SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ผลของการใช้ฮอร์โมน
Ethylene
Ethyleneสามารถสร้างขึ้นได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช
โดยเนื้อเยื่อที่แก่กว่าจะสังเคราะห์Ethyleneได้มากกว่า เช่น
ผลไม้ที่กาลังสุก ใบแก่ใกล้ร่วง ฯลฯ ซึ่งส่งผลต่อพืชในหลาย ๆ
อย่างได้แก่
1.เร่งการสุกในผลไม้
2.ยับยั้งการกระจายของเชื้อโรค โดยการเร่งให้ส่วนที่ติดเชื้อ
หลุดร่วงไป
3.เร่งการออกดอกของมะม่วงและพืชวงศ์สับปะรด ในขณะที่
ยับยั้งการออกดอกของพืชวงศ์แตง
4.ยับยั้งการเจริญเติบโตของกิ่ง ใบ รากและลาต้น แต่กระตุ้น
การเกิดของใบ และทาให้ลาต้นอ้วนหนาขึ้นแทนการยืดยาว
5.ทาให้กลีบดอกร่วงหลังจากการปฏิสนธิ
6.ชักนาให้เกิดขนรากมากขึ้น
การค้นพบEthylene
Ethyleneเป็นฮอร์โมนที่มีสภาพเป็นก๊าซซึ่งรู้จัก
กันมานานแล้ว จากการบ่มผลไม้
ในปี 1934 ก็ได้มีการพิสูจน์ให้เห็นว่าEthylene
เป็นก๊าซที่สังเคราะห์โดยพืชและสามารถเร่งการ
สุกได้
ต่อมาจึงพบว่าการก่อไฟใกล้ๆ สวนมะม่วงและ
สับปะรดจะกระตุ้นให้เกิดการออกดอกได้ซึ่ง
เป็นเพราะEthylene
ต่อมาได้พบว่า ส่วนอื่นของพืช ได้แก่ดอก เมล็ด
ใบและราก ก็สามารถผลิตEthyleneได้เหมือนกัน
เช่นเซเลอรี่บางสายพันธุ์ที่สามารถกาจัดสีเขียวที่
ก้านเองได้
ต่อมาในปี 1935 ได้ค้นพบว่าออกซินสามารถ
กระตุ้นการสร้างEthyleneได้และทั้งสองยัง
ส่งเสริมกันอีกด้วย
การใช้Ethyleneในการเพิ่มผลผลิตน้ายาง
การบ่มผลไม้ให้สุกด้วยEthylene
การเร่งการออกดอกของสับปะรด
Ethylene
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง
ไม่มีสี ซึ่งมีCarbon 2 ตัว และHydrogen 4
ตัว ประกอบกัน โดยมีพันธะคู่ระหว่าง
CarbonกับCarbonอยู่ตรงกลาง และมีพันธะ
เดี่ยวระหว่างCarbonกับHydrogenอยู่
ล้อมรอบ ฝั่งละสองตัว ดังรูป
4
1 2
จากเครื่องหมายสัญลักษณ์NFPA
Ethyleneเป็นสารที่เป็นอันตรายต่อ
มนุษย์น้อย แต่กระจายในอากาศและ
ติดไฟได้ง่าย และยังเกิดปฏิกิริยาที่
รุนแรงหากได้รับความร้อนและ
แรงดัน เกิดปฏิกิริยากับน้าได้
บรรณานุกรม
http://www.thaigoodview.com/node/49075
https://www.yangpalm.com/2016/12/300.html
http://www.orangeth.com/GasArticles/เอ
ทิลีน-คือ.html
https://th.wikipedia.org/wiki/เอทิลีน
https://th.wikipedia.org/wiki/
ไฟล์:NFPA_704.svg
https://web.agri.cmu.ac.th/hort/
course/359311/PPHY10_hormone.htm#c2h4
งานแผ่นพับการตอบสนองของพืชและ
ฮอร์โมนพืช
เสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
กรุงเทพมหานคร
จัดทาโดย
นายกษิดิส รสทิพย์
มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 155 เลขที่ 30

More Related Content

What's hot

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
Anana Anana
 
ท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร
ท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหารท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร
ท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร
kwangnaja
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
Nokko Bio
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
dnavaroj
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
Thanyamon Chat.
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
biwty_keng
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
dnavaroj
 

What's hot (18)

Auxin_Chanikan_155_No4
Auxin_Chanikan_155_No4Auxin_Chanikan_155_No4
Auxin_Chanikan_155_No4
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
ท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร
ท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหารท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร
ท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหาร
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
Autonomic movement 9-155-
Autonomic movement 9-155-Autonomic movement 9-155-
Autonomic movement 9-155-
 
Autonomic movement 9-155
Autonomic movement 9-155Autonomic movement 9-155
Autonomic movement 9-155
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
Brochure_thanpitcha_154_No7
Brochure_thanpitcha_154_No7Brochure_thanpitcha_154_No7
Brochure_thanpitcha_154_No7
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
wan
wanwan
wan
 

Similar to เอทิลีน

Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
Naddanai Sumranbumrung
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
Anana Anana
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
nokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
nokbiology
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
Art Nan
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
พัน พัน
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
Anana Anana
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 

Similar to เอทิลีน (20)

Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 

เอทิลีน

  • 1. ผลของการใช้ฮอร์โมน Ethylene Ethyleneสามารถสร้างขึ้นได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช โดยเนื้อเยื่อที่แก่กว่าจะสังเคราะห์Ethyleneได้มากกว่า เช่น ผลไม้ที่กาลังสุก ใบแก่ใกล้ร่วง ฯลฯ ซึ่งส่งผลต่อพืชในหลาย ๆ อย่างได้แก่ 1.เร่งการสุกในผลไม้ 2.ยับยั้งการกระจายของเชื้อโรค โดยการเร่งให้ส่วนที่ติดเชื้อ หลุดร่วงไป 3.เร่งการออกดอกของมะม่วงและพืชวงศ์สับปะรด ในขณะที่ ยับยั้งการออกดอกของพืชวงศ์แตง 4.ยับยั้งการเจริญเติบโตของกิ่ง ใบ รากและลาต้น แต่กระตุ้น การเกิดของใบ และทาให้ลาต้นอ้วนหนาขึ้นแทนการยืดยาว 5.ทาให้กลีบดอกร่วงหลังจากการปฏิสนธิ 6.ชักนาให้เกิดขนรากมากขึ้น การค้นพบEthylene Ethyleneเป็นฮอร์โมนที่มีสภาพเป็นก๊าซซึ่งรู้จัก กันมานานแล้ว จากการบ่มผลไม้ ในปี 1934 ก็ได้มีการพิสูจน์ให้เห็นว่าEthylene เป็นก๊าซที่สังเคราะห์โดยพืชและสามารถเร่งการ สุกได้ ต่อมาจึงพบว่าการก่อไฟใกล้ๆ สวนมะม่วงและ สับปะรดจะกระตุ้นให้เกิดการออกดอกได้ซึ่ง เป็นเพราะEthylene ต่อมาได้พบว่า ส่วนอื่นของพืช ได้แก่ดอก เมล็ด ใบและราก ก็สามารถผลิตEthyleneได้เหมือนกัน เช่นเซเลอรี่บางสายพันธุ์ที่สามารถกาจัดสีเขียวที่ ก้านเองได้ ต่อมาในปี 1935 ได้ค้นพบว่าออกซินสามารถ กระตุ้นการสร้างEthyleneได้และทั้งสองยัง ส่งเสริมกันอีกด้วย การใช้Ethyleneในการเพิ่มผลผลิตน้ายาง การบ่มผลไม้ให้สุกด้วยEthylene การเร่งการออกดอกของสับปะรด
  • 2. Ethylene เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง ไม่มีสี ซึ่งมีCarbon 2 ตัว และHydrogen 4 ตัว ประกอบกัน โดยมีพันธะคู่ระหว่าง CarbonกับCarbonอยู่ตรงกลาง และมีพันธะ เดี่ยวระหว่างCarbonกับHydrogenอยู่ ล้อมรอบ ฝั่งละสองตัว ดังรูป 4 1 2 จากเครื่องหมายสัญลักษณ์NFPA Ethyleneเป็นสารที่เป็นอันตรายต่อ มนุษย์น้อย แต่กระจายในอากาศและ ติดไฟได้ง่าย และยังเกิดปฏิกิริยาที่ รุนแรงหากได้รับความร้อนและ แรงดัน เกิดปฏิกิริยากับน้าได้ บรรณานุกรม http://www.thaigoodview.com/node/49075 https://www.yangpalm.com/2016/12/300.html http://www.orangeth.com/GasArticles/เอ ทิลีน-คือ.html https://th.wikipedia.org/wiki/เอทิลีน https://th.wikipedia.org/wiki/ ไฟล์:NFPA_704.svg https://web.agri.cmu.ac.th/hort/ course/359311/PPHY10_hormone.htm#c2h4 งานแผ่นพับการตอบสนองของพืชและ ฮอร์โมนพืช เสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร จัดทาโดย นายกษิดิส รสทิพย์ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 155 เลขที่ 30