SlideShare a Scribd company logo
1 of 107
Download to read offline
เทศบาลเมืองลาพูน www.lamphuncity.go.th
การพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
ตามแผนและผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณเมืองเก่าลาพูน
‘เมืองลำพูน’ ถือเป็นเมืองที่มีควำมเป็นมำทำงประวัติศำสตร์อย่ำงยำวนำน ทั้งใน
ปัจจุบันยังคงหลงเหลือร่องรอยของมรดกทำงวัฒนธรรมทั้งในด้ำนกำยภำพ ชุมชน
ภูมิปัญญำ ที่ยังคงมีชีวิต เกิดพลวัตรหมุนเวียนระหว่ำงกำยภำพ ชุมชน และภูมิปัญญำใน
พื้นที่
เทศบำลเมืองลำพูนขับเคลื่อนกำรดำเนินกำรพัฒนำเมืองเก่ำ โดยมีกำรประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีรวมถึงนวัตกรรม มุ่งเน้นกำรสร้ำงเครือข่ำยรัฐ เอกชน และประชำสังคม ด้วย
แนวทำงที่เหมำะสมร่วมสมัยบนพื้นฐำนของกำรอนุรักษ์เมืองที่เต็มไปด้วยมรดกทำงศำสนำ
ศิลปะ และวัฒนธรรม ซึ่งเป็นแนวทำงในกำรอนุรักษ์เมืองเก่ำให้สำมำรถคงคุณค่ำอยู่ได้
ภำยใต้กระแสกำรพัฒนำที่เปลี่ยนแปลงไป
เมืองเก่าลาพูน
เป็ น 1 ใน 10 เมือง
เก่า(กลุ่มที่ 1)
ตามมติ
คณะรัฐมนตรี
มีปูชนียสถานที่
สาคัญของ
ภาคเหนือ คือ “วัด
พระธาตุหริภุญชัย
วรมหาวิหาร”
มีประเพณีหนึ่งเดียว
ในโลก คือ สลากย้อม
เมืองลาพูน และ
เทศกาลโคมแสนดวง
มีผ้าไหมยกดอก
ลาพูน มรดกทาง
วัฒนธรรมที่โดด
เด่นเป็ นหนึ่งเดียว
เป็ นสินค้าGI
มีประวัติศาสตร ์
เก่าแก่ที่สุดใน
ดินแดนล้านนา
ประมาณ 1,363 ปี
เอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรม และประเพณีที่โดดเด่นของเมืองลาพูน
ประกาศเขตเมืองเก่า
ขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าลาพูน
แผนแม่บทและผังแม่บทการพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
1. พัฒนากลไกและกระบวนการ
บริหารจัดการเมืองเก่าลาพูน
2. ฟื้นฟูดูแลรักษามรดกทางวัฒนธรรมและ
ภูมิทัศน์เมืองเก่าลาพูน
3. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
นวัตกรรมโครงการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน
การพัฒนาตาม
แผนปฏิบัติการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
ของเทศบาลเมืองลาพูน
ดำเนินกำรผ่ำนทำงโครงกำรต่ำงๆดังต่อไปนี้
การพัฒนาตามแผนและผังแม่บทการอนุรักษ์เมืองเก่าลาพูนในยุทธศาสตร์ 3 ด้าน
1.ยุทธศาสตร์การพัฒนากลไกและ
กระบวนการบริหารจัดการเมืองเก่า
2.การฟื้นฟูดูแลรักษาแหล่งมรดกทาง
วัฒนธรรมและภูมิทัศน์เมืองเก่า
ลาพูน
3.ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และ
รักษาเมืองเก่าให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
2.การอนุรักษ์บ้าน
เก่า เรือนพื้นถิ่น
สถาปัตยกรรมวัด
หอศิลป์ ร่วมสมัย
1.การสร้าง
จิตสานึกในการ
อนุรักษ์เมืองเก่า
ลาพูน
4.การปรับปรุง
ภูมิทัศน์ทาง
วัฒนธรรม
3.พัฒนาโครงข่าย
การเดินทางในเขต
เมือง
6.การฟื้นฟู
ช่างฝีมือท้องถิ่น
และการเพิ่มมูลค่า
สินค้า
7.การนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ใน
การเผยแพร่องค์
ความรู้
5.การจัดการการ
ท่องเที่ยวเมืองเก่าให้
เหมาะสมกับพื้นที่
การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
เครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในเขตเทศบาล
ในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน
การอนุรักษ์มรดก
ทางวัฒนธรรมเมือง
เก่าลาพูน
ส่วนราชการ
• อาทิ จังหวัด,การไฟฟ้าฯ,การ
สื่อสารฯ,การประปา,สถานี
ตารวจฯ,อาเภอเมือง
• เมืองเก่า 10 เมือง ฯลฯ
ภาคประชาสังคม
• เครือข่ายชุมชน 17 ชุมชน
• เครือข่ายบ้านเก่าลาพูน
สถาบันการศึกษา
• โรงเรียนในสังกัดเทศบาล
• มหาวิทยาลัย
วัด/ศิลปินคนลาพูน
การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
กรอบแนวคิด การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูนเพื่อนาไปสู่
การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
เมืองเก่าลาพูน
การอนุรักษ์มรดก
ทางวัฒนธรรม
1.การสร้างจิตสานึกในการ
อนุรักษ์เมืองเก่าลาพูน
2. การอนุรักษ์บ้านเก่า / เรือนพื้นถิ่น
พิพิธภัณฑ์/สถาปัตยกรรม/วัด
หอศิลป์ร่วมสมัย
4.การปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม
3. พัฒนาโครงข่ายการเดินทางในเขตเมือง
6.การฟื้นฟูช่างฝีมือท้องถิ่น การเพิ่มมูลค่าสินค้า
และบริการทางวัฒนธรรม
7 การถ่ายทอดองค์ความรู้ และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อเปิดเครือข่ายทางวัฒนธรรม.
5.การจัดการการท่องเที่ยวเมืองเก่า
ลาพูนให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่
การเป็น 1 ใน12เมืองต้องห้ามพลาดพลัส / เมืองคาร์บอนต่า/ ความร่วมมือกับเมืองเก่าของต่างประเทศ/ ความร่วมมือในการพัฒนาเมืองกับสถาบันต่างๆ
อาทิ สวทน. สสส. ECUP.สานักนายกฯ / การเพิ่มรายได้ / การมีงานทา/คุณภาพชีวิตที่ดี/
การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
สลำกภัตร/ครัวทำน/สรงน้ำพระธำตุ/ น้ำทิพย์ดอยขะม้อ / 1 ใน เบญจภำคี (พระรอดวัดมหำวัน)/ กำเนิดนักบุญล้ำนนำ / กำเนิดพระนำงจำมเทวี / สรงน้ำครูบำสังฆะ
“การสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์เมืองเก่าลาพูน”
การสร้างจิตสานึกใน
การอนุรักษ์เมืองเก่า
ลาพูน
 การถ่ายทอดสู่เยาวชนโดยการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นศึกษา
ซึ่งโครงการนี้เป็นหนึ่งในแนวทางของการสร้างความยั่งยืนทางด้านการอนุรักษ์
และการคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ท้องถิ่น การถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่น
หนึ่ง นับเป็นการสืบสานองค์ความรู้ภูมิปัญญา ไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา ทั้งยังสามารถ
ต่อยอดพัฒนาองค์ความรู้ดังกล่าวให้สอดคล้องกับสภาพยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป โดยแทรก
ความรู้ ปรับหลักสูตร เกี่ยวกับการดาเนินงานตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว แก่เยาวชนที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนสังกัดเทศบาล และมีการประชาสัมพันธ์ผลงาน
ต่างๆไปสู่ประชาชน
1. การสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์เมืองเก่าลาพูน
ขยายองค์ความรู้ไปสู่ชุมชน โดยการจัดทาวารสาร VOICE OF LAMPHUN
จากการสร้างจิตสานึกในสถาบันการศึกษา เทศบาลได้ขยายองค์ความรู้ไปสู่ชุมชนโดยการ
ทาความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการจัดทาวารสาร VOICE OF LAMPHUN
ปัจจุบัน ถึงฉบับที่ 13
“การอนุรักษ์บ้านเก่า เรือนพื้นถิ่น สถาปัตยกรรม วัด หอศิลป์ ร่วมสมัย”
การอนุรักษ์บ้านเก่า เรือน
พื้นถิ่น สถาปัตยกรรม วัด
หอศิลป์ ร่วมสมัย
(1)พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานรางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น
คุ้มเจ้ายอดเรือน สร้างเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2470 รูปแบบเป็นเรือนหลวงสรไน บริเวณคุ้มประกอบด้วยยุ้งข้าว และสิ่งของ
เครื่องใช้ที่บ่งบอกถึงความเป็นเอกลักษณ์เรือนหลวงพื้นถิ่นหลายสิ่ง ตัวอาคารเป็นเรือนไม้ใต้ถุนสูง ฐานรากและเสาชั้นล่างเป็นคอนกรีต
อาบปูนซีเมนต์ขัดมันไม่เสริมเหล็กรองรับคานคู่ที่วางบนเสาผนังไม้ตีแนวนอน พื้นปูด้วยไม้สักที่ละเอียดและประณีตจนน้าไม่สามารถไหล
ผ่านได้สัดส่วนเรือนจากพื้นถึงเพดานค่อนข้างสูงแบบบ้านตะวันตก มีช่องระบายอากาศใต้เพดาน หลังคาทรงจั่วและองค์ประกอบอื่นๆ ที่
คงความประณีตสวยงาม ควรค่าอนุรักษ์ไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับทราบและเรียนรู้
(2)แหล่งเรียนรู้คุ้มเจ้ายอดเรือน
(3) โครงการจัดทาฐานข้อมูลบ้านเก่า
ปัจจุบันเทศบาลได้มีการสารวจบ้านโบราณ/อาคารเก่าแก่ ในเบื้องต้น ทั้งหมด 62 หลัง อาทิ
ฯลฯ
การอนุรักษ์บ้านเก่า 3 หลัง เกิดขึ้นตามแนวนโยบายปรับปรุงบ้านเก่าเมืองลาพูนเพื่อการอนุรักษ์ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาของแผนและผังแม่บทเมืองเก่า
ลาพูน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาบ้านเก่าที่มีความสาคัญให้เกิดประโยชน์ใช้งานและเป็นเอกลักษณ์ของเมืองลาพูน และเพื่อเผยแพร่ถ่ายทอดความรู้
ด้านสถาปัตยกรรมแบบดั้งเดิมและการอนุรักษ์อาคารสาคัญของเมืองลาพูน ดังนั้นแนวความคิดหลักของการปรับปรุงคือ ออกแบบและพัฒนาบ้านเก่าทั้งสามหลังให้
เกิดประโยชน์เพื่อการพักอาศัยสาหรับนักท่องเที่ยว โดยยังคงรูปแบบสถาปัตยกรรมเดิมเป็นแนวทางหลักในการปรับปรุงบ้านเก่า
4
5. โครงการศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัยหริภุญชัย
 เป็นแนวคิดของคณะผู้บริหาร ที่มีโครงการปรับปรุงศาลากลางเดิม เป็นศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัยหริภุญชัย โดยเทศบาลเมืองลาพูน
มีเจตนารมณ์ที่จะดาเนินการเพื่อเน้นการอนุรักษ์อาคารเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ให้เกิดประโยชน์ ทั้งในด้านการส่งเสริม
กิจกรรมทางวัฒนธรรมและวิชาการ สร้างความภาคภูมิใจให้ท้องถิ่นอีกทั้ง เป็นการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อาคารเก่าได้อย่าง
สมบูรณ์
เป้าหมาย
เป้าหมาย
 ปรับปรุงอาคารศาลากลางจังหวัดลาพูนเดิม
ให้เป็น ศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัยหริภุญชัย
 เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดความ
สนใจของนักท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของจังหวัด
ลาพูน
 เพื่อเป็นศูนย์อานวยความสะดวกและบริการ
ด้านการท่องเที่ยว และด้านการศึกษา
ศิลปวัฒนธรรมล้านนา
 เพื่อเป็นศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการจัดนิทรรศการและการแสดง
เพื่อส่งเสริมและเชิดชูเอกลักษณ์ทาง
ศิลปวัฒนธรรมล้านนา
กลุ่มเป้าหมาย
 ประชาชนทั่วไป และนักท่องเที่ยว
เทศบาลเมืองลาพูนได้ทาหนังสือ
พร้อมจัดทาข้อเสนอ (Proposal)
ขอใช้พื้นที่พร้อมอาคารศาลากลาง
เดิม เพื่อปรับปรุงศาลากลางจังหวัด
ลาพูนเป็นศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัย
หริภุญชัย
ความเป็นมาในการดาเนินงาน
พฤษภาคม
2559
โครงการปรับปรุงศาลากลางจังหวัดลาพูนเป็นศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัยหริภุญชัย
เทศบาลมีหนังสือขอหารือ
และพิจารณาการขอใช้พื้นที่พร้อม
อาคารศาลากลางเดิมไปยังธนารักษ์
จังหวัดลาพูน
กรกฎาคม
2559
กุมภาพันธ์
2560
เชิญตัวแทนขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
ลาพูน และตัวแทนของหอการค้าจังหวัดลาพูน
เข้าร่วมประชุมเพื่อหารือแนวทางการบริหาร
จัดการโครงการปรับปรุงศาลากลางเดิม
มิถุนายน
2560
กันยายน
2560
สานักงานธนารักษ์พื้นที่ลาพูน
ได้ลงนามบันทึกข้อตกลง
สิงหาคม
2561
มิถุนายน
2559
จังหวัดลาพูนมีหนังสือแจ้ง
ให้เทศบาลประสานกับธนา
รักษ์พื้นที่จังหวัดลาพูน
ดาเนินการขอใช้ที่ราชพัสดุ
จังหวัดลาพูนมีคาสั่งแต่งตั้ง
คณะทางานบริหารจัดการพื้นที่
ศาลากลางจังหวัดลาพูนพร้อม
สิ่งปลูกสร้าง
จังหวัดลาพูนจัดประชุม
คณะทางานบริหารจัดการ
พื้นที่ศาลากลาง
เทศบาลเมืองลาพูน รายงานเรื่อง
การบริหารจัดการพื้นที่ศาลากลาง
เดิมในที่ประชุมคณะอนุกรรมการ
อนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่เมืองเก่า
ลาพูน
ธันวาคม
2561
ผังแนวคิดการจัดพื้นที่ตามข้อเสนอ
ที่ผ่านมาจัดให้มี
โครงการ ประกวดแบบ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยลาพูน
แบบที่ชนะการประกวด
ลาดับที่ 1
แบบที่ชนะการประกวด
ลาดับที่ 2
แบบที่ชนะการประกวด
ลาดับที่ 3
งานออกแบบโครงการศูนย์วัฒนธรรมร่วมสมัยหริภุญชัย
แบบร่างโดยสรุป
ผังพื้นที่
อาคารศาลากลาง
ทัศนียภาพด้านข้าง
ทัศนียภาพด้านหน้า
ตัวอย่างพื้นที่ ด้านข้างของอาคารพัฒนาชุมชนเดิม
ตัวอย่างพื้นที่ ด้านหลังของอาคารพัฒนาชุมชนเดิม
“การปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม”
การปรับปรุง
ภูมิทัศน์ทาง
วัฒนธรรม
เป็นโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีจังหวัดลาพูน ประจาปีงบประมาณพ.ศ.2559 เน้นการพัฒนาปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพ
ของ คูเมืองเก่าทั้ง 15 คู ที่ล้อมรอบตัวเมืองลาพูน ซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี ให้มีความเป็นระเบียบ เรียบร้อยและสวยงาม เพิ่มพื้นที่สี
เขียวและเพิ่มระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการให้ครบถ้วน ทั้งนี้เพื่อสร้างเมืองลาพูนให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมืองเก่า
โครงการปรับปรุงกาแพงเมืองเก่าลาพูน
การปรับปรุงภูมิทัศน์กาแพงเมืองเก่า เกิดจากความต้องการของประชาชนให้ภาพการเป็นเมืองเก่าลาพูนปรากฏเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน
เทศบาลเมืองลาพูนจึงได้จัดทาโครงการก่อสร้างปรับปรุงกาแพงเมืองเก่าลาพูน โดยจะปรับปรุงแนวกาแพงเมืองเก่า พร้อมปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์
โดยรอบ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและเพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดลาพูน
การจัดการพื้นที่สีเขียว ริมน้ากวงเพื่อเป็นพื้นที่นันทนาการ
และนาไปสู่การจัดทาเส้นทางท่องเที่ยวในเขตเมืองเก่าลาพูน
การจัดทาผังพื้นที่อนุรักษ์
โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมืองลาพูน
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์)
ความโดดเด่นของโครงการ ดังกล่าว คือจะสามารถพัฒนาและปรับสภาพภูมิทัศน์ ภายในบริเวณเขตเมืองเก่าให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
รองรับและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของเมืองลาพูน รักษาเอกลักษณ์ และปรับปรุงพื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมของเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต
ให้คงอยู่อย่างมีคุณค่า
สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
และประชาชนในเขตเทศบาล
โครงการพัฒนาระบบ
สาธารณูปโภคใต้ดิน
เพื่อการท่องเที่ยวใน
เขตเมืองอนุรักษ์
1. ชุมชนทั้ง 17
ชุมชน
2. สภาเด็กและ
เยาวชน
3. เทศบาลเมือง
ลาพูน
4. การไฟฟ้าส่วน
ภูมิภาคจังหวัดลาพูน 5. ผู้ประกอบกิจการ
สื่อสารและ
โทรคมนาคม
6. หน่วยงานภาครัฐ
7.หน่วยงานเอกชน/รัฐวิสาหกิจ
เสนอความค้องการ
ร่
ว
มด
าเนิ
น
โครงการ
ให้ความร่วมมือ
ภำพกำรประชุมระหว่ำงเทศบำลเมืองลำพูนร่วมกับ
กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคและภำคส่วนต่ำงๆ
24 มกราคม 2555
แถลงข่าวเปิดตัวโครงการ และลงนามความร่วมมือ (MOU)
เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555
ลงนามบันทึกความร่วมมือขับเคลื่อน
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
ระหว่างเทศบาลเมืองลาพูน การไฟฟ้า และการสื่อสาร
ปี 2556 บริเวณถนนอินทยงยศ ตั้งแต่หน้าจวนผู้ว่าราชการจังหวัดลาพูนถึงแยกประตูลี้
ปี 2557บริเวณถนนในเขตเมืองเก่า(ตามมติ ครม. ต่อเนื่องจากโครงการเดิม)
ปี 2558 บริเวณถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันออก
ปี 2559 บริเวณถนนเจริญราษฎร์ ฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ ประตูช้างสี
ถึงสุดเขตเทศบาลบริเวณวัดศรีสองเมือง
ถนนในเขตเมืองเก่า
ถนนอินทยงยศ
ถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันออก
ถนนเจริญราษฎร์ฝั่งตะวันตก
งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินโครงการ
โครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค
ใต้ดินเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง
ลาพูน
ปีงบประมาณ จานวนเงิน แหล่งงบประมาณ
ระยะที่ 1 2556 81,077,497 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (7,800,000 บาท)
- งบเทศบาล (7,000,000 บาท)
- งบไฟฟ้าฯ (22,277,497บาท)
- งบสื่อสารฯ (44,000,000 บาท)
ระยะที่ 2 2557 6,350,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (5,600,000 บาท)
- งบเทศบาล (750,000 บาท)
ระยะที่ 3 2558 6,000,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
ระยะที่ 4 2559 10,000,000 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และ
สถาปัตยกรรม พื้นที่มรดกทาง
วัฒนธรรมเมืองลาพูน
2560-2561 20,000,000 งบกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนบน 1
2563 141,741,700 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน (10,000,000 บาท)
- งบเทศบาล (6,000,000 บาท)
- งบไฟฟ้าฯ (125,741,700 บาท)
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์)
เมืองเก่ากลุ่มที่ 1 ตามมติ ครม.
เมืองเก่ากลุ่มที่ 1
เมืองเก่า
เชียงใหม่
เมืองเก่าลาปาง
เมืองเก่า
กาแพงเพชร
เมืองเก่า
พิษณุโลก
เมืองเก่าลพบุรี
เมืองเก่า
พิมาย
เมืองเก่า
นครศรี
ธรรมราช
เมืองเก่าสงขลา
เมืองเก่าลาพูน
เมืองเก่าน่าน
การลงนามความร่วมมือ (MOU) เรื่องการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมกับ เมืองเก่ากลุ่มที่ 1
โดยมีอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมเป็นประธาน
ในการลงนาม ที่ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ กาญจนาภิเษก จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2559
การหารือเพื่อกาหนดแนวทางการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
ระหว่าง ผู้บริหารเมืองเก่า, นายจรินทร์ จักกะพาก อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น และ รศ.
วุฒิสาร ตันไชย เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า
ในงานเวทีท้องถิ่นไทย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559
เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม เมืองเก่า กลุ่มที่ 1
แก่คณะอนุกรรมการกลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559
เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม เมืองเก่า กลุ่มที่ 1
แก่คณะอนุกรรมการกลั่นกรองและพิจารณาแผนการดาเนินงานในพื้นที่เมืองเก่า
ครั้งที่ 2 เมื่อ 28 เมษายน 2560
เสนอโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม เมืองเก่า กลุ่มที่ 1
แก่คณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า ที่มี
พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีฯ เป็นประธาน ในวันที่ 16 มีนาคม 2561
ที่ประชุมคณะกรรมการฯ มีมติให้ความเห็นชอบโครงการ (http://www.onep.go.th/topics/44761)
ภาพการประชุมโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
วันที่ 3 กันยายน 2561
ณ เทศบาลนครนครศรีธรรมราช
ตัวแทนจากสานักงบประมาณ มาดูพื้นที่
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า
ของเมืองลาพูน วันที่ 6 กันยายน 2561
บริเวณถนนชัยมงคลและถนนมุกดา
บริเวณถนนรอบเมืองใน (ต่อเนื่องจากโครงการเด
บริเวณถนนรอบเมืองนอก
ถนนชัยมงคล
และถนนมุกดา
บริเวณถนนรอบเมืองใน
(ต่อเนื่องจากโครงการเดิม)
บริเวณถนนรอบเมืองนอก
งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินโครงการ
ชื่อโครงการ ปีงบประมาณ จานวนเงิน แหล่งงบประมาณ
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่
มรดกทางวัฒนธรรม
10 เมืองเก่า
(สาธารณูปโภคใต้ดินเพื่อการ
ท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์
เมืองเก่าลาพูน)
2563 141,741,700 - งบพัฒนาจังหวัดลาพูน
(10,000,000 บาท)
- งบเทศบาล
(6,000,000 บาท)
- งบจากการไฟฟ้าฯ
(125,741,700 บาท)
คณะรัฐมนตรี เห็นชอบ
➢กรอบแนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า
➢เห็นชอบขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าจานวน ๓๑ เมือง
➢เห็นชอบ แผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าน่าน และเมืองเก่าลาพูน
➢เห็นชอบให้จังหวัด โดยคณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด จัดทาแผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า
1
2
3
4
5
6 7
8
9
10
11 12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
27
25
26
1. เมืองเก่าน่าน
2. เมืองเก่าเชียงใหม่
3. เมืองเก่าลาพูน
4. เมืองเก่าลาปาง
5. เมืองเก่ากาแพงเพชร
6. เมืองเก่าลพบุรี
7. เมืองเก่าพิมาย
8. เมืองเก่านครศรีธรรมราช
9. เมืองเก่าสงขลา
10.เมืองเก่าแพร่
11. เมืองเก่าเพชรบุรี
12. เมืองเก่าจันทบุรี
13. เมืองเก่าปัตตานี
14. เมืองเก่าเชียงราย
15. เมืองเก่าสุพรรณบุรี
16. เมืองเก่าระยอง
17. เมืองเก่าบุรีรัมย์
18. เมืองเก่าตะกั่วป่า
19. เมืองเก่าพะเยา
20. เมืองเก่าตาก
21. เมืองเก่านครราชสีมา
22. เมืองเก่าสกลนคร
23. เมืองเก่าสตูล
24. เมืองเก่าราชบุรี
25. เมืองเก่าสุรินทร์
26. เมืองเก่าภูเก็ต
27. เมืองเก่าระนอง
28. เมืองเก่าแม่ฮ่องสอน
29. เมืองเก่ากาญจนบุรี
30. เมืองเก่ายะลา
31. เมืองเก่านราธิวาส
เทศบาลเมืองลาพูนเป็นเจ้าภาพ
ในการจัดประชุมผู้บริหารท้องถิ่นกับการพัฒนา 31 เมืองเก่า เมื่อกลางปี 2562
พาคณะผู้บริหารเมืองเก่าทั้ง 31 แห่ง นั่งรถรางชมเมืองเก่าลาพูน
“พัฒนาโครงข่ายการเดินทางในเขตเมือง”
พัฒนาโครงข่ายการ
เดินทางในเขตเมือง
โครงการของเทศบาลเมืองลาพูน
➢ โครงการรถรางนาเที่ยวลาพูน
การพัฒนาเส้นทางจักรยานเพื่อการท่องเที่ยว
“การฟื้นฟูช่างฝีมือท้องถิ่นและการเพิ่มมูลค่าสินค้า”
การฟื้นฟูช่างฝีมือท้องถิ่น
และการเพิ่มมูลค่าสินค้า
ผ่านทางโครงการเปิดบ้านศิลปิน ทัศนศิลป์ เมืองลาพูน
และการทาโคมและตุงล้านนา
ปัจจุบันจัดมาจานวน 19 ครั้ง
โครงการเปิดบ้านศิลปิน ทัศนศิลป์ เมืองลาพูน
• ครั้งที่ 1 เป็นผลงานภาพวาดที่มีความสดชื่นสดใส ด้วยสีสันของดอกไม้ของ
อาจารย์จรูญ บุญสวน
• ครั้งที่ 2 เป็นผลงานภาพวาด ในรูปแบบการ์ตูนแอนิเมชั่น ของอาจารย์จารุพงษ์
ณ ลาพูน
• ครั้งที่ 3 ผลงานแกะสลักไม้รูปเหมือนพระเถระชั้นผู้ใหญ่ ครูบาชื่อดังของเมือง
ลาพูน ของอาจารย์สมพล หล้าสกุล
• ครั้งที่ 4 เป็นการจัดแสดงภาพจาลองจิตรกรรมฝาผนังวัดสะปุ๋ งน้อย ภายใต้ชื่อ
งาน เส้นสี วิถียอง ของอาจารย์ประสิทธิ์ ศิลปเดชากุล
• ครั้งที่ 5 เป็นการจัดแสดงภาพวาดสีน้า ภายใต้ชื่องานดอกไม้บานที่เฮือนศิลปิน
หริภุณชัย ของ อาจารย์ชาติชาย ปันมงคล
• ครั้งที่ 6 เป็นการจัดแสดงผลงานมหัศจรรย์ปูนปั้น ของอาจารย์วัฒนา บุญยืน
• ครั้งที่ 7 เป็นการจัดแสดงผ้าไหมยกดอกของอาจารย์จรวยพร บุณยเกียรติ
• ครั้งที่ 8 เป็นการแสดงภาพวาดของศิลปินคนลาพูน 3 ท่าน ในหัวข้อสามสหาย
ระบายสี
• ครั้งที่ 9 การจัดแสดงของอาจารย์ภานุทัต อภิชนาธง ในหัวข้อ ``สืบสาน
ขับขาน เพลงล้านนา``
• ครั้งที่ 10 เป็นการแสดงผลงาน``ชวนหลง องค์พระพิฆเนศ``ของ คุณอุทัย
กาญจนคูหา
• ครั้งที่ 11 เป็นการแสดง สืบสานเฮือนไม้เก่าแวดเวียงลาพูน
• ครั้งที่ 12 เป็นการแสดง พระราชกรณีกิจรัชการที่ 9 ของชาวไทย
• ครั้งที่ 13 เป็นการแสดง ตามรอยพระบาทยาตรา
• ครั้งที่ 14 เป็นการแสดง สืบสานเครื่องปั้นดินเผาจากเตาชวนหลง
• ครั้งที่ 15 เป็นการแสดง ศิลป์ 5
• ครั้งที่ 16 เป็นการแสดง สืบสานไม้แกะสลักหัตถศิลป์ ถิ่นบ้านนา
• ครั้งที่ 17 เป็นการแสดง หัตถกรรมบ้านใบตาล
• ครั้งที่ 18 เป็นการแสดง จากผืนน้าสู่ผืนนาสร้างต้นกล้าหริภุญชัย
• ครั้งที่ 19 เป็นการแสดง เส้นฝ้ายหลากสี วิถีชนเผ่า ผ้าทอชาวเขา
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรมและชุมชน
(การทาโคม)
นาทุนทางวัฒนธรรมชุมชน ก่อเกิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรมและชุมชน
(การทาตุงค่าคิง/ตุงล้านนา)
นาทุนทางวัฒนธรรมชุมชน ก่อเกิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ
“การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ฯ”
การนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในการ
เผยแพร่องค์ความรู้
เพื่อเป็นการเปิดช่องทางการรับรู้เกี่ยวกับเมืองเก่าลาพูน แก่ผู้ที่มาเยือน
ระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตชุมชน (Free – WIFI ชุมชน) ในเขตเทศบาล 13 จุด และ
ระบบเสียงไร้สายทางไกลอัตโนมัติ (UHF)
ระบบเสียงตามสายแบบไร้สายทางไกลอัตโนมัติ
ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งชุมชนในพื้นที่ องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน มีความตระหนักในการอนุรักษ์ พัฒนาเมืองเก่า
ลาพูนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป (www.lamphuncity.go.th)
WEBSITE เพื่อการท่องเที่ยว Lamphun Cultural City
APPLICATION SMART LAMPHUN TRIP
ร่วมมือกับสถาบันทางการศึกษาและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจัดทา
APPLICATION เพื่อการท่องเที่ยวเมืองเก่าลาพูนโดยใช้จักรยาน
“การจัดการการท่องเที่ยวเมืองเก่าให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่”
การจัดการการท่องเที่ยว
เมืองเก่าให้เหมาะสมกับ
บริบทพื้นที่
โดยเน้นการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการ
ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการท่องเที่ยว
อาทิ การรื้อฟื้นประเพณีวัฒนธรรม การใช้รถบุษบกในงานประเพณี ขบวน
แห่น้าทิพย์ดอยขะม้อ รื้อฟื้นงานตานก๋วยสลาก
การใช้รถบุษบกในงานประเพณี
วัดพระธาตุหริภุญชัยได้จัดทารถบุษบก ขนาดสูงประมาณ 7 เมตร เพื่อใช้ในงานประเพณีสาคัญต่างๆ
อาทิ ประเพณีสรงน้าพระบรมธาตุหริภุณชัย (งานวันแปดเป็ง)
กิจกรรมสาคัญ
Activity of Lamphun
Municipality
“สลากย้อมหนึ่ง
เดียวในโลก”
ประเพณีสลากย้อมเมืองลาพูน เป็ นการ
ทาบุญประจาปีก่อนออกพรรษา คนล้านนา
มักจะจัดทานสลากภัตรในวันขึ้น 15 ค่า
เดือน 10 ในอดีตสลากย้อมเป็ นการถวาย
ทานเพื่อเป็ นพุทธบูชาของหญิงสาว และ
เชื่อกันว่าการถวายสลากย้อมของหญิงสาว
จะได้รับอานิสงส์ผลบุญ เทียบเท่าการบวช
ของผู้ชาย โดยเทศบาลเมืองลาพูนมีการ
จัดระบบสาธารณูปโภคนาสายสื่อสารลงใต้
ดิน ทาให้สามารถจัดงานประเพณีสลาก
ย้อมหนึ่งเดียวในโลกได้อย่างยิ่งใหญ่ โดย
สามารถเคลื่อนขบวนแห่ต้นสลากย้อมที่มี
ความสูง 12 เมตร สูง 8 เมตร และสูง 4
เมตร ไปยังวัดพระธาตุหริภุญชัย
วรมหาวิหารได้อย่างสวยงามตระการตา
กิจกรรมสาคัญ
Activity of Lamphun
Municipality
โคมแสนดวงที่
เมืองลาพูน
มากกว่าโคมพุทธบูชา คือความ
ศรัทธาของคนลาพูน
เทศกาลแขวนโคมหลากสี
สวยงาม เพื่อถวายเป็ นพุทธบูชา
ต่อองค์พระธาตุเจ้าหริภุญชัย
และถวายเพื่อเคารพสักการะพระ
นางเจ้าจามเทวีปฐมกษัตริย์แห่ง
เมืองลาพูน ดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้ง
ชาวไทย และชาวต่างชาติมาเที่ยว
ชมความงดงาม พร ้อมทั้งเขียน
ข้อความอธิษฐานขอพรลงบน
โคม ก่อนจะนาไปแขวนไว้ตามจุด
ต่างๆ นับเป็ นภาพสะท้อนความ
ศรัทธาของชุมชนในเมืองบุญแห่ง
ล้านนาของนครหริภุญชัย
กิจกรรมสาคัญ
Activity of Lamphun
Municipality
ลอยกระทง
งานประเพณีลอยกระทง หรืองาน
ประเพณียี่เป็ ง จังหวัดลาพูน จัดขึ้น
เป็ นประจาทุกปี เพื่อเป็ นการอนุรักษ์
และส่งเสริมไว้ซึ่งประเพณีอันดีงาม
ของท้องถิ่น อีกทั้งยังเป็ นการส่งเสริม
ให้เยาวชน และประชาชน มีส่วนร่วม
ในการทากิจกรรม ตลอดจนส่งเสริม
การท่องเที่ยวของจังหวัดลาพูน และ
พลาดไม่ได้กับการแข่งปล่อย “โคม
ลอย หรือว่าวควัน” ซึ่งการปล่อยโคม
ลอยตามความเชื่อของชาวล้านนา
เป็ นการลอยเพื่อบูชาพระเกศแก้ว
จุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์จึงมี
การอนุรักษ์และสืบสานยึดถือเป็ น
ประเพณีมาจนถึงปัจจุบัน
เทศบาลเมืองลาพูน Lamphun Municipality
กิจกรรมสาคัญ
Activity of Lamphun
Municipality
สงกรานต์
วันสงกรานต์หรือปีใหม่เมือง จัดขึ้น
ในวันที่ 13 เมษายนของทุกปี เพื่อ
เป็ นการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม
ประเพณีอันดีงามของชุมชนท้องถิ่น
โดยมีขบวนแห่พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์
ของจังหวัดลาพูน ได้แก่ พระรอด
หลวง พระคงฤาษี พระฝนแสนห่า
พระเสตังคะมณี และพระสาคัญจาก
หัววัดต่างๆ เพื่อให้ประชาชนและ
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ ได้นาน้าขมิ้นส้มป่อย
มาสรงน้าพระ และกราบไหว้ขอพร
เพื่อความเป็ นสิริมงคล
เมืองเก่าลาพูน
การอนุรักษ์มรดก
ทางวัฒนธรรม
1.การสร้างจิตสานึกในการ
อนุรักษ์เมืองเก่าลาพูน
2. การอนุรักษ์บ้านเก่า / เรือนพื้นถิ่น
พิพิธภัณฑ์/สถาปัตยกรรม/วัด
หอศิลป์ ร่วมสมัย
3.การปรับปรุงภูมิทัศน์ทาง
วัฒนธรรม
4. พัฒนาโครงข่ายการเดินทาง
ในเขตเมือง
5.การฟื้นฟูช่างฝีมือท้องถิ่น
การเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการทาง
วัฒนธรรม
6 การถ่ายทอดองค์ความรู้ และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเปิด
เครือข่ายทางวัฒนธรรม.
7.การจัดการการท่องเที่ยวเมืองเก่า
ลาพูนให้เหมาะสมกับบริบทพื้นที่
การเป็น 1 ใน12เมืองต้องห้ามพลาดพลัส / เมืองคาร์บอนต่า/ ความร่วมมือกับเมืองเก่าของต่างประเทศ/ ความร่วมมือในการพัฒนา
เมืองกับสถาบันต่างๆ อาทิ สวทน. สสส. ECUP.สานักนายกฯ / การเพิ่มรายได้/ การมีงานทา/คุณภาพชีวิตที่ดี/
การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
สลากภัตร/ครัวทาน/สรงน้าพระธาตุ/ น้าทิพย์ดอยขะม้อ / 1 ใน เบญจภาคี (พระรอดวัดมหาวัน)/ กาเนิดนักบุญล้านนา /
กาเนิดพระนางจามเทวี / สรงน้าครูบาสังฆะ
สรุปกรอบการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลาพูน
• ตลาดโต้รุ่ง ตลาดวัดชัยชนึก
ผู้ประกอบการมีรายได้จากการขายอาหาร
เพิ่มขึ้นร้อยละ 25-40
• โรงแรม/ที่พัก จานวน 13 แห่ง 307 ห้อง มี
ผู้เข้าพักเต็มตลอดช่วงงานเทศกาลโคม
• ธุรกิจคนรุ่นใหม่ (ลาพูนแท้) ที่พัก โฮสเทล
ร้านกาแฟ ร้านอาหาร
• กลุ่มอาชีพทาโคมล้านนา ทาเทียน และ
กรวยดอกไม้ มีรายได้ 2,801,490 บาท
• รถนาเที่ยวพื้นที่เขตเมืองเก่า 11 จุด :
พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลาพูน ,คุ้มเจ้า
ยอดเรือน ,อนุสาวรีย์พระนางจาม
เทวี ,วัดมหาวัน, วัดจามเทวี ,วัดพระ
คงฤาษี ,วัดสันป่ายางหลวง,กู่ช้าง ,
วัดพระยืน ,วัดต้นแก้ว ,วัดพระธาตุ
หริภุญชัย มีนักท่องเที่ยวใช้บริการรถ
นาเที่ยว ในงานเทศกาลโคม
มากกว่าร้อยละ 50 ของจานวน
นักท่องเที่ยวตลอดปี
• ชุมชนมีการจัดการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนเอง
• ครอบครัวอบอุ่น มีการทา
กิจกรรมการสร้างรายได้ร่วมกัน
• ครอบครัวมีรายได้ สามารถพึ่งพา
ตัวเองได้ ไม่มีปัญหาอาชญากรรม
ปัญหายาเสพติดที่รุนแรง ใน
ชุมชน
• ผู้พิการไม่เป็นภาระต่อครอบครัว
มีอาชีพ รายได้ ช่วยแบ่งเบาภาระ
ครอบครัว
เศรษฐกิจ ส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว
คุณภาพ
ชีวิต
ขจัดความ
ยากจน
ขจัดความ
อดอยาก
มีสุขภาพและ
ชีวิตความ
เป็นอยู่ที่ดี
ความเท่า
เทียมกัน
ทางเพศ
การ
เจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ
การลดความ
เหลื่อมล้า
ความยั่งยืน
ของเมือง
และชุมชน
การสร้าง
ความสงบสุข
ยุติธรรม และ
สถาบันที่
เข้มแข็ง
ความ
ร่วมมือใน
การมุ่งสู่
เป้าหมาย
โครงการต่างๆที่ดาเนินการสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การ
สหประชาชาติ (Sustainable Development Goals ) SDGs
การต่อยอดเพื่อคงความต่อเนื่องและความยั่งยืนในการพัฒนาเมืองเก่า
ตามแผนและผังแม่บทการพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
การต่อยอด / ทิศทางการดาเนินงานของการพัฒนาเมืองเก่าลาพูน
 การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับเมืองตู้เจียงเยี่ยน ประเทศจีน
ปลัดเทศบาลได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรบรรยายวิชาการบริหารจัดการเมือง
หลักสูตร MPA ที คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับการวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมือง
วัฒนธรรม
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรม
อาทิ เช่น คณะนักศึกษา ปปร. 19 สถาบันพระปกเกล้า ดูงานลาพูน
การเป็นแหล่งศึกษาดูงานเกี่ยวกับ
การวางแผนในการพัฒนาเมืองเก่า และการเป็นเมืองวัฒนธรรม
การเป็นสถานที่จัดนิทรรศการ “ท้องถิ่นสยามในเขตคามประชาธิปก
ร่วมกับสถาบันพระปกเกล้า
การทาความร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยาและ สกว.ในการ
พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการได้รับการจัดสรรงบกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ตอนบนในการดาเนินโครงการพัฒนาพื้นที่ทางวัฒนธรรม
สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)

More Related Content

What's hot

04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red LineSarit Tiyawongsuwan
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017
Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017
Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017rennesmetropole
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยNakhon Pathom Rajabhat University
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงFURD_RSU
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกFURD_RSU
 
Development manual for HDMU | Amman Institute
Development manual for HDMU | Amman InstituteDevelopment manual for HDMU | Amman Institute
Development manual for HDMU | Amman InstituteAmman Institute
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfSarit Tiyawongsuwan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

เรือนไทยภาคใต้
เรือนไทยภาคใต้เรือนไทยภาคใต้
เรือนไทยภาคใต้
 
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษารายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
 
02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City02 Townscape and Image of City
02 Townscape and Image of City
 
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
 
Janwani - LAP Intro
Janwani - LAP IntroJanwani - LAP Intro
Janwani - LAP Intro
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017
Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017
Les Rennais - Hors série Rennes 2030 - septembre 2017
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
 
Development manual for HDMU | Amman Institute
Development manual for HDMU | Amman InstituteDevelopment manual for HDMU | Amman Institute
Development manual for HDMU | Amman Institute
 
แผนที่ (Map)
แผนที่ (Map)แผนที่ (Map)
แผนที่ (Map)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdfแผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
แผนแม่บท TOD ประเทศไทย (2563).pdf
 
อาหารอีสาน
อาหารอีสานอาหารอีสาน
อาหารอีสาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 

Similar to สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)ฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)chatkul chuensuwankul
 
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)ปิยนันท์ ราชธานี
 
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนเครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนปิยนันท์ ราชธานี
 
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61PiyanunRatchatani
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าchatkul chuensuwankul
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปางVibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปางFURD_RSU
 
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...chatkul chuensuwankul
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...ฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75Mr-Dusit Kreachai
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templateMai Lovelove
 

Similar to สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด) (14)

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
 
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
นวัตกรรมการปรับปรุงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม(ประกวดเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน)
 
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูนเครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
เครือข่ายการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน
 
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
นวัตกรรมประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน61
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปางVibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
 
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจ...
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
 
บท 1
บท 1บท 1
บท 1
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-template
 

More from ปิยนันท์ ราชธานี

บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)ปิยนันท์ ราชธานี
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...ปิยนันท์ ราชธานี
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)ปิยนันท์ ราชธานี
 
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคสรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคปิยนันท์ ราชธานี
 
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)ปิยนันท์ ราชธานี
 

More from ปิยนันท์ ราชธานี (9)

ผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอผลงาน Free wifi นำเสนอ
ผลงาน Free wifi นำเสนอ
 
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64 นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
นำเสนอเฮือนศิลปิน 64
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
งานนำเสนอคำแนะนำการส่งบริหารจัดการที่ดีผ่านZoom (ใช้จริง)
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
 
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคสรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
 
รายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคมรายงานผลการประชุมประชาคม
รายงานผลการประชุมประชาคม
 
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเมืองปั่นได้เมืองปั่นดี(ปิดโครงการ)
 

สรุปงานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเมืองเก่าลำพูน (ล่าสุด)