภาษา
เขมร ในย่านนี้ด้วย
4.	 เมืองตระชน คือ บ้านนาขอม ตำบลสิชล อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ตำนานว่ามีเรือสำเภาเข้ามา
จอดค้าขายเสมอ
อิทธิพลลังกา
1.	 เรื่องนางเลือดขาว หรือแม่เจ้าอยู่หัว
2.	 เรื่องตำนานพระธาตุ เรื่องพระบาท
3.	 เรื่องพระเจ้าศรีธรรมโศกราช (เรียกชื่อกษัตริย์ที่ครองนครทุกองค์)
4.	 เรื่องการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์
5.	 เรื่องกา 4 เหล่า
6.	 เรื่องกำเนิดพระพุทธรูปและสิ่งศักดิ์สิทธิ์
7.	 เรื่องพระบฏ และประเพณีแห่ผ้าขึ้นห่มองค์พระธาตุ
8.	 เรื่องตำนานพิธีตรุษ (พิธีสวดภาณยักษ์) พิธีสารท (ทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษ)
*และยังมีอิทธิพลจีน อิทธิพลวีรบุรุษ อิทธิพลนิทานวรรณคดี และอิทธิพลพื้นบ้าน
(คัดบางตอนจาก แลใต้ ดูประวัติศาสตร์ในสุวรรณภูมิ : ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์)
หมายเหตุ
ภาคผนวกที่คัดบางตอนมาให้นี้ เพื่อเป็นตัวอย่างแก่คุณครูในการส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้า มิใช่ให้อ่านจาก
ตำราเล่มเดียว การได้ศึกษาจากหน่วยย่อย เช่น ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จะทำให้เข้าใจประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

ได้ง่ายขึ้น
ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้นักเรียนได้อ่านหนังสือหลายๆ เล่ม ในเรื่องเดียวกัน เพื่อให้รู้จักวิเคราะห์หาเหตุผล
หนังสือที่เป็นหลักในการค้นคว้า คือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ทั้งเล่มใหญ่ และฉบับเสริมการเรียนรู้
คุณครูควรได้อ่านทุกเล่ม และส่งเสริมให้เด็กได้อ่านนอกเวลา
_________________________________________
93
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ระยะเวลาในการสอน......................ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ป. 4/1	 อธิบายตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์โดยสังเขป
ป. 4/2	 ยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่พบในท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติ
ป. 5/1	 อธิบายอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีนที่มีต่อไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป
ป. 5/2	 อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
ป. 6/1	 อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน
ป. 6/2	 บอกความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป
2. 	จุดประสงค์การเรียนรู้
	 1. 	ศึกษาปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ยกตัวอย่างเช่น กรณีปราสาทเขา

พระวิหาร และบอก อธิบายข้อเท็จจริงได้ วิเคราะห์ข่าวได้
	 2.	ศึกษานโยบายต่างประเทศ บนเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และบอกได้ อธิบายได้
	 3.	บอกความหมายของอิโคโมส (ICOMOS มาจาก Internation Council on Monument and Site แปลว่า สภา
การโบราณสถานระหว่างประเทศ) และหน้าที่ได้
	 4.	ศึกษาและบอกสาเหตุปัญหาชายแดนไทยและเขมรได้
	 5.	ศึกษาและเขียนรายงานเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหารได้ ตามหัวข้อต่อไปนี้
		–	 ลักษณะภูมิอากาศ
		–	 พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า
		–	 ปราสาทเขาพระวิหาร
		–	 ปราสาทโดนตวล
		–	 ผามออีแดง
		–	 บาราย หรือ ทำนบสระตราว
			 ฯลฯ
94
3.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
1.	 นักเรียนรายงานข่าวที่รวบรวมเกี่ยวกับปราสาทเขาพระวิหาร และร่วมสนทนา
เกี่ยวกับปัญหาที่เกิด ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของปราสาทเขาพระวิหาร
ปฏิบัติตามโรงเรียนต้นทาง
–	กลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้าจาก
ข้อมูลสื่อต่างๆ ภาพต่างๆ และ
วิเคราะห์ปัญหาวิธีการป้องกัน
ปัญหาไม่ให้ลุกลามใหญ่โต
–	ศึกษาจากปัญหาชายแดนใน

ท้องถิ่น (ถ้ามี) และควรป้องกัน
อย่างไร
–	การให้ข้อมูลนักเรียน ควรค้น
คว้าจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
และตรงไปตรงมา
–	ศึกษาธรรมะประกอบในการ
ตัดสินข้อมูลข่าวสาร ดังต่อไปนี้
1.	 คนผู้เป็นสัตว์ประเสริฐ
พัฒนาตน โดยเฉพาะเด็กและ
เยาวชนผู้เป็นสมาชิกใหม่ของ
มนุษยชาติ พึงมีคุณสมบัติต้นทุน
7 ประการ
1.	 กัลยาณมิตร แสวงแหล่งปัญญา

และแบบอย่างที่ดี
2.	 สีลสัมปทา (ทำศีลให้ถึงพร้อม)

มีวินัยเป็นฐานของการพัฒนา
ชีวิต
3.	 ฉันทสัมปทา (ทำฉันทะให้ถึง
พร้อม) มีจิตใจใฝ่รู้ ใฝ่สร้าง
สรรค์
4.	 อัตตถสัมปทา (ทำตนให้ถึง
พร้อม) มุ่งมั่น ฝึกตนเองจน
เต็มสุดภาวะที่ความเป็นคนจะ
ให้ถึงได้
5.	 ทิฏฐิสัมปทา คือหลักเหตุปัจจัย

มองอะไรตามเหตุและผล
2.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันศึกษา ค้นคว้า เขียนแผนที่ หาภาพจากหนังสือพิมพ์ 

อินเตอร์เน็ต มาจัดบอร์ด
3.	 เขียนผังความคิด (Mind Mapping) เกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร เช่น
(สำหรับคุณครู)












4.	 ถ้าไม่สามารถจัดในเวลาได้ ควรจัดกิจกรรมนอกเวลา เช่น เชิญวิทยากรมา
บรรยาย ศึกษาจากห้องสมุดโรงเรียนและชุมชน สัมภาษณ์ผู้รู้หลายๆ กลุ่ม
		 รวบรวมข้อมูล จัดทำสมุดภาพ เขียนรายงาน บอกแหล่งที่มา เช่น ข้อมูลจาก
รัฐบาล จากการอภิปรายของพรรคฝ่ายค้าน ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ ข้อมูลจาก
อินเตอร์เน็ต ฯลฯ เพื่อให้นักเรียนได้วิเคราะห์ข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่หลงเชื่อโดยง่าย
เป็นผู้มีเหตุผล และมีวิจารณญาณ
5.	 กลุ่มนักเรียนช่วยกันสรุป เขียนรายงาน และรายงานหน้าชั้น พร้อมจัด
นิทรรศการ ข้อมูลที่นำเสนออาจหลากหลาย เพื่อทำความเข้าใจเรื่องราวในอดีต
อาจสรุปเป็นความคิดเห็นที่แตกต่าง แต่ควรวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริง เพื่อหาข้อ
แก้ไข รวมถึงระบุเหตุและผล คือผลกระทบต่อประเทศไทย ต่อประชาชน
ชายแดนที่ตามมา และเสนอวิธีแก้ปัญหาที่ไม่ใช้ความรุนแรง แต่ให้รู้เท่าทันโลก
6.	 ทำโครงงานเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์
7.	 วิเคราะห์หน้าที่และคุณธรรมของผู้บริหาร ทหาร กองทัพไทย ผู้นำท้องถิ่น
ประชาชน นักเรียน
ปราสาทเขาพระวิหาร
ปราสาทโดนตวล
ผามออีแดง
ภาพสลักนูนต่ำ
ช่องอานม้า
สถูปคู่
เขาสัตตะโสม
บารายหรือสระตราว
เขื่อนห้วยขนุน
แหล่งตัดหิน
น้ำตกไทรย้อย
ถ้ำฤาษี
ช่องตาเฒ่า
ช่องโพย
สภาพภูมิประเทศ
น้ำตกห้วยตา
พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า
ลักษณะภูมิประเทศ
อุทยานแห่งชาติ
เขาพระวิหาร
95
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
8.	 วัดผล - ประเมินผล จากการแสดงความคิดเห็น ผลงาน - โครงงาน การร่วม
ทำงานกลุ่ม การพูด การอภิปราย และการรักษาสมบัติของส่วนรวม
6.	 อัปปมาทสัมปทา ตั้งตนอยู่ใน
ความไม่ประมาท
7.	 โยนิโสมนสิการสัมปทา ฉลาด
คิด แยบคาย ให้ได้ประโยชน์
และความจริง
ภาคผนวก
นโยบายต่างประเทศ
เป็นกรอบที่รัฐใช้สำหรับดำเนินปฏิสัมพันธ์กับตัวแสดงอื่นๆ บนเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยมี

เป้าหมายสำคัญอยู่ที่การรักษาและแสวงหาผลประโยชน์ขั้นพื้นฐาน ได้แก่
1.	การรักษาความมั่นคงของเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งดินแดน
2.	การพัฒนาความเจริญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
3.	การรักษาและสร้างเสริมชื่อเสียงเกียรติภูมิของชาติ (จาก บทนำ : นโยบายต่างประเทศของไทย ศึกษา
กระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา; ผลงานวิจัย 

นายสุนัย ผาสุข)
ประเทศในเอเชียอาคเนย์ ซึ่งมีถิ่นที่ตั้งในคาบสมุทรอินโดจีน ก็มีสภาพไม่แตกต่าง พม่าและมาเลเซียกลายเป็น
เมืองขึ้นของอังกฤษ ขณะที่ญวน ลาว และเขมร ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส
มีเพียงราชอาณาจักรสยาม หรือประเทศไทยของเราเพียงประเทศเดียวที่สามารถรอดปากเหยี่ยวปากกาในช่วง
นั้นมาได้ด้วยความปรีชาสามารถของบรรพบุรุษไทย โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5)
แต่กระนั้นเพื่อแลกกับเอกราชของชาติไทยโดยรวม บางครั้งก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเฉือนเขตแดนจำนวนหนึ่งให้กับ
ฝรั่งเศสและอังกฤษ
แต่การสูญเสียดินแดนที่สร้างความเจ็บช้ำให้กับประเทศไทยมากที่สุดของประวัติศาสตร์ชาติไทยน่าจะหนี

ไม่พ้นการสูญเสียอธิปไตยเหนือเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” เพราะไม่ได้เกิดขึ้นจากความจำเป็นที่ต้องเฉือนดินแดน
บางส่วนเพื่อแลกกับความอยู่รอดโดยรวมของประเทศ
แต่เป็นการสูญเสียดินแดนที่เกิดขึ้นจากความไว้วางใจและความอ่อนประสบการณ์ของประเทศในสมัยนั้นที่ยัง
ไม่มีความชำนาญในการจัดทำแผนที่ดีพอ
การปักปันเขตแดนใหม่ระหว่างไทยและฝรั่งเศส ในปี 2450 ฝรั่งเศสจึงเป็นผู้จัดทำแผนที่แต่เพียงผู้เดียว และได้
ตัดพื้นที่เขาพระวิหารที่เป็นของไทยตามสนธิสัญญาที่ใช้ “สันปันน้ำ” ในการแบ่งเขตแดน ให้กลายเป็นเขตแดนของ
กัมพูชา และยังเป็นหลักฐานสำคัญซึ่ง “ศาลโลก” ตัดสินให้ไทยแพ้คดีในปี 2505 ซึ่งไทยสงวนสิทธิไม่ยอมรับ (คำนำเขา
พระวิหาร : อนุชา แป๊ะพรรณวรรณ แห่ง นสพ. ไทยรัฐ)
96
อิโคโมส เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ในการประเมิน ICOMOS เป็นคำย่อ คำว่า อิ ตัวไอภาษาฝรั่งเศสออกเสียงว่า อิ
มาจากคำว่า Internation Council on Monument and Site ถ้าแปลเป็นภาษาไทย “สภาการโบราณสถานระหว่างประเทศ”
องค์กรนี้เป็น NGO เป็นองค์กรอิสระที่เขาต้องการให้เป็นองค์กรที่ไม่ขึ้นกับใครเลย เพราะว่าต้องการความเป็นกลางใน
การมาช่วยประเมินแหล่งมรดกโลก แต่ในทางปฏิบัติจริง ในกรณีเขาพระวิหาร มันก็หลีกเลี่ยงเรื่องการเมืองไปไม่พ้น แต่
ว่าโดยความตั้งใจโดยหลักการแล้ว มันต้องเป็นองค์กรอิสระซึ่งมิได้มีหน้าที่โดยตรงสำหรับการประเมินมรดกโลกเท่านั้น
แต่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการประชาสัมพันธ์แนวคิดเรื่องการอนุรักษ์โบราณสถานให้กระจายทั่วไป
ซึ่งพอเกิดองค์กรนี้ขึ้นมา ประเทศไทยเราได้สมัครเป็นสมาชิก เนื่องจากปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศสมาชิกทั้งหลายยังมี
นโยบายใหม่ขึ้น ให้กระตุ้นให้ประชาชนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ด้วย แทนที่จะมีแต่นักวิชาการชั้นสูงที่คอยให้
คำปรึกษาอย่างเดียว เพื่อให้เครือข่ายในประเทศของเราแข็งแรง ให้ความรู้ทุกระดับ สร้างกิจกรรมทุกรูปแบบ ให้
ประชาชนทั่วไปได้เข้ามาสัมผัสกับโบราณสถาน ให้ได้รับข้อมูลที่น่าสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความไม่ชอบมาพากล

บางประการในการประเมินคุณค่ามรดกโลกของยูเนสโก การประเมินเขาพระวิหารเป็นมรดกโลก เบื้องต้นเขาติดต่อ
มาที่อิโคโมสไทย เราก็ส่งชื่อคนไปให้เขา แต่กลายเป็นอินเดียเป็นผู้ประเมิน
รายงานการประเมินเป็นประเด็น แม้ว่าโดยข้อเท็จจริงคนที่ทำข้อมูลนี้เขารู้หรือไม่รู้ว่า ปราสาทเขาพระวิหาร
มันไม่ได้จบแค่ตัวอาคาร แต่มันยังหมายถึงโบราณสถานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่มันต่อเนื่องและเข้ามาอยู่ในเขตไทยจริงๆ มัน
เป็นบริบทเดียวกัน มันควรจะกล่าวถึงในลักษณะทางวิชาการที่เป็นหนึ่งเดียวกัน เอกสารทางวิชาการที่เขาเขียนไม่
พยายามบิดเบือนว่าโบราณสถานที่อยู่ล้ำเส้นเขตแดนเข้ามา ไม่มีอะไรสำคัญต่อเนื่องกับเขาเลย เขากลับไปเมคข้อมูลทาง
วิชาการขึ้นมา เพื่อให้มันเป็นประโยชน์ต่อกัมพูชา เขาได้เปลี่ยนแปลงข้อมูลทางวิชาการเพื่อให้เห็นว่า เขตที่เขาเสนอ
เท่านั้นที่มีความสำคัญ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเขามีความชอบธรรมที่จะได้ครอบครองมรดกโลกแห่งนี้แต่เพียงฝ่ายเดียว
เท่านั้น
จริงๆ แล้วมันมีข้อมูลทางวิชาการหลายอย่างที่ผิดพลาด ยกตัวอย่าง สระตราว มันคือบารายของปราสาท มัน
คือสิ่งที่สร้างขึ้นมาโดยมนุษย์พร้อมกับการก่อสร้างปราสาทพระวิหาร เพื่อให้เป็นแหล่งน้ำ น้ำศักดิ์สิทธิ์ในการประกอบ
ศาสนกิจของปราสาท เขาก็กลับให้ข้อมูลว่ามีสระน้ำอยู่ในฝั่งไทย แต่เป็นสระน้ำธรรมชาติ หรือทางขึ้นซึ่งเราเห็นว่ามี
บันไดขนาดใหญ่ มีหัวนาคประดับอยู่อย่างใหญ่โต ก็กลับบอกว่าอันนี้เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นในยุคหลัง
ฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพาทิศกลับถูกกีดกัน ไม่ให้เข้าร่วมทีมงานทั้งๆ ที่เป็นผู้รู้จริงเรื่องเขมร กลับเป็นเจ้าหน้าที่
จากกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งเป็นฝ่ายตรงข้าม ในการเมืองระดับภายในประเทศของฝรั่งเศสเอง
จริงๆ แล้วคุณค่าของปราสาทพระวิหาร สมควรจะเป็นมรดกโลกอย่างยิ่ง ด้วยที่ตั้ง ปราสาทเขาพระวิหาร ตั้ง
อยู่บนภูเขาซึ่งเป็นหน้าผาด้านหนึ่ง มีการออกแบบที่เน้นการเข้าถึงเป็นระยะๆ แต่สิ่งที่คนนึกถึงไม่ได้นึกถึงปราสาทจริงๆ
ตราบใดก็ตามที่ยังมีข้อตกลงเรื่องเขตแดนที่ชัดเจนไม่ได้ พื้นที่ที่อ้างสิทธิของสองประเทศ มันก็จะเป็นประเด็นอยู่ตลอด
ไม่สามารถบริหารจัดการ คือ ไม่สามารถซ่อมแซมปราสาทได้ ถ้าไทยเราไม่ทำอะไร ยอมให้เขาผ่านไป ก็เท่ากับเราเสีย
อำนาจอธิปไตยในดินแดนนั้นไป
(บางตอน วสุ โปษยะนันทน์ : คุณค่าชีวิตในความวิจิตรของวันวาน; 

สกุลไทย รายสัปดาห์, ฉบับที่ 2813, 16 กันยายน 2551)
97
อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร
ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เขาพระวิหาร จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดอุบลราชธานี
สภาพภูมิประเทศทั่วไป
ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาตามแนวทิวเขาพนมดงรัก กั้นชายแดนไทย - กัมพูชา พื้นที่ปกคลุมด้วยป่าดิบแล้ง 

ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง มีสัตว์ป่าจำนวนมาก มีเนื้อที่ 81,250 ไร่ เป็นพื้นที่ป่าไม้ชายแดนเพื่อการอนุรักษ์ ห้าม

เข้าไปและอาศัยอยู่โดยเด็ดขาด เนื่องจากเป็นป่าไม้และเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร มีโบราณสถานสำคัญทางประวัติศาสตร์
ปราสาทเขาพระวิหาร
ตั้งอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก (ดองเร็ก) ภาษาเขมรแปลว่า ภูเขาไม้คาน กั้นพรมแดนไทยกับกัมพูชา มีความสูง
จากพื้นดิน 547 เมตร
**อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร มีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจและมีความสำคัญในด้านประวัติศาสตร์ และ
ความสวยงามของทัศนียภาพที่อยู่ในฝั่งไทย และสามารถเดินทางท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ประกอบด้วยปราสาทโดนตวล
ผามออีแดง ภาพสลักนูนต่ำ สถูปคู่ บาราย หรือทำนบสระตราว แหล่งตัดหิน ถ้ำฤาษี ช่องตาเฒ่า ช่องโพย น้ำตกและ

ถ้ำขุนศรี ช่องอานม้า ฯลฯ
(คัดบางตอนจาก เขาพระวิหาร : อนุชา แป๊ะพรรณวรรณ)
_________________________________________

More Related Content

What's hot

แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือPatcharaporn Aun
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 

What's hot (20)

แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...Prachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 

Viewers also liked (6)

แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-hisแผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
แผนการจัดการเรียนรู้สังคม ป.5+579+T1 p4 6-u01-his
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่่วโมง ป.1-3 หน่วย1-3+443+dltvsocp3+T1 p1 3-...
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

Similar to แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his

บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 

Similar to แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his (20)

บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
History 1
History 1History 1
History 1
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
หลักสูตร Pck
หลักสูตร Pckหลักสูตร Pck
หลักสูตร Pck
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his

  • 1. 87 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติศาสตร์น่ารู้ ระยะเวลาในการสอน......................ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ป. 4/1 นับช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ป. 4/2 อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติโดยสังเขป ป. 4/3 แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น ป. 5/1 อธิบายความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ป. 5/2 นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต ป. 5/3 อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น ป. 6/1 อธิบายความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ป. 6/2 นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความแตกต่างของการนับวัน เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษได้ 2. อธิบายยุคสมัยในการศึกษาทางประวัติศาสตร์ได้ 3. เปรียบเทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์และการใช้คำเพื่อนับช่วงเวลาได้ 4. เล่า และอธิบาย ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น และในประเทศไทยได้ (โดยศึกษา จากประวัติศาสตร์) 5. บอกความสำคัญ และวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ได้ 6. อธิบาย แยกแยะ ความแตกต่าง ระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้ 7. ตั้งประเด็นคำถามทางประวัติศาสตร์ และบอกข้อดี ข้อจำกัดของหลักฐานชั้นต้นและชั้นรองทาง ประวัติศาสตร์ได้ 8. ศึกษา และรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล 9. นำเสนอข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อทำความเข้าใจเรื่องราวในอดีตได้ 10. ระบุเหตุและผล รวมทั้งผลกระทบที่หลากหลายของเหตุการณ์ต่างๆ ได้
  • 2. 88 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 1. คุณครูและนักเรียนร่วมกันศึกษาความเป็นมาของประวัติศาสตร์ไทยจากหนังสือ ภาพ ภาพถ่าย แผนภูมิ ซีดี จากสื่อหลากหลายที่คุณครูและนักเรียนช่วยกันจัดหา มา จากการอ่านประวัติศาสตร์ตามที่คุณครูกำหนดให้ นักเรียนสามารถบอก ความแตกต่างของการนับวัน เวลา เป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษได้ ทั้งนี้ เรื่องราวในประวัติศาสตร์ตอนนั้นมีตัวเลขบอกเป็นจุลศักราช พุทธศักราช ฯลฯ พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับปฏิทิน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเขียนรายงานเป็น ประวัติศาสตร์กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงเทพฯ ประกอบการเรียนรู้ ปฏิบัติตามโรงเรียนต้นทาง – ศึกษา ค้นคว้าประวัติศาสตร์ ของชุมชนของนักเรียน – นำเสนอหน้าชั้นเรียนและ รวบรวมเป็นเล่ม 2. ศึกษาประวัติเมืองหลวงต่างๆ ของไทย รวมทั้งเมืองที่นักเรียนอาศัยอยู่ มี เหตุการณ์สำคัญอะไรบ้าง เกิดขึ้นเมื่อไร มีภาพประกอบ การศึกษา ควรแบ่งกลุ่มนักเรียนไปศึกษาเรื่องแตกต่างกัน เช่น กลุ่มที่ 1 ศึกษาเรื่องกรุงสุโขทัย กลุ่มที่ 2 ศึกษาเรื่องกรุงศรีอยุธยา และพระมหากษัตริย์/ เหตุการณ์ กลุ่มที่ 3 ศึกษาเรื่องกรุงธนบุรี และพระเจ้าตากสินมหาราช กลุ่มที่ 4 ศึกษาเรื่องกรุงเทพมหานคร และพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเหตุการณ์ สำคัญๆ กลุ่มที่ 5 ศึกษาเรื่องประวัติเมืองสำคัญอื่นๆ หรือเมืองที่นักเรียนอาศัยอยู่ ในหัวข้อต่างๆ เช่น ก่อตั้งเมื่อไร มีความสำคัญอย่างไร ภูมิประเทศ ประวัติศาสตร์ ที่สำคัญ ฯลฯ กลุ่มนักเรียนรายงานหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อธิบายความ สัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นและในประเทศไทย – ศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์ ชาติไทยสมัยต่างๆ – นำเสนอหน้าชั้นเรียนและ รวมเล่ม – แลกเปลี่ยนเรียนรู้ – จัดนิทรรศการ 3. ศึกษาประวัติศาสตร์ที่มีเหตุการณ์สำคัญๆ ของประเทศไทย เช่น 3.1 สมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนเสียกรุงทั้ง 2 ครั้ง เพราะเหตุใด วิเคราะห์ข้อเท็จจริง เปรียบเทียบกับเหตุการณ์บ้านเมืองในสมัยปัจจุบัน 3.2 สงครามกู้ชาติ ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมัยพระเจ้าตากสิน มหาราช 3.3 สงคราม 9 ทัพ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช 3.4 การสร้างบ้านแปลงเมือง ในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี (คนไทยถูก กวาดต้อนไปเป็นเชลยศึกที่พม่ามากถึง 30,000 คน) ผู้คนจากไพร่บ้าน พลเมือง พระบรมวงศานุวงศ์ พระมหากษัตริย์ บ้านเมืองเต็มไปด้วยซาก ปรักหรักพัง เถ้าถ่าน ผสมเลือดและชีวิต (จากจดหมายเหตุ มหากษัตรา ธิราชฯ - กีรติ เกียรติยากร บรรณาธิการ) และความหมายของชื่อเต็มของ กรุงเทพฯ 3.5 การตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี สมัยพระเจ้าตากสินมหาราช – วิเคราะห์เหตุการณ์บ้านเมือง ปัจจุบัน เปรียบเทียบกับสมัย ใดบ้างในประวัติศาสตร์ – รวบรวมธรรมะเกี่ยวกับการ รู้รักสามัคคี – มีความสำคัญต่อคนในชาติ หรือไม่ เพราะเหตุใด – รวบรวมพระบรมราโชวาท พระราชดำรัสที่สอนในเรื่อง นี้
  • 3. 89 ภาคผนวก ความคิด ความเชื่อ และศาสนา เมื่อเริ่มมีมนุษยชาติขึ้นในโลก มนุษย์ก็เชื่อว่ามีอำนาจบางอย่างอยู่เหนือโลกที่เราอาศัยอยู่ ศาสนาต่างๆ ได้ทำให้ ความเชื่อนี้มีสาระ จริงจัง และถาวร ก่อให้เกิดพิธีกรรมและศาสนพิธีที่ซับซ้อน ขณะที่นักการศาสนาได้เถียงกันเรื่องสัจ ธรรม นักปรัชญาก็พยายามทำความเข้าใจโลก ในเชิงวัตถุธรรม โดยถือตรรกศาสตร์เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้และ ความมั่นใจในความรู้นั้น ศิลปะและการออกแบบ ศิลปะ คือการแสดงออกทางอารยธรรมที่ประจักษ์ได้ด้วยสายตา ทุกยุค ทุกสมัย ล้วนมีมรดกทางศิลปะไว้เป็น ที่จดจำ รำลึกถึงจิตรกรและประติมากร ทำให้เราปีติและตื่นตาตื่นใจไปกับผลงานที่แสดงออกถึงตัวตนของพวกเรา และขณะเดียวกันก็สะท้อนภาวะต่างๆ ของมนุษย์ด้วย ช่างภาพ บันทึกความเปลี่ยนแปลงทางสังคมขณะที่จับภาพอารมณ์ และเหตุการณ์ในแต่ละช่วง นักออกแบบจัดรูปทรงและแต่งแต้มสีสันให้กับโลกประจำวันของเรา และมีบทบาท ต่อเสื้อผ้าที่เราสวมใส่ และบ้านที่เราอยู่อาศัย ถ้าปราศจากศิลปินเหล่านี้ ชีวิตของเราคงอับเฉาและหม่นมัว สถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ที่จะมีที่พักพิงอาศัยและความปรารถนาที่จะบูชาเทพเจ้า ก่อให้เกิดสิ่ง ปลูกสร้างหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่บ้าน และอาคารสำนักงาน ไปจนถึงโบสถ์ วิหาร และพระราชวัง สิ่งปลูกสร้าง ทั้งหลายล้วนสะท้อนวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผู้สร้างและผู้ใช้สอย ความเชี่ยวชาญของวิศวกรช่วยสานความคิดฝัน ของสถาปนิก หล่อหลอมความงามและประโยชน์ใช้สอยเข้าด้วยกัน สังคมมนุษย์ สมองมนุษย์ที่วิวัฒนาการไปมากกว่าสัญชาตญาณตามธรรมชาติ ดังที่พบในสัตว์อื่นๆ ทำให้บรรพบุรุษของเรา สามารถสร้างภาษาที่ซับซ้อน และรู้จักการตั้งถิ่นฐาน เป็นชุมชนที่เป็นระเบียบ สังคมแต่ละแห่งในโลก พัฒนามาต่างกัน ตามเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของตน แต่ทุกสังคมมีสายใยของระบบเครือญาติที่ละเอียดซับซ้อน และมี พิธีกรรมที่บ่งบอกว่าคนแต่ละคนจะมีช่วงเปลี่ยนแปลงในชีวิตแต่ละขั้นอย่างไร ชาวอะบอริจินัล ชนพื้นเมือง มนุษย์กลุ่มแรกที่ตั้งถิ่นฐานในทวีปออสเตรเลีย มีจำนวนราว 750,000 คน เมื่อ ชาวยุโรปอพยพไปตั้งรกรากใน ค.ศ. 1788 คำว่าอะบิริจินัลยังอาจหมายถึง กลุ่มชนพื้นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของดินแดนใดๆ ก็ได้ เขายังชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บของป่า (Hunter-gathere) อพยพมาจากตอนใต้ของทวีปเอเชีย เมื่อ 50,000 - 60,000 ปีมาแล้วเป็นอย่างน้อย ปัญหาหลักของพวกเขาคือเรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เขามีชีวิตผูกพันกับเรื่องวิญญาณที่เกี่ยวข้อง กับ “ห้วงฝัน” ซึ่งเป็นช่วงเวลาอันรุ่งโรจน์ของการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เมื่อครั้งที่ต้นไม้ สัตว์ และมนุษย์ถือกำเนิดขึ้นใน โลก ในอดีตนั้น เขามีภาษาพูดต่างกันถึง 600 ภาษา (ปัจจุบันได้สูญหายไปแล้วถึง 2 ใน 3) และยังมีวัฒนธรรมที่แตกต่าง หลากหลายกันมาก แต่พวกเขาก็รู้สึกถึงความเป็นพวกเดียวกันอย่างเหนียวแน่น
  • 4. 90 วัฒนธรรม (Culture) ทัศนะ แบบแผน ขนบธรรมเนียม ความเชื่อ และคุณค่าที่ทำให้คนกลุ่มหนึ่งแตกต่างจากกลุ่มอื่น วัฒนธรรม ถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งด้วยการใช้ภาษา วัตถุสิ่งของ พิธีกรรม สถาบันและด้านอื่นๆ ของชีวิตประจำวัน นักมานุษยวิทยาเห็นว่า สิ่งที่เป็นหัวใจของวัฒนธรรม คือ การใช้ภาษา การทำเครื่องมือเครื่องใช้ และการควบคุม จัดระเบียบความประพฤติ เป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ ประวัติศาสตร์โลก โลกปัจจุบันก่อรูปร่างขึ้นจากเหตุการณ์ในอดีต จักรวรรดิและอารยธรรมมากมายเจริญรุ่งเรือง แล้วล่มสลายไป สงครามนับครั้งไม่ถ้วนได้เปลี่ยนโฉมหน้าของแผนที่โลกมาโดยตลอด และการปฏิบัติครั้งแล้วครั้งเล่า ได้ส่งผลให้เกิด สังคมที่เสรีหรืออาจเป็นสังคมที่กดขี่มากกว่าเดิม นอกจากนี้ ปัจเจกบุคคลอันหลากหลายไม่ว่าจะเป็นจูเลียส ซีซาร์ มหาตมะคานธี หรือเหมา เจ๋อตุง ต่างก็มีส่วนเปลี่ยนแปลงกระแสแห่งประวัติศาสตร์และส่งผลกระทบมาถึงตัวเรา ณ วันนี้ทั้งสิ้น โลกและสิ่งแวดล้อม โลกของเราผ่านมหาวัฏจักรแห่งการก่อกำเนิดและการทำลายล้างมากกว่า 4,000 ล้านปีแล้ว ชีวิตมนุษย์ยังคง ขึ้นอยู่กับความปรานีของปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เราไม่อาจควบคุมได้ ทว่าความเข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อมที่มีมากขึ้น กลับกลายเป็นสิ่งท้าทายมิให้กิจกรรมนานาชนิดของมนุษย์ไปคุกคามสมดุลอันเปราะบางของธรรมชาติที่ค้ำจุนชีวิต ทั้งหลายบนโลก (คัดบางตอนจาก สารานุกรมรอบรู้รอบโลก, รีดเดอร์สไดเจสท์) สมัยตำนานและนิทานปรัมปรา ภาคใต้แหลมมลายู ไทย (Thai Malay Peninsula) เป็นดินแดนเก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมืองโบราณต่างๆ ถือกำเนิดขึ้น มักจะมีเทพนิยายเทวปกรณ์ (Myth) เช่นคัมภีร์ปัญจตันตระ หรือ นิยายปกรณัม ของพราหมณ์อินเดียใต้ หรือเป็นตำนาน (Legend) หรือนิยายนิทานปรัมปราพื้นบ้าน (Folklore) บอกเล่า เรื่องประวัติความเป็นมาประจำเมืองนั้นๆ เสมอ จนดูคล้ายกับจะเป็นดินแดนเทพนิยาย (Fairyland Kingdom) เป็นที่ สิงสถิตของเทพยดาเทวปกรณ์ หรือกลายเป็นอาณาจักรมหัศจรรย์แห่งยุคทอง เนื่องจากล้วนได้รับอารยธรรมความเจริญ จากอินเดียมาแต่แรกตั้ง จากจีน และจากชนชาติอื่น ตามลำดับประวัติศาสตร์อันหลากหลายยาวนาน ในจินตนาการความ ทรงจำจึงมีแต่ความศิวิไลซ์งดงาม เนื่องด้วยเอกลักษณ์ทางสภาพภูมิศาสตร์เป็นแหลมที่ยื่นยาวลงไปในทะเล ตั้งขวางอยู่ กึ่งกลางเป็นชุมทางแยก (Cross road) ระหว่างอินเดียกับจีน จึงเป็นศูนย์กลางแหล่งชุมชนตลาดการค้านานาชาติ หรือ จุดนัดพบแลกเปลี่ยน ถ่ายทอด (Market Place) ระหว่างพ่อค้านักเดินทางจากตะวันตก กับตะวันออก ตลอดจนมีสภาพ เป็นสะพาน (Land Bridge) สำหรับการอพยพเดินทางผ่านของผู้คนเผ่าต่างๆ นับแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ทั้งฝ่ายเหนือ (แผ่นดิน ใหญ่) และดินแดนกลุ่มเกาะฝ่ายใต้ (Cluster) จำเป็นต้องอาศัยแหลมมลายูเป็นเส้นทางคมนาคมเดินทางขึ้นล่องผ่าน ไปมาเสมอ แผ่นดินแหลมทองนี้จึงมีผู้คนตกค้างอยู่หลายรุ่น และปรากฏหลักฐานทางอารยธรรมมากมายหลายยุคสมัย บ้านเมืองเป็นแบบพหุสังคม หรือสังคมที่มีหลายชนเผ่า มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม แต่มีความ กลมกลืนอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ไม่มีการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง
  • 5. 91 เรื่องนิทานตำนานเป็นเรื่องพื้นฐาน เรื่องเก่าแก่ ที่มนุษย์จดจำแต่งขึ้นในมิติของกาลเวลา สถานที่ และ เหตุการณ์อันต่างๆ กัน เจือปนอภินิหารจริงบ้างไม่จริงบ้าง เล่าต่อกันมาแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยประวัติศาสตร์ อิทธิพลอินเดีย อินเดียเป็นชาติที่มีอารยธรรมเก่าแก่และติดต่อกับชาติอื่นมาช้านาน รวมทั้งแหลมมลายูภาคใต้ หมู่เกาะ อันดามัน (หนุมาน) หรือเกาะนาคา (นาคเปลือย) อันเป็นที่พระรามเคยมีดำริจะใช้เป็นฐานยกทัพไปตีกรุงลงกา ในยุคแรก ชาวอินเดีย ชาวเปอร์เซีย อาหรับ ชาวยุโรป กรีก โรมัน จะรู้จักสุวรรณภูมิ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ว่าเป็น “ดินแดนแห่งความฝัน” เต็มไปด้วยนิยายผจญภัย อยู่สุดขอบฟ้า เต็มไปด้วย “ทองคำ” มีในคัมภีร์ชาดก เช่นเรื่อง พระมหาชนก ชาวอินเดียมีบทบาทสำคัญที่สุดทั้งทางการค้าและศิลปวัฒนธรรม ได้เอาศาสนา ศิลปวิทยา และคติต่างๆ มา เผยแพร่มากมาย เช่น คติเทวราชา ธรรมราชา การปกครองจักรมณฑล ชื่อบ้านนามเมือง การสืบสันตติวงศ์ การถือ ศาสนาบรรพต ภาษา ตัวอักษร หนังสือวรรณคดี คัมภีร์ธรรมศาสตร์ จักรวรตติน ตำนานพระธาตุ ฯลฯ ชาวอินเดียได้มา ตั้งรกรากแต่งงานกับคนพื้นเมืองกลายเป็นชนชาติพันธุ์ผสม และได้เป็นกษัตริย์ปกครองเมืองในสมัยเริ่มแรกด้วย ดังนั้น จึงอาจเรียกวัฒนธรรมยุคแรกนี้ได้ว่าเป็นอารยธรรมยุคอินโด - มลาโยโปลินิเชี่ยนก็ได้ ทั้งพุทธและพราหมณ์ที่มาเผยแพร่ แข่งขันกัน ก็ไม่มีความขัดแย้งกัน จนผสมกลายเป็นฮินดู - พุทธ อิทธิพลศรีวิชัย และชวามลายู 1. เรื่องกษัตริย์ หรือเจ้าเมือง ดั้งเดิมจำนวนไม่น้อยเป็นชาวชวาและมลายู เช่น เมื่อแรกตั้งเมือง 12 นักษัตร เจ้าเมืองต่างๆ มักเป็นคนมลายู เมืองไชยา เมืองพระเวียง (นคร) เมืองพัทลุง เมืองสงขลา ฯลฯ เนื่องจากความเป็น เครือญาติกัน จึงมีความเกี่ยวพันกันสืบมา เพิ่งมาเริ่มห่างเหินกันเมื่อชาวมลายูปลายแหลมเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม ในพุทธศตวรรษที่ 21 - 22 มานี้ 2. เรื่องศรีวิชัย มีเขาศรีวิชัยอยู่ที่อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นปัญหาว่าเพิ่งเรียกหรือเรียกมาแต่ โบราณ เรื่องอาณาจักรศรีวิชัย พ.ศ. 2469 สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตามแผนที่ภาพวัดบนคาบสมุทร สทิงพระที่ขึ้นวัดพระโคะ เมืองพัทลุง พ.ศ. 2158 มีชื่อหมู่บ้าน “ศรีวิชัย” (ปัจจุบันเรียกศรีชัย) อยู่ใกล้คลองสทิงพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา 3. ตำนาน มีนิทานพื้นบ้านเล่าที่มาของสถานที่ต่างๆ คล้ายกันว่า เมื่อครั้งโบราณน้ำทะเลท่วมสูงกว่าปัจจุบัน มาก ภูเขาหลายลูกเคยเป็นเกาะอยู่ในทะเล เช่น “เขาสายสมอ” (ไชยา) “เขากำปั่น” (ยะลา) เรื่องการไปมาค้าขาย การ แต่งงาน ประเพณี การละเล่น ฯลฯ ไทยกับมลายูแยกกันไม่ออก อิทธิพลเขมร 1. เมืองพระเวียง มีหลายเมือง เช่น ตะกั่วป่า (อำเภอกะปง) ไชยา เวียงสระ และนครศรีธรรมราช มีมาก่อน พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 เมื่ออิทธิพลเขมรเข้ามาทั้งทางการเมือง ภาษา และศิลปวัฒนธรรม ก็มาสวมบทบาททับเมืองเก่า 2. เมืองบันไทสมอ คือ เมืองไชยา ปัจจุบันพบหลักฐานทั้งโบราณวัตถุ โบราณสถาน ศิลาจารึก มีอายุ พุทธศตวรรษที่ 15 - 16 จนถึงสมัยนครวัด นครธม จำนวนมาก รวมทั้งศิลปะจามปา
  • 6. 92 3. เมืองสะทิงพระ หรือจะทิ้งพระ พบศิลปกรรมเขมรหลายอย่าง แม้ในชั้นอยุธยา ยังพบจารึกกัลปนาภาษา เขมร ในย่านนี้ด้วย 4. เมืองตระชน คือ บ้านนาขอม ตำบลสิชล อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ตำนานว่ามีเรือสำเภาเข้ามา จอดค้าขายเสมอ อิทธิพลลังกา 1. เรื่องนางเลือดขาว หรือแม่เจ้าอยู่หัว 2. เรื่องตำนานพระธาตุ เรื่องพระบาท 3. เรื่องพระเจ้าศรีธรรมโศกราช (เรียกชื่อกษัตริย์ที่ครองนครทุกองค์) 4. เรื่องการสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ 5. เรื่องกา 4 เหล่า 6. เรื่องกำเนิดพระพุทธรูปและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 7. เรื่องพระบฏ และประเพณีแห่ผ้าขึ้นห่มองค์พระธาตุ 8. เรื่องตำนานพิธีตรุษ (พิธีสวดภาณยักษ์) พิธีสารท (ทำบุญอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษ) *และยังมีอิทธิพลจีน อิทธิพลวีรบุรุษ อิทธิพลนิทานวรรณคดี และอิทธิพลพื้นบ้าน (คัดบางตอนจาก แลใต้ ดูประวัติศาสตร์ในสุวรรณภูมิ : ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์) หมายเหตุ ภาคผนวกที่คัดบางตอนมาให้นี้ เพื่อเป็นตัวอย่างแก่คุณครูในการส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้า มิใช่ให้อ่านจาก ตำราเล่มเดียว การได้ศึกษาจากหน่วยย่อย เช่น ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จะทำให้เข้าใจประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ได้ง่ายขึ้น ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้นักเรียนได้อ่านหนังสือหลายๆ เล่ม ในเรื่องเดียวกัน เพื่อให้รู้จักวิเคราะห์หาเหตุผล หนังสือที่เป็นหลักในการค้นคว้า คือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ทั้งเล่มใหญ่ และฉบับเสริมการเรียนรู้ คุณครูควรได้อ่านทุกเล่ม และส่งเสริมให้เด็กได้อ่านนอกเวลา _________________________________________
  • 7. 93 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ระยะเวลาในการสอน......................ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ป. 4/1 อธิบายตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์โดยสังเขป ป. 4/2 ยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่พบในท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติ ป. 5/1 อธิบายอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีนที่มีต่อไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป ป. 5/2 อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป ป. 6/1 อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน ป. 6/2 บอกความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ศึกษาปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ยกตัวอย่างเช่น กรณีปราสาทเขา พระวิหาร และบอก อธิบายข้อเท็จจริงได้ วิเคราะห์ข่าวได้ 2. ศึกษานโยบายต่างประเทศ บนเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และบอกได้ อธิบายได้ 3. บอกความหมายของอิโคโมส (ICOMOS มาจาก Internation Council on Monument and Site แปลว่า สภา การโบราณสถานระหว่างประเทศ) และหน้าที่ได้ 4. ศึกษาและบอกสาเหตุปัญหาชายแดนไทยและเขมรได้ 5. ศึกษาและเขียนรายงานเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหารได้ ตามหัวข้อต่อไปนี้ – ลักษณะภูมิอากาศ – พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า – ปราสาทเขาพระวิหาร – ปราสาทโดนตวล – ผามออีแดง – บาราย หรือ ทำนบสระตราว ฯลฯ
  • 8. 94 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 1. นักเรียนรายงานข่าวที่รวบรวมเกี่ยวกับปราสาทเขาพระวิหาร และร่วมสนทนา เกี่ยวกับปัญหาที่เกิด ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของปราสาทเขาพระวิหาร ปฏิบัติตามโรงเรียนต้นทาง – กลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้าจาก ข้อมูลสื่อต่างๆ ภาพต่างๆ และ วิเคราะห์ปัญหาวิธีการป้องกัน ปัญหาไม่ให้ลุกลามใหญ่โต – ศึกษาจากปัญหาชายแดนใน ท้องถิ่น (ถ้ามี) และควรป้องกัน อย่างไร – การให้ข้อมูลนักเรียน ควรค้น คว้าจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ และตรงไปตรงมา – ศึกษาธรรมะประกอบในการ ตัดสินข้อมูลข่าวสาร ดังต่อไปนี้ 1. คนผู้เป็นสัตว์ประเสริฐ พัฒนาตน โดยเฉพาะเด็กและ เยาวชนผู้เป็นสมาชิกใหม่ของ มนุษยชาติ พึงมีคุณสมบัติต้นทุน 7 ประการ 1. กัลยาณมิตร แสวงแหล่งปัญญา และแบบอย่างที่ดี 2. สีลสัมปทา (ทำศีลให้ถึงพร้อม) มีวินัยเป็นฐานของการพัฒนา ชีวิต 3. ฉันทสัมปทา (ทำฉันทะให้ถึง พร้อม) มีจิตใจใฝ่รู้ ใฝ่สร้าง สรรค์ 4. อัตตถสัมปทา (ทำตนให้ถึง พร้อม) มุ่งมั่น ฝึกตนเองจน เต็มสุดภาวะที่ความเป็นคนจะ ให้ถึงได้ 5. ทิฏฐิสัมปทา คือหลักเหตุปัจจัย มองอะไรตามเหตุและผล 2. กลุ่มนักเรียนช่วยกันศึกษา ค้นคว้า เขียนแผนที่ หาภาพจากหนังสือพิมพ์ อินเตอร์เน็ต มาจัดบอร์ด 3. เขียนผังความคิด (Mind Mapping) เกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร เช่น (สำหรับคุณครู) 4. ถ้าไม่สามารถจัดในเวลาได้ ควรจัดกิจกรรมนอกเวลา เช่น เชิญวิทยากรมา บรรยาย ศึกษาจากห้องสมุดโรงเรียนและชุมชน สัมภาษณ์ผู้รู้หลายๆ กลุ่ม รวบรวมข้อมูล จัดทำสมุดภาพ เขียนรายงาน บอกแหล่งที่มา เช่น ข้อมูลจาก รัฐบาล จากการอภิปรายของพรรคฝ่ายค้าน ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ ข้อมูลจาก อินเตอร์เน็ต ฯลฯ เพื่อให้นักเรียนได้วิเคราะห์ข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่หลงเชื่อโดยง่าย เป็นผู้มีเหตุผล และมีวิจารณญาณ 5. กลุ่มนักเรียนช่วยกันสรุป เขียนรายงาน และรายงานหน้าชั้น พร้อมจัด นิทรรศการ ข้อมูลที่นำเสนออาจหลากหลาย เพื่อทำความเข้าใจเรื่องราวในอดีต อาจสรุปเป็นความคิดเห็นที่แตกต่าง แต่ควรวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริง เพื่อหาข้อ แก้ไข รวมถึงระบุเหตุและผล คือผลกระทบต่อประเทศไทย ต่อประชาชน ชายแดนที่ตามมา และเสนอวิธีแก้ปัญหาที่ไม่ใช้ความรุนแรง แต่ให้รู้เท่าทันโลก 6. ทำโครงงานเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 7. วิเคราะห์หน้าที่และคุณธรรมของผู้บริหาร ทหาร กองทัพไทย ผู้นำท้องถิ่น ประชาชน นักเรียน ปราสาทเขาพระวิหาร ปราสาทโดนตวล ผามออีแดง ภาพสลักนูนต่ำ ช่องอานม้า สถูปคู่ เขาสัตตะโสม บารายหรือสระตราว เขื่อนห้วยขนุน แหล่งตัดหิน น้ำตกไทรย้อย ถ้ำฤาษี ช่องตาเฒ่า ช่องโพย สภาพภูมิประเทศ น้ำตกห้วยตา พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า ลักษณะภูมิประเทศ อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
  • 9. 95 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 8. วัดผล - ประเมินผล จากการแสดงความคิดเห็น ผลงาน - โครงงาน การร่วม ทำงานกลุ่ม การพูด การอภิปราย และการรักษาสมบัติของส่วนรวม 6. อัปปมาทสัมปทา ตั้งตนอยู่ใน ความไม่ประมาท 7. โยนิโสมนสิการสัมปทา ฉลาด คิด แยบคาย ให้ได้ประโยชน์ และความจริง ภาคผนวก นโยบายต่างประเทศ เป็นกรอบที่รัฐใช้สำหรับดำเนินปฏิสัมพันธ์กับตัวแสดงอื่นๆ บนเวทีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยมี เป้าหมายสำคัญอยู่ที่การรักษาและแสวงหาผลประโยชน์ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 1. การรักษาความมั่นคงของเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งดินแดน 2. การพัฒนาความเจริญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 3. การรักษาและสร้างเสริมชื่อเสียงเกียรติภูมิของชาติ (จาก บทนำ : นโยบายต่างประเทศของไทย ศึกษา กระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ต่อปัญหากัมพูชา; ผลงานวิจัย นายสุนัย ผาสุข) ประเทศในเอเชียอาคเนย์ ซึ่งมีถิ่นที่ตั้งในคาบสมุทรอินโดจีน ก็มีสภาพไม่แตกต่าง พม่าและมาเลเซียกลายเป็น เมืองขึ้นของอังกฤษ ขณะที่ญวน ลาว และเขมร ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส มีเพียงราชอาณาจักรสยาม หรือประเทศไทยของเราเพียงประเทศเดียวที่สามารถรอดปากเหยี่ยวปากกาในช่วง นั้นมาได้ด้วยความปรีชาสามารถของบรรพบุรุษไทย โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) แต่กระนั้นเพื่อแลกกับเอกราชของชาติไทยโดยรวม บางครั้งก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเฉือนเขตแดนจำนวนหนึ่งให้กับ ฝรั่งเศสและอังกฤษ แต่การสูญเสียดินแดนที่สร้างความเจ็บช้ำให้กับประเทศไทยมากที่สุดของประวัติศาสตร์ชาติไทยน่าจะหนี ไม่พ้นการสูญเสียอธิปไตยเหนือเขตแดน “ปราสาทพระวิหาร” เพราะไม่ได้เกิดขึ้นจากความจำเป็นที่ต้องเฉือนดินแดน บางส่วนเพื่อแลกกับความอยู่รอดโดยรวมของประเทศ แต่เป็นการสูญเสียดินแดนที่เกิดขึ้นจากความไว้วางใจและความอ่อนประสบการณ์ของประเทศในสมัยนั้นที่ยัง ไม่มีความชำนาญในการจัดทำแผนที่ดีพอ การปักปันเขตแดนใหม่ระหว่างไทยและฝรั่งเศส ในปี 2450 ฝรั่งเศสจึงเป็นผู้จัดทำแผนที่แต่เพียงผู้เดียว และได้ ตัดพื้นที่เขาพระวิหารที่เป็นของไทยตามสนธิสัญญาที่ใช้ “สันปันน้ำ” ในการแบ่งเขตแดน ให้กลายเป็นเขตแดนของ กัมพูชา และยังเป็นหลักฐานสำคัญซึ่ง “ศาลโลก” ตัดสินให้ไทยแพ้คดีในปี 2505 ซึ่งไทยสงวนสิทธิไม่ยอมรับ (คำนำเขา พระวิหาร : อนุชา แป๊ะพรรณวรรณ แห่ง นสพ. ไทยรัฐ)
  • 10. 96 อิโคโมส เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่ในการประเมิน ICOMOS เป็นคำย่อ คำว่า อิ ตัวไอภาษาฝรั่งเศสออกเสียงว่า อิ มาจากคำว่า Internation Council on Monument and Site ถ้าแปลเป็นภาษาไทย “สภาการโบราณสถานระหว่างประเทศ” องค์กรนี้เป็น NGO เป็นองค์กรอิสระที่เขาต้องการให้เป็นองค์กรที่ไม่ขึ้นกับใครเลย เพราะว่าต้องการความเป็นกลางใน การมาช่วยประเมินแหล่งมรดกโลก แต่ในทางปฏิบัติจริง ในกรณีเขาพระวิหาร มันก็หลีกเลี่ยงเรื่องการเมืองไปไม่พ้น แต่ ว่าโดยความตั้งใจโดยหลักการแล้ว มันต้องเป็นองค์กรอิสระซึ่งมิได้มีหน้าที่โดยตรงสำหรับการประเมินมรดกโลกเท่านั้น แต่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการประชาสัมพันธ์แนวคิดเรื่องการอนุรักษ์โบราณสถานให้กระจายทั่วไป ซึ่งพอเกิดองค์กรนี้ขึ้นมา ประเทศไทยเราได้สมัครเป็นสมาชิก เนื่องจากปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศสมาชิกทั้งหลายยังมี นโยบายใหม่ขึ้น ให้กระตุ้นให้ประชาชนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ด้วย แทนที่จะมีแต่นักวิชาการชั้นสูงที่คอยให้ คำปรึกษาอย่างเดียว เพื่อให้เครือข่ายในประเทศของเราแข็งแรง ให้ความรู้ทุกระดับ สร้างกิจกรรมทุกรูปแบบ ให้ ประชาชนทั่วไปได้เข้ามาสัมผัสกับโบราณสถาน ให้ได้รับข้อมูลที่น่าสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความไม่ชอบมาพากล บางประการในการประเมินคุณค่ามรดกโลกของยูเนสโก การประเมินเขาพระวิหารเป็นมรดกโลก เบื้องต้นเขาติดต่อ มาที่อิโคโมสไทย เราก็ส่งชื่อคนไปให้เขา แต่กลายเป็นอินเดียเป็นผู้ประเมิน รายงานการประเมินเป็นประเด็น แม้ว่าโดยข้อเท็จจริงคนที่ทำข้อมูลนี้เขารู้หรือไม่รู้ว่า ปราสาทเขาพระวิหาร มันไม่ได้จบแค่ตัวอาคาร แต่มันยังหมายถึงโบราณสถานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่มันต่อเนื่องและเข้ามาอยู่ในเขตไทยจริงๆ มัน เป็นบริบทเดียวกัน มันควรจะกล่าวถึงในลักษณะทางวิชาการที่เป็นหนึ่งเดียวกัน เอกสารทางวิชาการที่เขาเขียนไม่ พยายามบิดเบือนว่าโบราณสถานที่อยู่ล้ำเส้นเขตแดนเข้ามา ไม่มีอะไรสำคัญต่อเนื่องกับเขาเลย เขากลับไปเมคข้อมูลทาง วิชาการขึ้นมา เพื่อให้มันเป็นประโยชน์ต่อกัมพูชา เขาได้เปลี่ยนแปลงข้อมูลทางวิชาการเพื่อให้เห็นว่า เขตที่เขาเสนอ เท่านั้นที่มีความสำคัญ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเขามีความชอบธรรมที่จะได้ครอบครองมรดกโลกแห่งนี้แต่เพียงฝ่ายเดียว เท่านั้น จริงๆ แล้วมันมีข้อมูลทางวิชาการหลายอย่างที่ผิดพลาด ยกตัวอย่าง สระตราว มันคือบารายของปราสาท มัน คือสิ่งที่สร้างขึ้นมาโดยมนุษย์พร้อมกับการก่อสร้างปราสาทพระวิหาร เพื่อให้เป็นแหล่งน้ำ น้ำศักดิ์สิทธิ์ในการประกอบ ศาสนกิจของปราสาท เขาก็กลับให้ข้อมูลว่ามีสระน้ำอยู่ในฝั่งไทย แต่เป็นสระน้ำธรรมชาติ หรือทางขึ้นซึ่งเราเห็นว่ามี บันไดขนาดใหญ่ มีหัวนาคประดับอยู่อย่างใหญ่โต ก็กลับบอกว่าอันนี้เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นในยุคหลัง ฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพาทิศกลับถูกกีดกัน ไม่ให้เข้าร่วมทีมงานทั้งๆ ที่เป็นผู้รู้จริงเรื่องเขมร กลับเป็นเจ้าหน้าที่ จากกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งเป็นฝ่ายตรงข้าม ในการเมืองระดับภายในประเทศของฝรั่งเศสเอง จริงๆ แล้วคุณค่าของปราสาทพระวิหาร สมควรจะเป็นมรดกโลกอย่างยิ่ง ด้วยที่ตั้ง ปราสาทเขาพระวิหาร ตั้ง อยู่บนภูเขาซึ่งเป็นหน้าผาด้านหนึ่ง มีการออกแบบที่เน้นการเข้าถึงเป็นระยะๆ แต่สิ่งที่คนนึกถึงไม่ได้นึกถึงปราสาทจริงๆ ตราบใดก็ตามที่ยังมีข้อตกลงเรื่องเขตแดนที่ชัดเจนไม่ได้ พื้นที่ที่อ้างสิทธิของสองประเทศ มันก็จะเป็นประเด็นอยู่ตลอด ไม่สามารถบริหารจัดการ คือ ไม่สามารถซ่อมแซมปราสาทได้ ถ้าไทยเราไม่ทำอะไร ยอมให้เขาผ่านไป ก็เท่ากับเราเสีย อำนาจอธิปไตยในดินแดนนั้นไป (บางตอน วสุ โปษยะนันทน์ : คุณค่าชีวิตในความวิจิตรของวันวาน; สกุลไทย รายสัปดาห์, ฉบับที่ 2813, 16 กันยายน 2551)
  • 11. 97 อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เขาพระวิหาร จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดอุบลราชธานี สภาพภูมิประเทศทั่วไป ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาตามแนวทิวเขาพนมดงรัก กั้นชายแดนไทย - กัมพูชา พื้นที่ปกคลุมด้วยป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง มีสัตว์ป่าจำนวนมาก มีเนื้อที่ 81,250 ไร่ เป็นพื้นที่ป่าไม้ชายแดนเพื่อการอนุรักษ์ ห้าม เข้าไปและอาศัยอยู่โดยเด็ดขาด เนื่องจากเป็นป่าไม้และเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร มีโบราณสถานสำคัญทางประวัติศาสตร์ ปราสาทเขาพระวิหาร ตั้งอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก (ดองเร็ก) ภาษาเขมรแปลว่า ภูเขาไม้คาน กั้นพรมแดนไทยกับกัมพูชา มีความสูง จากพื้นดิน 547 เมตร **อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร มีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจและมีความสำคัญในด้านประวัติศาสตร์ และ ความสวยงามของทัศนียภาพที่อยู่ในฝั่งไทย และสามารถเดินทางท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ประกอบด้วยปราสาทโดนตวล ผามออีแดง ภาพสลักนูนต่ำ สถูปคู่ บาราย หรือทำนบสระตราว แหล่งตัดหิน ถ้ำฤาษี ช่องตาเฒ่า ช่องโพย น้ำตกและ ถ้ำขุนศรี ช่องอานม้า ฯลฯ (คัดบางตอนจาก เขาพระวิหาร : อนุชา แป๊ะพรรณวรรณ) _________________________________________