SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
"ธัมมปทัฏฐกถา“
รายวิชา ศึกษางานสาคัญทางพุทธศาสนา
วัตถุประสงค์
ความสาคัญ
อรรถกถาธรรมบทซึ่งมีชื่อในภาษาบาลีว่า
“ธัมมปทัฏฐกถา” เป็ นหนังสืออธิบาย
พระไตรปิฎก (เรียกว่า อรรถกถา) โดย
อธิบายหลักธรรมในคัมภีร ์ธรรมบท
ขุททกนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ ซึ่งมี
๑๕ คัมภีร ์
๑. ขุททกปาฐะ ๒. ธรรมบท ๓. อุทาน
๔. อิติวุตตกะ ๕. สุตตนิบาต ๖.วิมานวัตถุ
๗. เปตวัตถุ ๘. เถรคาถา ๙. เถรีคาถา
๑๐. ชาดก ๑๑. นิทเทส ๑๒. ปฏิสัมภิทามรรค
๑๓. อปทาน ๑๔. พุทธวงส์ ๑๕. จริยาปิฎก
ที่มา
เช้ามืดวันหนึ่ง ท่านพระอนุรุทธเถระสวดธรรมบท ที่เชตวันวิหาร หญิงคนหนึ่งได้ยิน
เสียงสวดจึงบอกแก่บุตรว่า
“อย่าส่งเสียงดัง ภิกษุกาลังสวดบทธรรม ถ้าเรารู้แจ้งบทธรรมแล้วทาตามได้ข้อนั้นย่อม
เป็ นประโยชน์เกื้อกูลแก่เรา”
ยืนยันว่าธรรมบทมีอยู่ตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ใดรู้แจ้งบทธรรม ทาตามได้จะเป็ น
ประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้นั้น
ต่อมามีผู้รู้แต่งอธิบายธรรมบทแต่งนิทานประกอบขยายความ จึงเป็ นที่มาของอรรถ
กถาธรรมบท (ธัมมปทัฏฐกถา)
ความหมาย
ธัมมปทัฏฐกถา มาจากภาษาบาลีคาว่าธมฺมปทฏฐกถา
เป็ นหนังสืออธิบายความในธรรมบทแห่งขุททกนิกาย ในพระสุตตันตปิฎก หมายถึง
อรรถกถาของธรรมบท หรือบทแห่งธรรม แต่งเป็ นภาษากวี เรียกว่า คาถา จานวน
๔๒๓ คาถา มีเนื้อหากินใจ สั้น ลุ่มลึก คมคาย ปัจจุบันธัมมปทัฏฐกถาใช้เป็ นคัมภีร ์ใน
การศึกษาพระปริยัติธรรมในประเทศไทย ชาวพุทธเถรวาท เช่น ในประเทศศรีลังกา
พม่า และไทย ใช้อรรถกถาธรรมบทเป็ นหลักศึกษาพระพุทธศาสนา
ผู้แต่ง หนังสือประวัติผู้แต่ง
พระพุทธโฆสาจารย์แปลจากฉบับสิงหลเก่า เป็ น
ตันติภาษา (ภาษาบาลี)
ระหว่าง พ.ศ. ๙๐๐ – ๑๐๐๐
เมื่อกล่าวถึงนักปราชญ์พุทธที่เป็ นพระภิกษุในฝ่ายเถร
วาท ชื่อของพระพุทธโฆสาจารย์จะมาเป็ นที่หนึ่ง ท่าน
เป็ นนักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ เป็ นพระอรรถกถาจารย์ผู้มี
ชื่อเสียงมากที่สุด ผลงานชิ้นเยี่ยมที่พระพุทธโฆสาจารย์
ได้ทิ้งไว้เป็ นมรดกตกทอดให้แก่ชาวพุทธและผู้ที่สนใจทั่ว
โลกได้ศึกษาค้นคว้า ศาสนิกชนที่นับถือพุทธศาสนา
ฝ่ายเถรวาทเกือบทั้งหมดเข้าใจพระไตรปิฎกและปฏิบัติ
ธรรม ชีวประวัติของพระพุทธโฆสาจารย์เป็ นชีวิตที่น่าจะ
เป็ นต้นแบบควรเอาเป็ นแบบอย่างที่ได้ทาคุณประโยชน์
ช่วยรักษาการศึกษาหลักคาสอนในพระพุทธศาสนาให้
ดารงคงอยู่ถึงปัจจุบัน
ประวัติผู้แต่ง
๑. ท่านเกิดในตระกูลพราหมณ์ ซึ่งเป็ นคน
วรรณะสูงของสังคมอินเดียสมัยโบราณ
ท่านจึงได้รับการศึกษาดี ชอบการอภิปราย
โต้วาที และท่องเที่ยวไปตามที่ต่าง ๆ ทั่ว
ชมพูทวีป ทาให้ท่านเป็ นคนรู้กว้างและรู้ลึก
ในศาสตร ์ทั้งทางโลกและทางธรรม และ
แตกฉานในการตีความอธิบายศัพท์ธรรม
ต่าง ๆ ซึ่งท่านได้นาความสามารถที่ท่านมี
มาใช้ในการแต่งอรรถกถาทั้งหลายของ
ท่าน ท่านจึงมีสมญานามทางความรู้ว่าเป็ น
“สารานุกรมเคลื่อนที่”
๒. ถิ่นกาเนิดของท่านมี ๔ ทัศนะ ๑. เป็ น
ชาวอินเดียเหนือ ๒. เป็ นชาวอินเดียใต้ ๓.
เป็ นชาวอินเดียเหนือแต่ไปใช้ชีวิตและมี
ชื่อเสียงอยู่ทางอินเดียใต้ ๔. ไม่ได้เป็ นชาว
อินเดียเหนือหรือใต้แต่เป็ นชาวมอญหรือ
รามัญในพม่า เป็ นประเด็นที่ทิ้งให้ผู้ศึกษา
ตัดสินและสืบค้นข้อมูลกันต่อไป
ประวัติผู้แต่ง
๓. การศึกษา ท่านเรียนจบและชานาญในพระ
เวท คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และ
อถรรพเวท แต่ละคัมภีร ์มีมันตระ พรหมณะ
อารัณยกะ และอุปนิษัทของตนเอง และเรียนจบ
และชานาญในวรรณคดีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
พระเวทที่เรียกว่าเวทางคะ และที่ไม่เกี่ยวข้องกับ
พระเวท อาทิเช่น อิติหาสและปุราณะ ที่เรียกว่า
พระเวทที่ ๕ ตลอดจนเรียนรู้และชานาญ
ศาสตร ์และศิลป์ อื่น ๆ อีกหลายสาขา ท่านรู้และ
พูดได้หลายภาษา ซึ่งเป็ นประโยชน์แก่ท่านใน
การประกาศศาสนาและการเดินทางไปแปล
คัมภีร ์ทางพระพุทธศาสนาต่าง ๆ ในลังกา และ
ท่านเป็ นคนที่มีความจาเป็ นเลิศและเป็ นคนเรียน
เก่งคนหนึ่งในยุคนั้น
๔. การเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา เพราะ
ท่านแพ้การโต้วาทีต่อพระเรวตมหาเถระ ซึ่งเป็ น
จุดพลิกผันในชีวิตของท่านให้เข้ามาบวชใน
พระพุทธศาสนา
ประวัติผู้แต่ง
๕. การไปเรียนและแปลอรรถกถาในลังกา มีสอง
คัมภีร ์กล่าวต่างกันเล็กน้อย คือ ตามคัมภีร ์มหาวงส์
ปริจเฉทที่ ๓๗ ที่ว่าท่านเดินทางไปลังกาตาม
คาแนะนาของพระเรวตะ ผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ของ
ท่าน เพื่อจุดหมายของการศึกษาอรรถกถาภาษา
สิงหลและแปลลกลับมาเป็นภาษาบาลีอีกครั้ง แต่
คัมภีร ์พุทธโฆสุปปัตติ ปริจเฉทที่ ๓ ท่านเดินทางไป
ลังกาเพื่อจุดหมายจะให้พระอุปัชฌาย์ยกโทษ
ความผิดที่คิดไม่ดี (คิดถามตัวเองในใจ ณ วันหนึ่งว่า
ระหว่างท่านกับพระอุปัชฌาย์ใครจะมีความรู้ทาง
พุทธศาสนามากกว่ากัน) ต่อท่านให้ พระอุปัชฌาย์
ท่านเป็นพระอรหันต์จึงล่วงรู้ความในใจที่พระพุทธโฆ
สาจารย์คิด พระอุปัชฌาย์บอกว่าจะยกโทษให้ก็
ต่อเมื่อพระพุทธโฆสาจารย์เดินทางไปลังกา และแปล
อรรถกถาภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลีก่อน
๖. สถานที่มรณภาพ นักปราชญ์ทั้งหลายยังไม่ทราบ
แน่ชัดว่าท่านมรณภาพ ณ สถานที่ใดแน่ แต่ตามที่
คัมภีร ์พุทธโฆสุปปัตติ ปริจเฉทที่ ๘ กล่าวไว้ว่า พระ
พุทธโฆสาจารย์มรณภาพที่พุทธคยา ซึ่งน่าจะ
น่าเชื่อถือได้มากกว่าที่ประเทศกัมพูชาซึ่งมีวัด
โบราณชื่อเหมือนท่านอยู่
ผลงาน
๑. ผลงานดั้งเดิม เป็ นคัมภีร ์ที่ท่านแต่งขึ้น
เองขณะอยู่ในอินเดีย ก่อนจะเดินทางไป
ศึกษาและแปลอรรถกถาภาษาสิงหลเป็ น
ภาษาบาลีในลังกา มีอยู่ ๓ คัมภีร ์
๑.๑ คัมภีร ์ญาโณทัย เป็ นผลงานเล่มแรกใน
ชีวิต เกี่ยวข้องกับความรู้เรื่องปรัชญา
๑.๒ คัมภีร ์อัตถสาลินี เป็ นคัมภีร ์
อรรถาธิบายคัมภีร ์ธัมมสังคณี
๑.๓ คัมภีร ์ปริตตัฏฐกถา เป็ นคัมภีร ์อธิบาย
ความพระปริตตสูตรต่างๆ
ผลงานดั้งเดิม
ผลงาน
๒. ผลงานประเภทอรรถกถา
๒.๑ คัมภีร ์สมันตปาสิทิกา (อรรถกถาพระวินัยปิฎก) ๒.๒ คัมภีร ์กังขาวิ
ตรณี (อรรถกถาปาติโมกข์) ๒.๓ คัมภีร ์สุมังคลวิลาสินี (อรรถกถาทีฆ
นิกาย) ๒.๔ คัมภีร ์ปปัญจสูทนี (อรรถกถามัชฌิมนิกาย) ๒.๕ คัมภีร ์สา
รัตถปกาสินี (อรรถกถาสังยุตตนิกาย) ๒.๖ คัมภีร ์มโนรถปูรณี (อรรถ
กถาอังคุตตรนิกาย) ๒.๗ คัมภีร ์อักฐสาลินี (อรรถกถาธัมมสังคิณี)
๒.๘ คัมภีร ์สัมโมหวิโนทนี (อรรถกถาวิภังค์) ๒.๙ คัมภีร ์ปัญจัป
ปกรณัฏฐกถา (อรรถกถาธาตุกถา ปุคคลบัญญัตติ กถาวัตถุ ยมก
และปัฏฐาน) ๒.๑๐ คัมภีร ์ปรมัตถโชติกา (อรรถกถาขุททกปาฐะและ
สุตตนิบาต) ๒.๑๑ คัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถา (อรรถกถาธรรมบท) ๒.๑๒
คัมภีร ์ชาตกัฏฐกถา (อรรถกถาชาดก) และ ๒.๑๓ คัมภีร ์วิสุทธชน
วิลาสินี (อรรถกถาอปาทาน)
อรรถกถา ๙ คัมภีร ์แรกเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าพระพุทธโฆสาจารย์
แต่งขึ้นจริง แต่อีก ๔ คัมภีร ์ยังสงสัยกันอยู่
พระพุทธโฆสาจารย์ได้แต่งคัมภีร ์อรรถกถาพระสุตตันตปิฎกไว้๘ คัมภีร ์
คือ ๑. สุมังคลวิลาสินี ๒. ปปัญจสูทนี ๓. สารัตถปกาสินี ๔. มโนรถ
ปูรณี ๕. ปรมัตถโชติกา ๖. ชาตกัฏฐกถา ๗. ธัมมปทัฏฐกถา และ ๘. วิ
สุทธชนวิลาสินี
ผลงานประเภท
อรรถกถา
รูปแบบการประพันธ์
พระพุทธโฆสาจารย์ได้นาเอาพุทธพจน์ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนแก่พุทธบริษัทในสถานที่ต่าง ๆ
มาผูกเรื่องอธิบายขยายเนื้อความให้ธรรมบทมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในจานวนธรรมบท
ทั้งหมด ๔๒๓ คาถา นามาผูกเรื่องประกอบได้ ๒๙๙ เรื่อง ในแต่ละเรื่องโดยส่วนมากจะมี
องค์ประกอบของการประพันธ์๔ ประการ คือ
๑. อารัมภบทต้นเรื่อง ๒. เนื้อเรื่อง ๓. คาถา (บทตั้งและบทอธิบาย) และ ๔. สรุปจบ
คัมภีร ์อรรถกถาธรรมบท เป็ นงานอธิบายความพระคาถาธรรมบท ๔๒๓ คาถา ซึ่งเป็ นพระคาถา
(คาร ้อยกรอง) พรรณนาเนื้อหาพุทธพจน์ล้วน ๆ ไม่มีเรื่องราวที่เป็ นร ้อยแก้วประกอบ เป็ นงานที่
มีเรื่องเล่าทานองชาดกประกอบเรื่อง คาอธิบายพระคาถาธรรมบทนั้นก็มีทั้งคาถาและเรื่องราว
แบบร ้อยแก้ว เรื่องในคัมภีร ์อรรถกถาธรรมบทมีลักษณะเนื้อหาเป็ นของพระพุทธศาสนานามา
จากพระวินัยปิฎก ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย อุทาน วิมานวัตถุ เปต
วัตถุ สุตตนิบาต และชาดก ตัวละครส่วนใหญ่ในเรื่องประกอบคาอธิบายพระคาถาธรรมบทเป็ น
พระสาวกของพระพุทธเจ้า
ความแพร่หลาย
คาสอนธรรมบท มีเนื้อหากินใจ จึงเป็ นที่นิยมศึกษากันในหมู่ชาวพุทธ ในเมืองไทยคณะสงฆ์ใช้
อรรถกถาธรรมบทเป็ นคู่มือเรียนบาลีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๒ ผู้เรียนบาลีในช่วง ๒๐๐ ปีที่ผ่านมา
จึงรู้จักหรืออย่างน้อยเคยเรียนอรรถกถาธรรมบท ทาไมนักเรียนบาลีต้องเรียนอรรถกถาธรรมบท
สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากชาวพุทธศรีลังกาที่เป็ นต้นแบบพุทธศาสนาเถรวาท ดังเหตุการณ์
เมื่อปี พ.ศ. ๒๒๙๓ ชาวพุทธเถรวาท เช่น ในประเทศศรีลังกา พม่า และไทย ใช้อรรถกถาธรรม
บทเป็ นหลักศึกษาพระพุทธศาสนา ประเทศทางตะวันตกพิมพ์ธรรมบทหลายภาษา มีทั้ง
ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอังกฤษ ภาษาอิตาเลียน เป็ นต้น
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
มีจุดมุ่งหมายในการอธิบายคาสอนหรือพุทธพจน์ที่เรียกว่า “ธรรมบท” ที่พระสังคีติกาจารย์ได้
สังคายนารวบรวมจัดเป็ นหมวดหมู่ไว้ในคัมภีร ์ขุททกนิกาย เรียกว่า “ขุททกนิกายธรรมบท”
เป็ นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ มีนิทานประกอบเพื่ออธิบายความบทแห่งธรรม ๔๒๓
คาถา เรื่องที่นามาใช้สาหรับแต่งอธิบายในคัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถาหรืออรรถกถาธรรมบทมี
ทั้งหมด ๒๙๙ เรื่อง ลักษณะของเรื่องทั้งหมดจะเป็ นเรื่องนิทานธรรม ให้ข้อคิดคติธรรมในการ
ดาเนินชีวิต เพราะโดยส่วนมากแล้วจะเป็ นการสอนให้ละความชั่วทาความดีและทาจิตใจให้ผ่องใส
และนาคาถาเข้ามาแทรกเข้าในเนื้อหาของเรื่องได้อย่างเหมาะสม เป็ นคาถาที่พระพุทธเจ้าทรง
สอนแก่บุคคลต่าง ๆ มีทั้งมนุษย์และเทวดา พระพุทธโฆสาจารย์เขียนคัมภีร ์อรรถกถาขึ้นตามคา
อาราธนาของพระกุมารกัสสปะ และเพื่อจุดหมายของการศึกษาอรรถกถาภาษาสิงหลและแปล
กลับมาเป็ นภาษาบาลีอีกครั้ง ส่วนกองตาราแห่งมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้
จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถาเป็ นหลักสูตรเปรียญธรรมหลักสูตรประโยค ๓
ภาษาที่ใช ้แต่ง ฉบับที่ใช ้ทารายงาน
พระพุทธโฆสาจารย์เดินทางไปแปลอรรถกถาในสิงหลทวีปได้เรียบเรียงไว้จาก
ภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี แล้วกองตาราแห่งมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระ
บรมราชูปถัมภ์ได้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถาเป็ นหลักสูตร
เปรียญธรรมหลักสูตรประโยค ๓ โดยมอบให้พระมหาอู นิสฺสโภ ป.๗ วัดบวร
นิเวศวิหาร เป็นผู้รับไปดาเนินการ
หนังสือธัมมปทัฏฐกถาแปลภาษาไทยโดยอรรถ ฉบับของ
มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีด้วยกัน ๘
เล่ม จานวน ๘ ภาค ตั้งแต่ ภาค ๑ ถึง ภาค ๘
โครงสร ้าง
“ธัมมปทัฏฐกถา” เป็นหนังสืออธิบายหลักธรรมในคัมภีร ์ธรรมบท ขุททกนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕
ดังนั้นจึงต้องทราบถึงโครงสร ้างพระไตรปิฎกทั้ง ๓ หมวด แล้วเข้าถึงโครงสร ้างพระสุตตันตปิฎก
ซึ่งธัมมปทัฏฐกถาจะอยู่ในพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม ๒๕ ขุททกนิกาย
โครงสร ้าง
หนังสือธัมมปทัฏฐกถา
เล่ม ๑ ภาค ๑ ยมกวรรค วรรณา มี ๑๔ เรื่อง
เล่ม ๒ ภาค ๒ อัปปมาทวรรค
วรรณา
มี ๙ เรื่อง
เล่ม ๒ ภาค ๒ จิตตวรรค วรรณา มี ๙ เรื่อง
เล่ม ๓ ภาค ๓ ปุปผวรรค วรรณา มี ๑๒ เรื่อง
เล่ม ๓ ภาค ๓ พาลวรรค วรรณา มี ๑๕ เรื่อง
เล่ม ๔ ภาค ๔ บัณฑิตวรรค
วรรณา
มี ๑๑ เรื่อง
เล่ม ๔ ภาค ๔ อรหันตวรรค
วรรณา
มี ๑๐ เรื่อง
เล่ม ๔ ภาค ๔ สหัสสวรรค
วรรณา
มี ๑๔ เรื่อง
เล่ม ๕ ภาค ๕ ปาปวรรค วรรณา มี ๑๒ เรื่อง
เล่ม ๕ ภาค ๕ ทัณฑวรรค
วรรณา
มี ๑๑ เรื่อง
เล่ม ๕ ภาค ๕ ชราวรรค วรรณา มี ๙ เรื่อง
เล่ม ๖ ภาค ๖ อัตตวรรค วรรณา มี ๑๐ เรื่อง
เล่ม ๖ ภาค ๖ โลกวรรค วรรณา มี ๑๑ เรื่อง
เล่ม ๖ ภาค ๖ พุทธวรรค
วรรณนา
มี ๙ เรื่อง
เล่ม ๖ ภาค ๖ สุขวรรค วรรณนา มี ๘ เรื่อง
เล่ม ๖ ภาค ๖ ปิ ยวรรค วรรณนา มี ๙ เรื่อง
เล่ม ๖ ภาค ๖ โกธวรรค วรรณา มี ๘ เรื่อง
เล่ม ๗ ภาค
๗
มลวรรค วรรณนา มี ๑๒ เรื่อง
เล่ม ๗ ภาค
๗
ธัมมัฏฐวรรค
วรรณนา
มี ๑๐ เรื่อง
เนื้อหา
เนื้อหาของคัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถา อธิบายความธรรมบทแห่งขุททกนิกายในพระสุตตันตปิฎก แบ่งเป็น ๘ ภาค
ธัมมปทัฏฐกถามีเรื่องประกอบพระคาถาธรรมบท ๔๒๓ คาถา จานวน ๒๙๙ เรื่อง และแบ่งออกเป็น ๒๖ วรรค/หมวด
ภาคที่
๑
อธิบายความในยมกวรรค
ภาคที่ ๒ อธิบายความในอัปปมาทวรรค และจิตตวรรค
ภาคที่ ๓ อธิบายความในปุปผวรรค และพาลวรรค
ภาคที่ ๔ อธิบายความในปัณฑิตวรรค อรหันตวรรค และสหัสสวรรค
ภาคที่ ๕ อธิบายความในปาปวรรค ทัณฑวรรค และชราวรรค
ภาคที่ ๖ อธิบายความในอัตตวรรค โลกวรรค พุทธวรรค สุขวรรค ปิยวรรค และโกธวรรค
ภาคที่ ๗ อธิบายความในมลวรรค ธัมมัฏฐวรรค มัคควรรค ปกิณณกวรรค นิรยวรรค และนา
ควรรค
ภาคที่ ๘ อธิบายความในตัณหาวรรค ภิกขุวรรค และพราหมณวรรค
เนื้อหา
ลักษณะการแต่งอรรถกถาธรรมบทได้รับอิทธิพลทางเนื้อหาของพระพุทธศาสนาซึ่งส่วนใหญ่ได้จากพระวินัย
ปิฎกและพระสุตตันตปิฎกในทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย อุทาน วิมานวัตถุ เปตวัตถุ
สุตตนิบาต และชาดก ตัวละครที่เล่าประกอบเรื่องส่วนใหญ่เป็นเรื่องพระสาวกของพระพุทธเจ้าทั้งหมด และเรื่อง
ทุกเรื่องในอรรถกถาธรรมบท ประกอบด้วย ๔ ส่วน คือ
(๑) ปัจจุบันวัตถุ เรื่องปัจจุบัน เริ่มเรื่องด้วยพวกภิกษุสนทนากันในโรงธรรม (ธรรมสภา) ถึงบุคคลและกรรมของ
เขา พระพุทธเจ้าทรงทราบ จึงเสด็จมาตรัสแสดงพระธรรมเทศนา
(๒) อตีตวัตถุ เรื่องในอดีตของบุคคลและกรรมของเขา และพระพุทธเจ้าตรัสบุพกรรมของเขาในชาติก่อนๆ ให้
ภิกษุทั้งหลายฟัง
(๓) คาถา เรื่องที่แต่งเป็นร ้อยกรองซึ่งนามาจากธรรมบท
(๔) เวยยากรณะ แปลอธิบายความในลักษณะอธิบายคา
นัยว่าการจัดเรื่องในคัมภีร ์อรรถกถาธรรมบทจัดตามเนื้อหาของเรื่อง เรื่องที่มีเนื้อหาหลักเป็นอย่างเดียวกัน
ก็จัดอยู่ในกลุ่มหรือหมวดหรือวรรคเดียวกัน หรือเอาเรื่องแรกในกลุ่มเป็นชื่อวรรค/หมวดของตน
องค์ความรู้
๑. จิตวิทยา ๒. ทัศนคติ ๓. วิถีชีวิตของภิกษุ ๔. วิถีชีวิตพระอรหันต์
๕. ประเพณีครั้งพุทธกาล ๖. บทบาทของพระพุทธเจ้า ๗. ความรู้ทาง
พระพุทธศาสนา ๘. คาสอนนอกพระพุทธศาสนา ๙. คติชนวิทยา
๑๐. ภาษิต สานวนโวหาร ๑๑. ภูมิศาสตร ์๑๒. ประวัติศาสตร ์และ
๑๓. ไวยากรณ์
บางตัวอย่างขององค์ความรู้
ประเพณีครั้งพุทธกาล
- ต่อมนต์กับอาจารย์ (มุขปาฐะ) - ธรรมเนียม
การปูอาสนสาหรับพระพุทธเจ้า - ธรรมเนียม
ก่อนเสด็จจาริก - ภิกษุปูอาสนะสาหรับ
พระพุทธเจ้าในที่พักของตน - มนุษย์ต้องการ
พระสงฆ์ไม่ว่าเป็ นงานมงคลหรืองานอวมงคล
- ศิษย์ไม่วางสัมภาระไว้บนที่นั่งที่นอนครู
อาจารย์- การเลี้ยงดูบิดามารดาเป็ นหน้าที่ของ
บุตรธิดา - คาสอนหญิงที่ไปอยู่ในบ้านของสามี
- ตาแหน่งเศรษฐีต้องได้รับการแต่งตั้ง -
เทศกาลเลือกคู่ (วิวฏนักษัตร) - เทศกาลของ
คนพาล (พาลนักษัตร) - เทศกาลดื่มสุรา
(สุราฉโณ)
บทบาทของพระพุทธเจ้า
- เป็ นมนุษย์แต่บทบาทยิ่งกว่าเทวดา - มี
หลายร ้อยหลายพันพระองค์- มีวิสัยทัศน์
สารวจสัตว์โลกวันละ ๒ ครั้ง (ทีฆทสฺสินา
พุทฺเธน) - เป็ นนิคคัยหวาที เข้มงวด ฉลาด
ในวิธีการสอน (เทสนากุสลตา) - แสดง
ธรรมตามภูมิหลังของผู้ฟัง - เป็ นครูของ
ชาวโลก (โลกครุนา พุทฺเธน) - ไม่ประสงค์
คนคุยโวโอ้อวด - บอกทางดาเนินชีวิต -
เหมือนช้างศึกในสงครามที่รับลูกศรจาก
จตุรทิศ
ประเด็นที่สนใจในการทารายงาน
คุณค่า
ที่ได้จากเรื่องพระจักขุบาลเถระ
๑. ด้านประวัติบุคคลสาคัญและสถานที่สาคัญในพระพุทธศาสนา
๑.๑ ท่านอนาถบิณฑกเศรษฐี ได้บริจาคทรัพย์ซื้อสวนของเจ้า
เชตแล้วสร ้างวัดถวายพระพุทธเจ้าสิ้นเงิน ๕๔ โกฏิ วัดสาคัญ
นั้นคือ วัดเชตะวัน เมืองสาคัญนั้นคือ เมืองสาวัตถี
ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี มักไม่ทูลถามข้อธรรมปฏิบัติจาก
พระพุทธเจ้า เพราะท่านเกรงว่าจะเป็นการรบกวนเบื้องยุคล
บาท เมื่อไม่ต้องการให้พระพุทธองค์ทรงเหน็ดเหนื่อย จึงไม่ทูล
ถามปัญหาใด ๆ นั้น มิได้หมายความว่าท่านเศรษฐีเป็นคนไม่
ใฝ่ใจศึกษาปฏิบัติธรรม หามิได้ที่จริงแล้วท่านเป็นผู้มี “ธัมม
กามตา” (ความใฝ่ธรรม, ความใฝ่รู้) เป็ นอย่างยิ่งท่านมีพระ
เถระที่สนิทคุ้นเคยสองรูปคือ พระสารีบุตรและพระอานนท์มี
ปัญหาข้องใจอะไร พระเถระทั้งสองจะเป็นผู้อนุเคราห์แสดง
ธรรมให้ท่านฟัง ดังปรากฏในพระสูตรหลายแห่ง แต่อย่างไรก็
ตามมีข้อสังเกตอย่างหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะบางคนก็มีลักษณะ
“เกรงใจไม่เข้าเรื่อง” ซึ่งการเกรงใจในลักษณะนี้ ไม่เป็ นผลดี
และอาจกลายเป็ นเรื่องที่ทาให้เสียประโยชน์ หรือเกิดโทษ
ตามมา ในความเป็นจริงมีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เช่น เห็น
คนทาผิด แต่ก็เกรงใจ ไม่กล้าบอก ไม่กล้าตักเตือน กลัวว่า
เขาจะเสียใจ หรือกลัวว่าเขาจะเกลียดตน เป็ นต้น
๑.๒ นางวิสาขามหาอุบาสิกา ได้บริจาคทรัพย์ ๒๗ โกฏิ สร ้างวัด
สาคัญชื่อ วัดบุพพาราม ที่เมืองสาวัตถีเช่นกัน
พระพุทธเจ้าทรงประทับจาพรรษาในเมืองสาวัตถีมากที่สุดถึง ๒๕
พรรษา คือ ณ วัดเชตะวัน นาน ๑๙ พรรษา และวัดบุพพารามนาน ๖
พรรษา ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตว่าอาจจะด้วยเหตุผลเพราะที่เมืองสาวัตถีนี้มี
ผู้อุปถัมภ์ศาสนาคนสาคัญหลายคน เช่น พระเจ้าปเสนทิโกศล อนาถ
บิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขา เป็ นต้น ซึ่งให้การทานุบารุงพระพุทธศาสนา
อย่างมั่นคง จากเรื่องพระจักขุบาลเถระนี้ในเวลานั้นในนครสาวัตถีมีคน
อยู่ประจา ๗ โกฏิ (ถ้า โกฏิ = ๑๐ ล้าน ก็คงจะเป็ น ๗๐ ล้าน) ในคน
จานวนนั้น ๕ โกฏิ เป็ นพระอริยสาวก (ตั้งแต่พระโสดาบัน พระ
สกิทาคามี พระอนาคามี จนถึงพระอรหันต์) อีก ๒ โกฏิ ยังคงเป็ น
ปุถุชนคนธรรมดา แสดงให้เห็นถึงสัดส่วนของพระอริยสาวกต่อปุถุชน
เท่ากับ ๒.๕:๑ เลยทีเดียว
๑.๓ บทบาทของเทวดาในพระพุทธศาสนา ท้าวสักกเทวราช แปลง
กายมาช่วยพระจักขุบาลเถระ เพราะบัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ของท่าน
สะเทือน และในเรื่องยังได้แสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของที่ประทับของ
ท้าวสักกเทวราช คือ ยาว ๖๐ โยชน์ กว้าง ๕๐ โยชน์ หนา ๑๕ โยชน์
มีสีเหมือนดอกชัยพฤกษ์ เวลานั่งยุบลง เวลาลุกก็ฟูขึ้นตามปกติ
๒. ด้านหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
มโนปุพฺพงฺคมาธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา
มนสาเจปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา
ตโตนทุกฺขมนฺเวต จกฺก ว วหโต ปท
ธรรมทั้งหลายมีใจเป็ นหัวหน้า มีใจเป็ นใหญ่
สาเร็จด้วยใจ ถ้าบุคคลใดมีใจร ้ายแล้วพูดอยู่
ก็ดี ทาอยู่ก็ดี ทุกข์ย่อมไปตามเขา เพราะเหตุ
นั้น ดุจล้ออันหมุนไปตามรอยเท้าโคผู้นาแอก
ไปอยู่ฉะนั้น
คุณค่าของคาสอนแสดงให้เห็นถึง
ความสาคัญของจิตในแง่ที่เป็ นประธานเป็ น
ใหญ่ในกิจทั้งปวง
หลังจากจบพระธรรมเทศนาที่เป็ น
อารัมภบทนี้ พระภิกษุจานวนสามหมื่นรูป
สาเร็จเป็ นพระอรหันต์พร ้อมด้วยปฏิสัมภิทา
พระธรรมเทศนามีประโยชน์ มีผล แก่พุทธ
บริษัทที่มาประชุมกันแล้วเป็ นกาลังในการ
เผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป
พระศาสดาทอดพระเนตรอุปนิสัยของกุฎุมพีมหาปาละแล้วทรงแสดงธรรม อนุปุพพีกถา ๕
แสดงธรรมเรียงลาดับจากง่ายไปหายาก
๑. ทานกถา (พรรณนาทาน) ๒. สีลกถา (พรรณนาศีล) ๓. สัคคกถา (พรรณนาสวรรค์) ๔. โทษ
ความเลวทรามและความเศร ้าหมองแห่งกามทั้งหลาย และ ๕. อานิสงส์ในเนกขัมมะ (คือความ
ออกไปจากกามทั้งหลาย)
เป็ นธรรมเทศนาสาหรับปรับจิตเพื่อให้คนมีสัมมาทิฏฐิระดับหนึ่งเพื่อจะปล่อยวางโลกและเอียงไป
ทางนิพพานเพื่อจะได้เห็นอริยสัจ
เป็ นธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเพื่อฟอกอัธยาศัยของบุคคล ผู้ฟังให้มีความประณีตขึ้น
ไปโดยลาดับ ถ้าหากว่าผู้ฟังสามารถที่จะชาระกิเลสของตนให้เบาบางลงได้ตามที่ทรงแสดงแล้ว
ต่อไปก็จะแสดงอริยสัจ ๔
กฏแห่งกรรม “กงกรรมกงเกวียน”
บุรพกรรมของพระเถระ ในอดีตชาติ พระเถระ
เคยเป็ นจักษุแพทย์ รักษาคนไข้ให้หายจากโรค
ตาแล้วคนไข้ผิดสัญญาที่ให้ไว้ ด้วยคามแค้นจึง
ปรุงยาขนานใหม่ทาให้คนไข้ตาบอด ด้วยผลแห่ง
กรรมนั้น ทาให้หมอเป็ นคนตาบอดทุกชาติ จน
ชาติสุดท้ายที่ได้บวชเป็ นพระจักขุบาลและ
บรรลุเป็ นพระอรหันต์ในขณะที่ตาบอด =
“งานบวช (บุญ) ต้องฆ่าสัตว์มาเลี้ยงพร ้อมสุรา
(บาป)”
พระสยาดอฯ รณรงค์สาเร็จ
เรื่องเสียงที่มีพลังดึงดูด พระพุทธเจ้าตรัสว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตไม่มองเห็น
เสียงอื่น แม้แต่เสียงเดียว ที่จะยึดเหนี่ยวครอบงา
จิตของบุรุษไว้ได้ นอกจากเสียงของสตรี”
ชาย-หญิง มีธรรมชาติที่ดึงดูดใจของกันและกัน
เสมอ เช่น เสียงของผู้หญิงมักเป็ นที่ดึงดูดใจของ
ชาย ขณะที่เสียงของชายก็มักเป็ นที่ดึงดูดใจ
ของหญิง รูปร่างและลักษณะท่าทางของหญิง
ย่อมดึงดูดใจต่อชาย ขณะที่รูปร่างและลักษณะ
ของชายก็ย่อมดึงดูดใจหญิง
๓. ด้านวิถีชีวิตของพระสงฆ์
และพุทธคฤหัสถ์ครั้งพุทธกาล
ในสมัยพุทธกาล หน้าที่ของพุทธคฤหัสถ์หรือทา
ยกตัวอย่างมี ๒ ประการ คือ
๑. ในเวลาเช้า ทาบุญทาทานมีถวายภัตตาหาร เป็นต้น
๒. ในเวลาเย็น ก็ไปวัดเพื่อฟังธรรม พร ้อมทั้งนาเอา
ปัจจัยสี่มี ผ้าจีวร ยา พวงดอกไม้ ของหอม เป็นต้น
พร ้อมด้วยน้าปานะสาหรับถวายพระสงฆ์
ธุระหรืองานสองอย่างของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา
เหมือนดั่งหลักสูตร มจร.
๑. คันถธุระ คือการศึกษาเล่าเรียนพระพุทธพจน์ แล้ว
ทรงจานามาแสดงสั่งสอน
๒. วิปัสสนาธุระ การอยู่ในที่วิเวกสงัดคนเดียวแล้ว
พิจารณารูปกับนาม เจริญวิปัสสนากรรมฐาน
วัดกับบ้าน อิงอาศัยกัน ซึ่งจากเรื่องพระจักขุบาล
จะได้เห็นตัวอย่างของการพึ่งพาอาศัยกัน พระพึ่ง
ปัจจัย ๔ จากชาวบ้าน ขณะที่ชาวบ้านก็ได้อาศัย
พระ อาศัยวัดช่วยขัดเกลาอุปนิสัยใจในเรื่องของ
ทาน ศีล ภาวนา ต่างฝ่ายต่างสงเคราะห์ประโยชน์
ซึ่งกันและกัน สังคมก็อยู่เป็ นสุข
สมัยพุทธกาลชาวบ้านไปฟังธรรม พระพุทธเจ้าทรง
แสดงธรรมตอนเลิกงาน สี่โมงถึงหกโมงเย็น นา
ดอกไม้ธูปเทียนของหอมไปฟังธรรม ใครมาก่อนนั่ง
หน้า = อุบาสก อุบาสิกา (นั่งใกล้พระรัตนตรัย)
สมัยนี้มาก่อนจองที่นั่งข้างหลัง ข้างหน้าว่าง
๔. ด้านการอยู่ร่วมกันในสังคม
๕. ด้านพิธีกรรมและประเพณี
พิธีกรรมทางศาสนาพุทธมีชาวพุทธบริษัทเป็ นผู้ร่วมประกอบ
พิธีแฝงปรัชญาธรรมไว้เป็นหลักการของพิธีกรรมนั้นด้วย โดยมี
จุดมุ่งหมายที่จะให้คนเข้าใจหลักธรรมโดยไม่รู้ตัว เช่น พิธีบน
บานต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในเรื่องพระจักขุบาลเถระนี้ กุฎุมพีไปทา
ความสะอาดต้นไม้ใหญ่ ประดับด้วยธง อธิษฐานขอต่อพรเทพ
เทวดาที่สถิตอยู่บนต้นไม้นั้นว่า ขอให้ได้ลูก ถ้าได้แล้วจะทาการ
บวงสรวงใหญ่สืบเนื่องมาจากการบนบานทาให้กฎุมพีได้
บุตรชาย
คติความเชื่อว่าต้นไม้ใหญ่มีผีสางเทวดาสิงสถิตอยู่ ด้วยทั้ง
ศาสนาฮินดูกับพุทธศาสนามีการกล่าวถึงรุกขเทวดาจึงมีความ
เป็ นไปได้ว่า คติความเชื่อในการบูชารุกขเทวดาในสังคมไทย
อาจมาจากอิทธิพลของทั้งสองศาสนา แต่ตามความเป็นจริง
แล้วการบูชารุกขเทวดาในสังคมไทยนั้นแปลสภาพมาจากการ
นับถือผีในธรรมชาติของคนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัย
โบราณ หรือมาจากลัทธินับถือผี และด้วยอิทธิพลของทั้งสอง
ศาสนาที่เข้ามาในภายหลังจึงมีการผนวกผีให้กลายเป็นเทพ
หรือเทวดาในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนานั้นไปโดยปริยายซึ่งมี
ลักษณะเช่นนี้เป็ นการหลอมรวมทางคติความเชื่อเรื่องพุทธ
พราหมณ์ ผี เป็ นหนึ่งเดียวจนแยกไม่ออก
๑. ปฏิปทาของพระเถระ เมื่อพระเถระรู้ว่าสามเณรทุศีล ก็ไม่ยอม
คบอีกต่อไปเลยถึงแม้จะเป็นหลานก็ตาม เพราะถือคติว่า พระชั่วก็
ตาม ฆราวาสชั่วก็ตาม ก็คือคนชั่วเหมือนกัน ฉะนั้นคนชั่วอย่าง
หลานชายก็ไม่ควรที่จะมาจับปลายไม้ของเราเลย ถึงเราจะตายก็
ยอม แต่จะไม่ยอมเป็ นเพื่อนกับคนพาลอีกต่อไปท
๒. พระเถระเตือนตนด้วยตนเอง พระเถระพูดกับตนเองว่า ดูก่อน
ปาลิตะ จะมัวประมาทอยู่ทาไม? ตา หู ทั้งหลายแม้กระทั่งร่างกายก็
จะแก่ชรา เสื่อมสลายไป อย่าไปใส่ใจกับมันเลย หันกลับมาใส่ใจใน
คาสอนของพระพุทธเจ้าดีกว่า เพื่อพ้นทุกข์ในสังสารวัฏฏ์นี้
๓. ปณิธานอย่างแรงกล้าไม่เคยหยุดความพยายาม ยอมสละตา
เพื่อรักษาปณิธานที่ตั้งเอาไว้โดยที่ไม่ใส่ใจกับความเจ็บปวดเลย
๔. มักมีคาถามเกิดขึ้นในสังคมปัจจุบันว่า พระทาผิด กับฆราวาส
ญาติโยมทาผิด ใครผิดมากกว่ากัน ส่วนใหญ่คาตอบส่วนมาก
มักจะลงที่พระ หรือบางทีอาจจะเปรียบในลักษณะอื่น เช่น ชาวบ้าน
ธรรมดาทาผิด กับผู้รักษากฎหมายทาผิด ใครผิดมากกว่ากัน
คาตอบก็จะมาลงที่ผู้รักษากฎหมาย เป็ นต้น แต่ในเรื่องพระจักขุ
บาลนี้ มีคาเฉลยที่อาจจะแตกต่างจากความรู้สึกเรา นั่นคือแทนที่
จะบอกว่าใครผิดมากกว่าใคร กลับตอบว่า “ผิดทั้งนั้น” หรือ “ผิด
เหมือนกันนั่นแหละ” ซึ่งเป็ นการเพ่งเฉพาะตัวพฤติกรรมที่เป็ น
ความผิด โดยที่ไม่เพ่งถึงสถานะของบุคคล เช่นตอนที่สามเณร
หลานชายพระจักขุบาลทุศีล
๖. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมที่ควร
นามาเป็นแบบอย่าง
๗. ด้านวรรณคดี
การอ่านธรรมบท เหมือนดังการทานต้มยากุ้ง
พระพุทธพจน์เปรียบดังเนื้อกุ้ง การขยาย
ความหมายคาถาพุทธพจน์ดังเห็ดที่ใส่ประกอบ
นิทานประกอบเรื่อง เปรียบดัง ขิงข่า ใบมะกรูด
เพิ่มรสชาติเครื่องเคียงที่เพิ่มรสชาตินี้ มีอภินิหาร
การบนบาน ซึ่งขัดต่อคาสอนแต่เป็ นความจาเป็ น
ในสมัยที่พระพุทธโฆสาจารย์จาต้องรจนาดังนั้น
เพราะ ๑๐๐๐ ปีหลังพุทธกาล ศาสนาพุทธเสื่อม
ทรามลงมากในชมพูทวีป คนเราหันไปอ้อนวอน
กราบไหว้ เหมือนคนสมัยนี้บางส่วน ต้องต่อสู้กับ
ลัทธิ ภักติ คือมีศรัทธาต่อเทพเจ้าอย่างเข้มข้น
จึงส่งผลกระทบต่อพุทธศาสนาดั้งเดิม ดังนั้นใน
ธรรมบทจึงมีเรื่องพวกนี้ค่อนข้างมาก
ธรรมบท บทแห่งธรรม แต่งเป็ นภาษากวี กวีแต่ง
ธัมมปทัฏฐกถาต่างจากกวีที่สะท้อนอารมณ์
ความรู้สึก เช่น ความรัก ความเหงา และความเศร ้า
อันเกิดจากการถูกกระทบรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส
จากภายนอก แต่ธัมมปทัฏฐกถาแต่งขึ้นจาก
ความคิดที่สงบนิ่งปราศจากความหวั่นไหว มี
ความคิดเป็ นอิสระเสรีเต็มที่ ความคิดและความรู้สึก
ที่แสดงออกมาจึงไม่ได้เป็ นจินตนาการ แต่เป็ นการ
แสดงสัจธรรมของชีวิต โดยอาศัยภาษาเป็ น
เครื่องมืออย่างงดงาม ก่อให้เกิดความปิติ เลื่อมใส
หรือความสงบเสรีแก่ผู้เข้าถึง เป็ นการใช ้ภาษา
ถ่ายทอดความจริงของชีวิตในสมัยครั้งพุทธกาล
ทาให้ผู้ศึกษาได้เข้าถึงความเป็ นจริงอันนั้นด้วย
โดยผ่านกระบวนการถ่ายทอดทางภาษา ซึ่งจะเกิด
ความลึกซึ้ง เลื่อมใสศรัทธาในหลักธรรมคาสอนที่
ปรากฏอยู่ในคัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถานั้น
๘. ด้านภาษา
ขอขอบคุณ
อาจารย์ดร. เสฐียร ทั่งทองมะดัน
นาเสนอโดย นายภาณุวัชร พัทธาดนย์ ๕๙๐๑๐๕๐๑๔

More Related Content

What's hot

ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์Tongsamut vorasan
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นPrasit Koeiklang
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 

What's hot (20)

ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 

Similar to ธัมมปทัฏฐกถา

ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Jirakit Meroso
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1Natthaphong Messi
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdfmaruay songtanin
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 

Similar to ธัมมปทัฏฐกถา (20)

ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
บรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรมบรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรม
 
บรรณานุกรม (พฤติกรรม) จริง
บรรณานุกรม (พฤติกรรม) จริงบรรณานุกรม (พฤติกรรม) จริง
บรรณานุกรม (พฤติกรรม) จริง
 
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริงบรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
เอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสานเอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสาน
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
test upload
test uploadtest upload
test upload
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 

ธัมมปทัฏฐกถา

  • 3. ความสาคัญ อรรถกถาธรรมบทซึ่งมีชื่อในภาษาบาลีว่า “ธัมมปทัฏฐกถา” เป็ นหนังสืออธิบาย พระไตรปิฎก (เรียกว่า อรรถกถา) โดย อธิบายหลักธรรมในคัมภีร ์ธรรมบท ขุททกนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ ซึ่งมี ๑๕ คัมภีร ์ ๑. ขุททกปาฐะ ๒. ธรรมบท ๓. อุทาน ๔. อิติวุตตกะ ๕. สุตตนิบาต ๖.วิมานวัตถุ ๗. เปตวัตถุ ๘. เถรคาถา ๙. เถรีคาถา ๑๐. ชาดก ๑๑. นิทเทส ๑๒. ปฏิสัมภิทามรรค ๑๓. อปทาน ๑๔. พุทธวงส์ ๑๕. จริยาปิฎก
  • 4. ที่มา เช้ามืดวันหนึ่ง ท่านพระอนุรุทธเถระสวดธรรมบท ที่เชตวันวิหาร หญิงคนหนึ่งได้ยิน เสียงสวดจึงบอกแก่บุตรว่า “อย่าส่งเสียงดัง ภิกษุกาลังสวดบทธรรม ถ้าเรารู้แจ้งบทธรรมแล้วทาตามได้ข้อนั้นย่อม เป็ นประโยชน์เกื้อกูลแก่เรา” ยืนยันว่าธรรมบทมีอยู่ตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ใดรู้แจ้งบทธรรม ทาตามได้จะเป็ น ประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้นั้น ต่อมามีผู้รู้แต่งอธิบายธรรมบทแต่งนิทานประกอบขยายความ จึงเป็ นที่มาของอรรถ กถาธรรมบท (ธัมมปทัฏฐกถา)
  • 5. ความหมาย ธัมมปทัฏฐกถา มาจากภาษาบาลีคาว่าธมฺมปทฏฐกถา เป็ นหนังสืออธิบายความในธรรมบทแห่งขุททกนิกาย ในพระสุตตันตปิฎก หมายถึง อรรถกถาของธรรมบท หรือบทแห่งธรรม แต่งเป็ นภาษากวี เรียกว่า คาถา จานวน ๔๒๓ คาถา มีเนื้อหากินใจ สั้น ลุ่มลึก คมคาย ปัจจุบันธัมมปทัฏฐกถาใช้เป็ นคัมภีร ์ใน การศึกษาพระปริยัติธรรมในประเทศไทย ชาวพุทธเถรวาท เช่น ในประเทศศรีลังกา พม่า และไทย ใช้อรรถกถาธรรมบทเป็ นหลักศึกษาพระพุทธศาสนา
  • 6. ผู้แต่ง หนังสือประวัติผู้แต่ง พระพุทธโฆสาจารย์แปลจากฉบับสิงหลเก่า เป็ น ตันติภาษา (ภาษาบาลี) ระหว่าง พ.ศ. ๙๐๐ – ๑๐๐๐ เมื่อกล่าวถึงนักปราชญ์พุทธที่เป็ นพระภิกษุในฝ่ายเถร วาท ชื่อของพระพุทธโฆสาจารย์จะมาเป็ นที่หนึ่ง ท่าน เป็ นนักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ เป็ นพระอรรถกถาจารย์ผู้มี ชื่อเสียงมากที่สุด ผลงานชิ้นเยี่ยมที่พระพุทธโฆสาจารย์ ได้ทิ้งไว้เป็ นมรดกตกทอดให้แก่ชาวพุทธและผู้ที่สนใจทั่ว โลกได้ศึกษาค้นคว้า ศาสนิกชนที่นับถือพุทธศาสนา ฝ่ายเถรวาทเกือบทั้งหมดเข้าใจพระไตรปิฎกและปฏิบัติ ธรรม ชีวประวัติของพระพุทธโฆสาจารย์เป็ นชีวิตที่น่าจะ เป็ นต้นแบบควรเอาเป็ นแบบอย่างที่ได้ทาคุณประโยชน์ ช่วยรักษาการศึกษาหลักคาสอนในพระพุทธศาสนาให้ ดารงคงอยู่ถึงปัจจุบัน
  • 7. ประวัติผู้แต่ง ๑. ท่านเกิดในตระกูลพราหมณ์ ซึ่งเป็ นคน วรรณะสูงของสังคมอินเดียสมัยโบราณ ท่านจึงได้รับการศึกษาดี ชอบการอภิปราย โต้วาที และท่องเที่ยวไปตามที่ต่าง ๆ ทั่ว ชมพูทวีป ทาให้ท่านเป็ นคนรู้กว้างและรู้ลึก ในศาสตร ์ทั้งทางโลกและทางธรรม และ แตกฉานในการตีความอธิบายศัพท์ธรรม ต่าง ๆ ซึ่งท่านได้นาความสามารถที่ท่านมี มาใช้ในการแต่งอรรถกถาทั้งหลายของ ท่าน ท่านจึงมีสมญานามทางความรู้ว่าเป็ น “สารานุกรมเคลื่อนที่” ๒. ถิ่นกาเนิดของท่านมี ๔ ทัศนะ ๑. เป็ น ชาวอินเดียเหนือ ๒. เป็ นชาวอินเดียใต้ ๓. เป็ นชาวอินเดียเหนือแต่ไปใช้ชีวิตและมี ชื่อเสียงอยู่ทางอินเดียใต้ ๔. ไม่ได้เป็ นชาว อินเดียเหนือหรือใต้แต่เป็ นชาวมอญหรือ รามัญในพม่า เป็ นประเด็นที่ทิ้งให้ผู้ศึกษา ตัดสินและสืบค้นข้อมูลกันต่อไป
  • 8. ประวัติผู้แต่ง ๓. การศึกษา ท่านเรียนจบและชานาญในพระ เวท คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และ อถรรพเวท แต่ละคัมภีร ์มีมันตระ พรหมณะ อารัณยกะ และอุปนิษัทของตนเอง และเรียนจบ และชานาญในวรรณคดีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ พระเวทที่เรียกว่าเวทางคะ และที่ไม่เกี่ยวข้องกับ พระเวท อาทิเช่น อิติหาสและปุราณะ ที่เรียกว่า พระเวทที่ ๕ ตลอดจนเรียนรู้และชานาญ ศาสตร ์และศิลป์ อื่น ๆ อีกหลายสาขา ท่านรู้และ พูดได้หลายภาษา ซึ่งเป็ นประโยชน์แก่ท่านใน การประกาศศาสนาและการเดินทางไปแปล คัมภีร ์ทางพระพุทธศาสนาต่าง ๆ ในลังกา และ ท่านเป็ นคนที่มีความจาเป็ นเลิศและเป็ นคนเรียน เก่งคนหนึ่งในยุคนั้น ๔. การเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา เพราะ ท่านแพ้การโต้วาทีต่อพระเรวตมหาเถระ ซึ่งเป็ น จุดพลิกผันในชีวิตของท่านให้เข้ามาบวชใน พระพุทธศาสนา
  • 9. ประวัติผู้แต่ง ๕. การไปเรียนและแปลอรรถกถาในลังกา มีสอง คัมภีร ์กล่าวต่างกันเล็กน้อย คือ ตามคัมภีร ์มหาวงส์ ปริจเฉทที่ ๓๗ ที่ว่าท่านเดินทางไปลังกาตาม คาแนะนาของพระเรวตะ ผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ของ ท่าน เพื่อจุดหมายของการศึกษาอรรถกถาภาษา สิงหลและแปลลกลับมาเป็นภาษาบาลีอีกครั้ง แต่ คัมภีร ์พุทธโฆสุปปัตติ ปริจเฉทที่ ๓ ท่านเดินทางไป ลังกาเพื่อจุดหมายจะให้พระอุปัชฌาย์ยกโทษ ความผิดที่คิดไม่ดี (คิดถามตัวเองในใจ ณ วันหนึ่งว่า ระหว่างท่านกับพระอุปัชฌาย์ใครจะมีความรู้ทาง พุทธศาสนามากกว่ากัน) ต่อท่านให้ พระอุปัชฌาย์ ท่านเป็นพระอรหันต์จึงล่วงรู้ความในใจที่พระพุทธโฆ สาจารย์คิด พระอุปัชฌาย์บอกว่าจะยกโทษให้ก็ ต่อเมื่อพระพุทธโฆสาจารย์เดินทางไปลังกา และแปล อรรถกถาภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลีก่อน ๖. สถานที่มรณภาพ นักปราชญ์ทั้งหลายยังไม่ทราบ แน่ชัดว่าท่านมรณภาพ ณ สถานที่ใดแน่ แต่ตามที่ คัมภีร ์พุทธโฆสุปปัตติ ปริจเฉทที่ ๘ กล่าวไว้ว่า พระ พุทธโฆสาจารย์มรณภาพที่พุทธคยา ซึ่งน่าจะ น่าเชื่อถือได้มากกว่าที่ประเทศกัมพูชาซึ่งมีวัด โบราณชื่อเหมือนท่านอยู่
  • 10. ผลงาน ๑. ผลงานดั้งเดิม เป็ นคัมภีร ์ที่ท่านแต่งขึ้น เองขณะอยู่ในอินเดีย ก่อนจะเดินทางไป ศึกษาและแปลอรรถกถาภาษาสิงหลเป็ น ภาษาบาลีในลังกา มีอยู่ ๓ คัมภีร ์ ๑.๑ คัมภีร ์ญาโณทัย เป็ นผลงานเล่มแรกใน ชีวิต เกี่ยวข้องกับความรู้เรื่องปรัชญา ๑.๒ คัมภีร ์อัตถสาลินี เป็ นคัมภีร ์ อรรถาธิบายคัมภีร ์ธัมมสังคณี ๑.๓ คัมภีร ์ปริตตัฏฐกถา เป็ นคัมภีร ์อธิบาย ความพระปริตตสูตรต่างๆ ผลงานดั้งเดิม
  • 11. ผลงาน ๒. ผลงานประเภทอรรถกถา ๒.๑ คัมภีร ์สมันตปาสิทิกา (อรรถกถาพระวินัยปิฎก) ๒.๒ คัมภีร ์กังขาวิ ตรณี (อรรถกถาปาติโมกข์) ๒.๓ คัมภีร ์สุมังคลวิลาสินี (อรรถกถาทีฆ นิกาย) ๒.๔ คัมภีร ์ปปัญจสูทนี (อรรถกถามัชฌิมนิกาย) ๒.๕ คัมภีร ์สา รัตถปกาสินี (อรรถกถาสังยุตตนิกาย) ๒.๖ คัมภีร ์มโนรถปูรณี (อรรถ กถาอังคุตตรนิกาย) ๒.๗ คัมภีร ์อักฐสาลินี (อรรถกถาธัมมสังคิณี) ๒.๘ คัมภีร ์สัมโมหวิโนทนี (อรรถกถาวิภังค์) ๒.๙ คัมภีร ์ปัญจัป ปกรณัฏฐกถา (อรรถกถาธาตุกถา ปุคคลบัญญัตติ กถาวัตถุ ยมก และปัฏฐาน) ๒.๑๐ คัมภีร ์ปรมัตถโชติกา (อรรถกถาขุททกปาฐะและ สุตตนิบาต) ๒.๑๑ คัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถา (อรรถกถาธรรมบท) ๒.๑๒ คัมภีร ์ชาตกัฏฐกถา (อรรถกถาชาดก) และ ๒.๑๓ คัมภีร ์วิสุทธชน วิลาสินี (อรรถกถาอปาทาน) อรรถกถา ๙ คัมภีร ์แรกเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าพระพุทธโฆสาจารย์ แต่งขึ้นจริง แต่อีก ๔ คัมภีร ์ยังสงสัยกันอยู่ พระพุทธโฆสาจารย์ได้แต่งคัมภีร ์อรรถกถาพระสุตตันตปิฎกไว้๘ คัมภีร ์ คือ ๑. สุมังคลวิลาสินี ๒. ปปัญจสูทนี ๓. สารัตถปกาสินี ๔. มโนรถ ปูรณี ๕. ปรมัตถโชติกา ๖. ชาตกัฏฐกถา ๗. ธัมมปทัฏฐกถา และ ๘. วิ สุทธชนวิลาสินี ผลงานประเภท อรรถกถา
  • 12. รูปแบบการประพันธ์ พระพุทธโฆสาจารย์ได้นาเอาพุทธพจน์ที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนแก่พุทธบริษัทในสถานที่ต่าง ๆ มาผูกเรื่องอธิบายขยายเนื้อความให้ธรรมบทมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในจานวนธรรมบท ทั้งหมด ๔๒๓ คาถา นามาผูกเรื่องประกอบได้ ๒๙๙ เรื่อง ในแต่ละเรื่องโดยส่วนมากจะมี องค์ประกอบของการประพันธ์๔ ประการ คือ ๑. อารัมภบทต้นเรื่อง ๒. เนื้อเรื่อง ๓. คาถา (บทตั้งและบทอธิบาย) และ ๔. สรุปจบ คัมภีร ์อรรถกถาธรรมบท เป็ นงานอธิบายความพระคาถาธรรมบท ๔๒๓ คาถา ซึ่งเป็ นพระคาถา (คาร ้อยกรอง) พรรณนาเนื้อหาพุทธพจน์ล้วน ๆ ไม่มีเรื่องราวที่เป็ นร ้อยแก้วประกอบ เป็ นงานที่ มีเรื่องเล่าทานองชาดกประกอบเรื่อง คาอธิบายพระคาถาธรรมบทนั้นก็มีทั้งคาถาและเรื่องราว แบบร ้อยแก้ว เรื่องในคัมภีร ์อรรถกถาธรรมบทมีลักษณะเนื้อหาเป็ นของพระพุทธศาสนานามา จากพระวินัยปิฎก ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย อุทาน วิมานวัตถุ เปต วัตถุ สุตตนิบาต และชาดก ตัวละครส่วนใหญ่ในเรื่องประกอบคาอธิบายพระคาถาธรรมบทเป็ น พระสาวกของพระพุทธเจ้า
  • 13. ความแพร่หลาย คาสอนธรรมบท มีเนื้อหากินใจ จึงเป็ นที่นิยมศึกษากันในหมู่ชาวพุทธ ในเมืองไทยคณะสงฆ์ใช้ อรรถกถาธรรมบทเป็ นคู่มือเรียนบาลีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๒ ผู้เรียนบาลีในช่วง ๒๐๐ ปีที่ผ่านมา จึงรู้จักหรืออย่างน้อยเคยเรียนอรรถกถาธรรมบท ทาไมนักเรียนบาลีต้องเรียนอรรถกถาธรรมบท สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากชาวพุทธศรีลังกาที่เป็ นต้นแบบพุทธศาสนาเถรวาท ดังเหตุการณ์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๒๙๓ ชาวพุทธเถรวาท เช่น ในประเทศศรีลังกา พม่า และไทย ใช้อรรถกถาธรรม บทเป็ นหลักศึกษาพระพุทธศาสนา ประเทศทางตะวันตกพิมพ์ธรรมบทหลายภาษา มีทั้ง ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอังกฤษ ภาษาอิตาเลียน เป็ นต้น
  • 14. จุดมุ่งหมายในการแต่ง มีจุดมุ่งหมายในการอธิบายคาสอนหรือพุทธพจน์ที่เรียกว่า “ธรรมบท” ที่พระสังคีติกาจารย์ได้ สังคายนารวบรวมจัดเป็ นหมวดหมู่ไว้ในคัมภีร ์ขุททกนิกาย เรียกว่า “ขุททกนิกายธรรมบท” เป็ นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ มีนิทานประกอบเพื่ออธิบายความบทแห่งธรรม ๔๒๓ คาถา เรื่องที่นามาใช้สาหรับแต่งอธิบายในคัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถาหรืออรรถกถาธรรมบทมี ทั้งหมด ๒๙๙ เรื่อง ลักษณะของเรื่องทั้งหมดจะเป็ นเรื่องนิทานธรรม ให้ข้อคิดคติธรรมในการ ดาเนินชีวิต เพราะโดยส่วนมากแล้วจะเป็ นการสอนให้ละความชั่วทาความดีและทาจิตใจให้ผ่องใส และนาคาถาเข้ามาแทรกเข้าในเนื้อหาของเรื่องได้อย่างเหมาะสม เป็ นคาถาที่พระพุทธเจ้าทรง สอนแก่บุคคลต่าง ๆ มีทั้งมนุษย์และเทวดา พระพุทธโฆสาจารย์เขียนคัมภีร ์อรรถกถาขึ้นตามคา อาราธนาของพระกุมารกัสสปะ และเพื่อจุดหมายของการศึกษาอรรถกถาภาษาสิงหลและแปล กลับมาเป็ นภาษาบาลีอีกครั้ง ส่วนกองตาราแห่งมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถาเป็ นหลักสูตรเปรียญธรรมหลักสูตรประโยค ๓
  • 15. ภาษาที่ใช ้แต่ง ฉบับที่ใช ้ทารายงาน พระพุทธโฆสาจารย์เดินทางไปแปลอรรถกถาในสิงหลทวีปได้เรียบเรียงไว้จาก ภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี แล้วกองตาราแห่งมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระ บรมราชูปถัมภ์ได้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถาเป็ นหลักสูตร เปรียญธรรมหลักสูตรประโยค ๓ โดยมอบให้พระมหาอู นิสฺสโภ ป.๗ วัดบวร นิเวศวิหาร เป็นผู้รับไปดาเนินการ หนังสือธัมมปทัฏฐกถาแปลภาษาไทยโดยอรรถ ฉบับของ มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีด้วยกัน ๘ เล่ม จานวน ๘ ภาค ตั้งแต่ ภาค ๑ ถึง ภาค ๘
  • 16. โครงสร ้าง “ธัมมปทัฏฐกถา” เป็นหนังสืออธิบายหลักธรรมในคัมภีร ์ธรรมบท ขุททกนิกาย พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ ดังนั้นจึงต้องทราบถึงโครงสร ้างพระไตรปิฎกทั้ง ๓ หมวด แล้วเข้าถึงโครงสร ้างพระสุตตันตปิฎก ซึ่งธัมมปทัฏฐกถาจะอยู่ในพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม ๒๕ ขุททกนิกาย
  • 17. โครงสร ้าง หนังสือธัมมปทัฏฐกถา เล่ม ๑ ภาค ๑ ยมกวรรค วรรณา มี ๑๔ เรื่อง เล่ม ๒ ภาค ๒ อัปปมาทวรรค วรรณา มี ๙ เรื่อง เล่ม ๒ ภาค ๒ จิตตวรรค วรรณา มี ๙ เรื่อง เล่ม ๓ ภาค ๓ ปุปผวรรค วรรณา มี ๑๒ เรื่อง เล่ม ๓ ภาค ๓ พาลวรรค วรรณา มี ๑๕ เรื่อง เล่ม ๔ ภาค ๔ บัณฑิตวรรค วรรณา มี ๑๑ เรื่อง เล่ม ๔ ภาค ๔ อรหันตวรรค วรรณา มี ๑๐ เรื่อง เล่ม ๔ ภาค ๔ สหัสสวรรค วรรณา มี ๑๔ เรื่อง เล่ม ๕ ภาค ๕ ปาปวรรค วรรณา มี ๑๒ เรื่อง เล่ม ๕ ภาค ๕ ทัณฑวรรค วรรณา มี ๑๑ เรื่อง เล่ม ๕ ภาค ๕ ชราวรรค วรรณา มี ๙ เรื่อง เล่ม ๖ ภาค ๖ อัตตวรรค วรรณา มี ๑๐ เรื่อง เล่ม ๖ ภาค ๖ โลกวรรค วรรณา มี ๑๑ เรื่อง เล่ม ๖ ภาค ๖ พุทธวรรค วรรณนา มี ๙ เรื่อง เล่ม ๖ ภาค ๖ สุขวรรค วรรณนา มี ๘ เรื่อง เล่ม ๖ ภาค ๖ ปิ ยวรรค วรรณนา มี ๙ เรื่อง เล่ม ๖ ภาค ๖ โกธวรรค วรรณา มี ๘ เรื่อง เล่ม ๗ ภาค ๗ มลวรรค วรรณนา มี ๑๒ เรื่อง เล่ม ๗ ภาค ๗ ธัมมัฏฐวรรค วรรณนา มี ๑๐ เรื่อง
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23. เนื้อหา เนื้อหาของคัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถา อธิบายความธรรมบทแห่งขุททกนิกายในพระสุตตันตปิฎก แบ่งเป็น ๘ ภาค ธัมมปทัฏฐกถามีเรื่องประกอบพระคาถาธรรมบท ๔๒๓ คาถา จานวน ๒๙๙ เรื่อง และแบ่งออกเป็น ๒๖ วรรค/หมวด ภาคที่ ๑ อธิบายความในยมกวรรค ภาคที่ ๒ อธิบายความในอัปปมาทวรรค และจิตตวรรค ภาคที่ ๓ อธิบายความในปุปผวรรค และพาลวรรค ภาคที่ ๔ อธิบายความในปัณฑิตวรรค อรหันตวรรค และสหัสสวรรค ภาคที่ ๕ อธิบายความในปาปวรรค ทัณฑวรรค และชราวรรค ภาคที่ ๖ อธิบายความในอัตตวรรค โลกวรรค พุทธวรรค สุขวรรค ปิยวรรค และโกธวรรค ภาคที่ ๗ อธิบายความในมลวรรค ธัมมัฏฐวรรค มัคควรรค ปกิณณกวรรค นิรยวรรค และนา ควรรค ภาคที่ ๘ อธิบายความในตัณหาวรรค ภิกขุวรรค และพราหมณวรรค
  • 24. เนื้อหา ลักษณะการแต่งอรรถกถาธรรมบทได้รับอิทธิพลทางเนื้อหาของพระพุทธศาสนาซึ่งส่วนใหญ่ได้จากพระวินัย ปิฎกและพระสุตตันตปิฎกในทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย อุทาน วิมานวัตถุ เปตวัตถุ สุตตนิบาต และชาดก ตัวละครที่เล่าประกอบเรื่องส่วนใหญ่เป็นเรื่องพระสาวกของพระพุทธเจ้าทั้งหมด และเรื่อง ทุกเรื่องในอรรถกถาธรรมบท ประกอบด้วย ๔ ส่วน คือ (๑) ปัจจุบันวัตถุ เรื่องปัจจุบัน เริ่มเรื่องด้วยพวกภิกษุสนทนากันในโรงธรรม (ธรรมสภา) ถึงบุคคลและกรรมของ เขา พระพุทธเจ้าทรงทราบ จึงเสด็จมาตรัสแสดงพระธรรมเทศนา (๒) อตีตวัตถุ เรื่องในอดีตของบุคคลและกรรมของเขา และพระพุทธเจ้าตรัสบุพกรรมของเขาในชาติก่อนๆ ให้ ภิกษุทั้งหลายฟัง (๓) คาถา เรื่องที่แต่งเป็นร ้อยกรองซึ่งนามาจากธรรมบท (๔) เวยยากรณะ แปลอธิบายความในลักษณะอธิบายคา นัยว่าการจัดเรื่องในคัมภีร ์อรรถกถาธรรมบทจัดตามเนื้อหาของเรื่อง เรื่องที่มีเนื้อหาหลักเป็นอย่างเดียวกัน ก็จัดอยู่ในกลุ่มหรือหมวดหรือวรรคเดียวกัน หรือเอาเรื่องแรกในกลุ่มเป็นชื่อวรรค/หมวดของตน
  • 25. องค์ความรู้ ๑. จิตวิทยา ๒. ทัศนคติ ๓. วิถีชีวิตของภิกษุ ๔. วิถีชีวิตพระอรหันต์ ๕. ประเพณีครั้งพุทธกาล ๖. บทบาทของพระพุทธเจ้า ๗. ความรู้ทาง พระพุทธศาสนา ๘. คาสอนนอกพระพุทธศาสนา ๙. คติชนวิทยา ๑๐. ภาษิต สานวนโวหาร ๑๑. ภูมิศาสตร ์๑๒. ประวัติศาสตร ์และ ๑๓. ไวยากรณ์
  • 26. บางตัวอย่างขององค์ความรู้ ประเพณีครั้งพุทธกาล - ต่อมนต์กับอาจารย์ (มุขปาฐะ) - ธรรมเนียม การปูอาสนสาหรับพระพุทธเจ้า - ธรรมเนียม ก่อนเสด็จจาริก - ภิกษุปูอาสนะสาหรับ พระพุทธเจ้าในที่พักของตน - มนุษย์ต้องการ พระสงฆ์ไม่ว่าเป็ นงานมงคลหรืองานอวมงคล - ศิษย์ไม่วางสัมภาระไว้บนที่นั่งที่นอนครู อาจารย์- การเลี้ยงดูบิดามารดาเป็ นหน้าที่ของ บุตรธิดา - คาสอนหญิงที่ไปอยู่ในบ้านของสามี - ตาแหน่งเศรษฐีต้องได้รับการแต่งตั้ง - เทศกาลเลือกคู่ (วิวฏนักษัตร) - เทศกาลของ คนพาล (พาลนักษัตร) - เทศกาลดื่มสุรา (สุราฉโณ) บทบาทของพระพุทธเจ้า - เป็ นมนุษย์แต่บทบาทยิ่งกว่าเทวดา - มี หลายร ้อยหลายพันพระองค์- มีวิสัยทัศน์ สารวจสัตว์โลกวันละ ๒ ครั้ง (ทีฆทสฺสินา พุทฺเธน) - เป็ นนิคคัยหวาที เข้มงวด ฉลาด ในวิธีการสอน (เทสนากุสลตา) - แสดง ธรรมตามภูมิหลังของผู้ฟัง - เป็ นครูของ ชาวโลก (โลกครุนา พุทฺเธน) - ไม่ประสงค์ คนคุยโวโอ้อวด - บอกทางดาเนินชีวิต - เหมือนช้างศึกในสงครามที่รับลูกศรจาก จตุรทิศ
  • 29. ๑. ด้านประวัติบุคคลสาคัญและสถานที่สาคัญในพระพุทธศาสนา ๑.๑ ท่านอนาถบิณฑกเศรษฐี ได้บริจาคทรัพย์ซื้อสวนของเจ้า เชตแล้วสร ้างวัดถวายพระพุทธเจ้าสิ้นเงิน ๕๔ โกฏิ วัดสาคัญ นั้นคือ วัดเชตะวัน เมืองสาคัญนั้นคือ เมืองสาวัตถี ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี มักไม่ทูลถามข้อธรรมปฏิบัติจาก พระพุทธเจ้า เพราะท่านเกรงว่าจะเป็นการรบกวนเบื้องยุคล บาท เมื่อไม่ต้องการให้พระพุทธองค์ทรงเหน็ดเหนื่อย จึงไม่ทูล ถามปัญหาใด ๆ นั้น มิได้หมายความว่าท่านเศรษฐีเป็นคนไม่ ใฝ่ใจศึกษาปฏิบัติธรรม หามิได้ที่จริงแล้วท่านเป็นผู้มี “ธัมม กามตา” (ความใฝ่ธรรม, ความใฝ่รู้) เป็ นอย่างยิ่งท่านมีพระ เถระที่สนิทคุ้นเคยสองรูปคือ พระสารีบุตรและพระอานนท์มี ปัญหาข้องใจอะไร พระเถระทั้งสองจะเป็นผู้อนุเคราห์แสดง ธรรมให้ท่านฟัง ดังปรากฏในพระสูตรหลายแห่ง แต่อย่างไรก็ ตามมีข้อสังเกตอย่างหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะบางคนก็มีลักษณะ “เกรงใจไม่เข้าเรื่อง” ซึ่งการเกรงใจในลักษณะนี้ ไม่เป็ นผลดี และอาจกลายเป็ นเรื่องที่ทาให้เสียประโยชน์ หรือเกิดโทษ ตามมา ในความเป็นจริงมีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เช่น เห็น คนทาผิด แต่ก็เกรงใจ ไม่กล้าบอก ไม่กล้าตักเตือน กลัวว่า เขาจะเสียใจ หรือกลัวว่าเขาจะเกลียดตน เป็ นต้น ๑.๒ นางวิสาขามหาอุบาสิกา ได้บริจาคทรัพย์ ๒๗ โกฏิ สร ้างวัด สาคัญชื่อ วัดบุพพาราม ที่เมืองสาวัตถีเช่นกัน พระพุทธเจ้าทรงประทับจาพรรษาในเมืองสาวัตถีมากที่สุดถึง ๒๕ พรรษา คือ ณ วัดเชตะวัน นาน ๑๙ พรรษา และวัดบุพพารามนาน ๖ พรรษา ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตว่าอาจจะด้วยเหตุผลเพราะที่เมืองสาวัตถีนี้มี ผู้อุปถัมภ์ศาสนาคนสาคัญหลายคน เช่น พระเจ้าปเสนทิโกศล อนาถ บิณฑิกเศรษฐี นางวิสาขา เป็ นต้น ซึ่งให้การทานุบารุงพระพุทธศาสนา อย่างมั่นคง จากเรื่องพระจักขุบาลเถระนี้ในเวลานั้นในนครสาวัตถีมีคน อยู่ประจา ๗ โกฏิ (ถ้า โกฏิ = ๑๐ ล้าน ก็คงจะเป็ น ๗๐ ล้าน) ในคน จานวนนั้น ๕ โกฏิ เป็ นพระอริยสาวก (ตั้งแต่พระโสดาบัน พระ สกิทาคามี พระอนาคามี จนถึงพระอรหันต์) อีก ๒ โกฏิ ยังคงเป็ น ปุถุชนคนธรรมดา แสดงให้เห็นถึงสัดส่วนของพระอริยสาวกต่อปุถุชน เท่ากับ ๒.๕:๑ เลยทีเดียว ๑.๓ บทบาทของเทวดาในพระพุทธศาสนา ท้าวสักกเทวราช แปลง กายมาช่วยพระจักขุบาลเถระ เพราะบัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ของท่าน สะเทือน และในเรื่องยังได้แสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของที่ประทับของ ท้าวสักกเทวราช คือ ยาว ๖๐ โยชน์ กว้าง ๕๐ โยชน์ หนา ๑๕ โยชน์ มีสีเหมือนดอกชัยพฤกษ์ เวลานั่งยุบลง เวลาลุกก็ฟูขึ้นตามปกติ
  • 30. ๒. ด้านหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา มโนปุพฺพงฺคมาธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสาเจปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโตนทุกฺขมนฺเวต จกฺก ว วหโต ปท ธรรมทั้งหลายมีใจเป็ นหัวหน้า มีใจเป็ นใหญ่ สาเร็จด้วยใจ ถ้าบุคคลใดมีใจร ้ายแล้วพูดอยู่ ก็ดี ทาอยู่ก็ดี ทุกข์ย่อมไปตามเขา เพราะเหตุ นั้น ดุจล้ออันหมุนไปตามรอยเท้าโคผู้นาแอก ไปอยู่ฉะนั้น คุณค่าของคาสอนแสดงให้เห็นถึง ความสาคัญของจิตในแง่ที่เป็ นประธานเป็ น ใหญ่ในกิจทั้งปวง หลังจากจบพระธรรมเทศนาที่เป็ น อารัมภบทนี้ พระภิกษุจานวนสามหมื่นรูป สาเร็จเป็ นพระอรหันต์พร ้อมด้วยปฏิสัมภิทา พระธรรมเทศนามีประโยชน์ มีผล แก่พุทธ บริษัทที่มาประชุมกันแล้วเป็ นกาลังในการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป
  • 31. พระศาสดาทอดพระเนตรอุปนิสัยของกุฎุมพีมหาปาละแล้วทรงแสดงธรรม อนุปุพพีกถา ๕ แสดงธรรมเรียงลาดับจากง่ายไปหายาก ๑. ทานกถา (พรรณนาทาน) ๒. สีลกถา (พรรณนาศีล) ๓. สัคคกถา (พรรณนาสวรรค์) ๔. โทษ ความเลวทรามและความเศร ้าหมองแห่งกามทั้งหลาย และ ๕. อานิสงส์ในเนกขัมมะ (คือความ ออกไปจากกามทั้งหลาย) เป็ นธรรมเทศนาสาหรับปรับจิตเพื่อให้คนมีสัมมาทิฏฐิระดับหนึ่งเพื่อจะปล่อยวางโลกและเอียงไป ทางนิพพานเพื่อจะได้เห็นอริยสัจ เป็ นธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเพื่อฟอกอัธยาศัยของบุคคล ผู้ฟังให้มีความประณีตขึ้น ไปโดยลาดับ ถ้าหากว่าผู้ฟังสามารถที่จะชาระกิเลสของตนให้เบาบางลงได้ตามที่ทรงแสดงแล้ว ต่อไปก็จะแสดงอริยสัจ ๔
  • 32. กฏแห่งกรรม “กงกรรมกงเกวียน” บุรพกรรมของพระเถระ ในอดีตชาติ พระเถระ เคยเป็ นจักษุแพทย์ รักษาคนไข้ให้หายจากโรค ตาแล้วคนไข้ผิดสัญญาที่ให้ไว้ ด้วยคามแค้นจึง ปรุงยาขนานใหม่ทาให้คนไข้ตาบอด ด้วยผลแห่ง กรรมนั้น ทาให้หมอเป็ นคนตาบอดทุกชาติ จน ชาติสุดท้ายที่ได้บวชเป็ นพระจักขุบาลและ บรรลุเป็ นพระอรหันต์ในขณะที่ตาบอด = “งานบวช (บุญ) ต้องฆ่าสัตว์มาเลี้ยงพร ้อมสุรา (บาป)” พระสยาดอฯ รณรงค์สาเร็จ เรื่องเสียงที่มีพลังดึงดูด พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตไม่มองเห็น เสียงอื่น แม้แต่เสียงเดียว ที่จะยึดเหนี่ยวครอบงา จิตของบุรุษไว้ได้ นอกจากเสียงของสตรี” ชาย-หญิง มีธรรมชาติที่ดึงดูดใจของกันและกัน เสมอ เช่น เสียงของผู้หญิงมักเป็ นที่ดึงดูดใจของ ชาย ขณะที่เสียงของชายก็มักเป็ นที่ดึงดูดใจ ของหญิง รูปร่างและลักษณะท่าทางของหญิง ย่อมดึงดูดใจต่อชาย ขณะที่รูปร่างและลักษณะ ของชายก็ย่อมดึงดูดใจหญิง
  • 33. ๓. ด้านวิถีชีวิตของพระสงฆ์ และพุทธคฤหัสถ์ครั้งพุทธกาล ในสมัยพุทธกาล หน้าที่ของพุทธคฤหัสถ์หรือทา ยกตัวอย่างมี ๒ ประการ คือ ๑. ในเวลาเช้า ทาบุญทาทานมีถวายภัตตาหาร เป็นต้น ๒. ในเวลาเย็น ก็ไปวัดเพื่อฟังธรรม พร ้อมทั้งนาเอา ปัจจัยสี่มี ผ้าจีวร ยา พวงดอกไม้ ของหอม เป็นต้น พร ้อมด้วยน้าปานะสาหรับถวายพระสงฆ์ ธุระหรืองานสองอย่างของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา เหมือนดั่งหลักสูตร มจร. ๑. คันถธุระ คือการศึกษาเล่าเรียนพระพุทธพจน์ แล้ว ทรงจานามาแสดงสั่งสอน ๒. วิปัสสนาธุระ การอยู่ในที่วิเวกสงัดคนเดียวแล้ว พิจารณารูปกับนาม เจริญวิปัสสนากรรมฐาน วัดกับบ้าน อิงอาศัยกัน ซึ่งจากเรื่องพระจักขุบาล จะได้เห็นตัวอย่างของการพึ่งพาอาศัยกัน พระพึ่ง ปัจจัย ๔ จากชาวบ้าน ขณะที่ชาวบ้านก็ได้อาศัย พระ อาศัยวัดช่วยขัดเกลาอุปนิสัยใจในเรื่องของ ทาน ศีล ภาวนา ต่างฝ่ายต่างสงเคราะห์ประโยชน์ ซึ่งกันและกัน สังคมก็อยู่เป็ นสุข สมัยพุทธกาลชาวบ้านไปฟังธรรม พระพุทธเจ้าทรง แสดงธรรมตอนเลิกงาน สี่โมงถึงหกโมงเย็น นา ดอกไม้ธูปเทียนของหอมไปฟังธรรม ใครมาก่อนนั่ง หน้า = อุบาสก อุบาสิกา (นั่งใกล้พระรัตนตรัย) สมัยนี้มาก่อนจองที่นั่งข้างหลัง ข้างหน้าว่าง ๔. ด้านการอยู่ร่วมกันในสังคม
  • 34. ๕. ด้านพิธีกรรมและประเพณี พิธีกรรมทางศาสนาพุทธมีชาวพุทธบริษัทเป็ นผู้ร่วมประกอบ พิธีแฝงปรัชญาธรรมไว้เป็นหลักการของพิธีกรรมนั้นด้วย โดยมี จุดมุ่งหมายที่จะให้คนเข้าใจหลักธรรมโดยไม่รู้ตัว เช่น พิธีบน บานต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในเรื่องพระจักขุบาลเถระนี้ กุฎุมพีไปทา ความสะอาดต้นไม้ใหญ่ ประดับด้วยธง อธิษฐานขอต่อพรเทพ เทวดาที่สถิตอยู่บนต้นไม้นั้นว่า ขอให้ได้ลูก ถ้าได้แล้วจะทาการ บวงสรวงใหญ่สืบเนื่องมาจากการบนบานทาให้กฎุมพีได้ บุตรชาย คติความเชื่อว่าต้นไม้ใหญ่มีผีสางเทวดาสิงสถิตอยู่ ด้วยทั้ง ศาสนาฮินดูกับพุทธศาสนามีการกล่าวถึงรุกขเทวดาจึงมีความ เป็ นไปได้ว่า คติความเชื่อในการบูชารุกขเทวดาในสังคมไทย อาจมาจากอิทธิพลของทั้งสองศาสนา แต่ตามความเป็นจริง แล้วการบูชารุกขเทวดาในสังคมไทยนั้นแปลสภาพมาจากการ นับถือผีในธรรมชาติของคนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัย โบราณ หรือมาจากลัทธินับถือผี และด้วยอิทธิพลของทั้งสอง ศาสนาที่เข้ามาในภายหลังจึงมีการผนวกผีให้กลายเป็นเทพ หรือเทวดาในศาสนาฮินดูและพุทธศาสนานั้นไปโดยปริยายซึ่งมี ลักษณะเช่นนี้เป็ นการหลอมรวมทางคติความเชื่อเรื่องพุทธ พราหมณ์ ผี เป็ นหนึ่งเดียวจนแยกไม่ออก ๑. ปฏิปทาของพระเถระ เมื่อพระเถระรู้ว่าสามเณรทุศีล ก็ไม่ยอม คบอีกต่อไปเลยถึงแม้จะเป็นหลานก็ตาม เพราะถือคติว่า พระชั่วก็ ตาม ฆราวาสชั่วก็ตาม ก็คือคนชั่วเหมือนกัน ฉะนั้นคนชั่วอย่าง หลานชายก็ไม่ควรที่จะมาจับปลายไม้ของเราเลย ถึงเราจะตายก็ ยอม แต่จะไม่ยอมเป็ นเพื่อนกับคนพาลอีกต่อไปท ๒. พระเถระเตือนตนด้วยตนเอง พระเถระพูดกับตนเองว่า ดูก่อน ปาลิตะ จะมัวประมาทอยู่ทาไม? ตา หู ทั้งหลายแม้กระทั่งร่างกายก็ จะแก่ชรา เสื่อมสลายไป อย่าไปใส่ใจกับมันเลย หันกลับมาใส่ใจใน คาสอนของพระพุทธเจ้าดีกว่า เพื่อพ้นทุกข์ในสังสารวัฏฏ์นี้ ๓. ปณิธานอย่างแรงกล้าไม่เคยหยุดความพยายาม ยอมสละตา เพื่อรักษาปณิธานที่ตั้งเอาไว้โดยที่ไม่ใส่ใจกับความเจ็บปวดเลย ๔. มักมีคาถามเกิดขึ้นในสังคมปัจจุบันว่า พระทาผิด กับฆราวาส ญาติโยมทาผิด ใครผิดมากกว่ากัน ส่วนใหญ่คาตอบส่วนมาก มักจะลงที่พระ หรือบางทีอาจจะเปรียบในลักษณะอื่น เช่น ชาวบ้าน ธรรมดาทาผิด กับผู้รักษากฎหมายทาผิด ใครผิดมากกว่ากัน คาตอบก็จะมาลงที่ผู้รักษากฎหมาย เป็ นต้น แต่ในเรื่องพระจักขุ บาลนี้ มีคาเฉลยที่อาจจะแตกต่างจากความรู้สึกเรา นั่นคือแทนที่ จะบอกว่าใครผิดมากกว่าใคร กลับตอบว่า “ผิดทั้งนั้น” หรือ “ผิด เหมือนกันนั่นแหละ” ซึ่งเป็ นการเพ่งเฉพาะตัวพฤติกรรมที่เป็ น ความผิด โดยที่ไม่เพ่งถึงสถานะของบุคคล เช่นตอนที่สามเณร หลานชายพระจักขุบาลทุศีล ๖. ด้านคุณธรรมและจริยธรรมที่ควร นามาเป็นแบบอย่าง
  • 35. ๗. ด้านวรรณคดี การอ่านธรรมบท เหมือนดังการทานต้มยากุ้ง พระพุทธพจน์เปรียบดังเนื้อกุ้ง การขยาย ความหมายคาถาพุทธพจน์ดังเห็ดที่ใส่ประกอบ นิทานประกอบเรื่อง เปรียบดัง ขิงข่า ใบมะกรูด เพิ่มรสชาติเครื่องเคียงที่เพิ่มรสชาตินี้ มีอภินิหาร การบนบาน ซึ่งขัดต่อคาสอนแต่เป็ นความจาเป็ น ในสมัยที่พระพุทธโฆสาจารย์จาต้องรจนาดังนั้น เพราะ ๑๐๐๐ ปีหลังพุทธกาล ศาสนาพุทธเสื่อม ทรามลงมากในชมพูทวีป คนเราหันไปอ้อนวอน กราบไหว้ เหมือนคนสมัยนี้บางส่วน ต้องต่อสู้กับ ลัทธิ ภักติ คือมีศรัทธาต่อเทพเจ้าอย่างเข้มข้น จึงส่งผลกระทบต่อพุทธศาสนาดั้งเดิม ดังนั้นใน ธรรมบทจึงมีเรื่องพวกนี้ค่อนข้างมาก ธรรมบท บทแห่งธรรม แต่งเป็ นภาษากวี กวีแต่ง ธัมมปทัฏฐกถาต่างจากกวีที่สะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก เช่น ความรัก ความเหงา และความเศร ้า อันเกิดจากการถูกกระทบรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส จากภายนอก แต่ธัมมปทัฏฐกถาแต่งขึ้นจาก ความคิดที่สงบนิ่งปราศจากความหวั่นไหว มี ความคิดเป็ นอิสระเสรีเต็มที่ ความคิดและความรู้สึก ที่แสดงออกมาจึงไม่ได้เป็ นจินตนาการ แต่เป็ นการ แสดงสัจธรรมของชีวิต โดยอาศัยภาษาเป็ น เครื่องมืออย่างงดงาม ก่อให้เกิดความปิติ เลื่อมใส หรือความสงบเสรีแก่ผู้เข้าถึง เป็ นการใช ้ภาษา ถ่ายทอดความจริงของชีวิตในสมัยครั้งพุทธกาล ทาให้ผู้ศึกษาได้เข้าถึงความเป็ นจริงอันนั้นด้วย โดยผ่านกระบวนการถ่ายทอดทางภาษา ซึ่งจะเกิด ความลึกซึ้ง เลื่อมใสศรัทธาในหลักธรรมคาสอนที่ ปรากฏอยู่ในคัมภีร ์ธัมมปทัฏฐกถานั้น ๘. ด้านภาษา
  • 36. ขอขอบคุณ อาจารย์ดร. เสฐียร ทั่งทองมะดัน นาเสนอโดย นายภาณุวัชร พัทธาดนย์ ๕๙๐๑๐๕๐๑๔

Editor's Notes

  1. ยา = ปัญจเภสัช เภสัชทั้ง ๕ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย น้ำปานะ = อัฏฐบาน = น้ำที่คั้นจากผลไม้ มี ๘ อย่าง คือ น้ำมะม่วงน้ำชมพู่หรือน้ำหว้า น้ำกล้วยมีเม็ด น้ำกล้วยไม่มีเม็ด น้ำมะซาง น้ำลูกจันทน์หรือน้ำองุ่น น้ำเหง้าอุบล น้ำมะปรางหรือน้ำลิ้นจี่ มจร เช่นกัน